ค่มู ือ พระสอนศีลธรรม ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ค่มู อื พระสอนศลี ธรรม ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ผู้จดั พิมพ ์ สำ� นักงานพระสอนศลี ธรรม พมิ พค์ ร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ จำ� นวน ๒,๐๐๐ เลม่ ที่ปรกึ ษา ๑. พระราชวรเมธี ๒. พระราชปรยิ ัติกวี ๓. พระสวุ รรณเมธาภรณ์ ๔. พระราชวรมนุ ี ๕. พระโสภณพัฒนบัณฑิต ๖. รศ.ดร.สรุ พล สุยะพรหม บรรณาธิการ พระศรีธรรมภาณี คณะท�ำงาน ๑. นายขวัญตระกลู บุทธจิ กั ร ๙. นางสาวสุรีย์พร มว่ งพันธ์ ๒. พระครสู ังฆรักษส์ นุ ทรกมล มณิโชโต ๑๐. นางสาวรุง้ อำ� พร บญุ รอดด้วง ๓. พระมหาณรงคร์ าช ปณิธานธติ ิ ๑๑. นางสาวดวงฤดี ธนะสาร ๔. พระมหาเมธีภัทร ภทรฺ เมธ ี ๑๒. นางสาวฉัตรดาว แผลงศรี ๕. พระมหาพรี ะพล มธุรวาท ี ๑๓. นายเอกชยั บญุ เพ็ชร ๖. พระมหาสรุ ศกั ด์ิ สีลสวํ โร ๑๔. นายภวู นัย ปรศิ นา ๗. พระมหานพดล ธมมฺ านนฺโท ๑๕. นายฤทธไิ กร ยอดแก้ว ๘. นายนริ ุต ป้องสดี า ๑๖. นายสดใส เจือจนั ทร์ แบบปก วิโรจน์ จิรวิทยาภรณ ์ พมิ พท์ ี่ หา้ งหุ้นส่วนจำ� กัด เชน ปร้ินต้ิง ๗/๔๑๔ หมู่ ๕ ต.บางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบรุ ี ๑๑๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๔๘๙ ๔๑๖๑, e-mail : [email protected]
ค�ำปรารภ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ของพระภกิ ษุทเ่ี ป็นพระสอนศีลธรรม นน้ั มคี วามสำ� คัญเป็นอยา่ งยง่ิ ท้งั ในแง่ของ การเปน็ ผเู้ ผยแผพ่ ระธรรมคำ� สงั่ สอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั ในแงท่ เ่ี ปน็ พระสอนศลี ธรรม ทร่ี บั นมิ นตจ์ ากทางโรงเรยี นใหเ้ ขา้ ไปเปน็ พระอาจารยผ์ ชู้ ว่ ยสอนสาระการเรยี นรพู้ ระพทุ ธศาสนา ในหมวด สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามมาตรฐานการศกึ ษา ส ๑.๑ และ ส ๑.๒ การท่ี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้รับมอบภาระงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจาก กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ทีเ่ ป็นผู้ริเริมโครงการฯ ตัง้ แต่พุทธศักราช ๒๕๔๖ และมหาวทิ ยาลัย ไดร้ บั มอบในปพี ุทธศักราช ๒๕๕๑ จากจำ� นวนพระสอนศีลธรรม ๒,๐๐๐ รปู มหาวทิ ยาลยั ได้ด�ำเนินการ มาตามล�ำดับ มีการพัฒนาการมาจนมีพระสอนศลี ธรรม จ�ำนวน ๑๘,๐๐๐ ทวั่ ประเทศนั้น ภาระสำ� คัญ ของการเป็นพระสอนศลี ธรรม ตามโยบายของมหาวทิ ยาลยั ๔ ประการ ดงั นี้ ๑. เป็นผู้ช่วยสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในหมวดสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. เปน็ ผ้ใู ห้การอบรมศลี ธรรม อันดีงามใหก้ บั นักเรยี นเยาวชนในสถานศึกษา ๓. สนองงานคณะสงฆ์ด้วยการสอนหรอื ตวิ เข้มธรรมศกึ ษาตรี โท เอก สำ� หรับผู้เข้าสอบอันเป็น งานของคณะสงฆ์ดา้ นการศกึ ษาสงเคราะห์ ๔. และให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ ท่ีมีจ�ำนวนกว่า ๒๐,๐๐๐ โรงเรียนทั่ว ประเทศ จากภาระงาน ๔ ประการน้ี หากพิจารณาดแู ละเป็นภาระงานท่ีมีเน้อื งานทหี่ นกั มาก และจะมอง จากการสนับสนุนที่ได้รับนั้นกค็ งเพียงพอ แตเ่ พราะภาระงาน ๔ ประการนนี้ ้นั ถอื เป็นภาระของพระภกิ ษุ อยแู่ ลว้ จงึ ทำ� ใหพ้ ระสอนศลี ธรรมนน้ั ไดร้ บั ผดิ ชอบอยา่ งเอาใจใสม่ าโดยตลอด อนั จะเหน็ ไดจ้ ากผลการสอบ ธรรมศกึ ษา ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ทกุ ปนี บั ตง้ั แตม่ กี ารดำ� เนนิ โครงการน้ี และภาพความเปน็ อตั ลกั ษณว์ ถิ พี ทุ ธในโรงเรยี น ท่ีมพี ระสอนศลี ธรรมเขา้ ไปสอน ทั้งนกั เรียนไดเ้ รยี นกบั ครูที่เปน็ พระอาจารย์ ทั้งท่โี รงเรยี นได้ดูแลตอนรบั พระสอนศลี ธรรม นับเป็นการอยูร่ วมกันตามหลักของค�ำวา่ บวร คอื บ้าน วัด โรงเรียน ฉะนน้ั ทางมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั โดยทา่ นอธกิ ารบดจี ึงได้ให้ความส�ำคัญกับ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนเป็นอย่างมาก จากการท่ีเป็นผู้รับผิดชอบโครงการต่อจากกรมการ ศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม จนมาถงึ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ได้จดั ต้งั หน่วยงานขน้ึ มารับผิดชอบเฉพาะ คือ สำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรม สงั กดั สำ� นกั งานอธกิ ารบดอี กี ดว้ ย จากความสำ� คญั ของภาระพระสอนศลี ธรรม และการท่ีมหี น่วยงานรบั ผดิ โดยตรงแลว้ จงึ มคี วามสำ� คัญอย่างย่ิงทต่ี อ้ งมีค่มู อื ของพระสอนศลี ธรรม เพื่อ (3)
เปน็ การกำ� หนดระเบยี บการปฏบิ ตั ริ วมกนั ของพระภกิ ษทุ เ่ี ปน็ พระสอนศลี ธรรมจำ� นวน ๑๘,๐๐๐ รปู พรอ้ ม เป็นคู่มือติดต่อประสานงานระหว่างพระสอนศีลธรรมกับเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบในการบริการให้ความ สะดวกกบั พระสอนศลี ธรรม และยงั เปน็ การสรา้ งความเขา้ ใจในระเบยี บการตา่ งๆ ทมี่ คี วามจำ� เปน็ หากตอ้ ง ปฏิบตั ิ และสดุ ท้าย ยังเปน็ การเขา้ ใจตรงกนั ในขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานของทางสำ� นักงานพระสอนศลี ธรรม อนั เปน็ ไปตาม หลกั ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารงาน ค่มู อื พระสอนศีลธรรมทีอ่ ยใู่ นมือของท่านเลม่ น้ี หวงั เปน็ อย่างย่งิ วา่ จะมปี ระโยชน์ท้ังพระสอนศีล ธรรมและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการสนับสนุน เพื่อเป็นการตัดความกังวลไม่เข้าใจในการปฏิบัติงานของ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ขอใหพ้ ระสอนศลี ธรรมไดศ้ กึ ษาคมู่ อื อยา่ งเขา้ ใจและไดป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บเพอ่ื ความ เรยี บรอ้ ยในการตดิ ตอ่ ประงาน อนั จะเปน็ การตดั ความกงั วล งานดา้ นเอกสารตา่ งๆออกไป และจะไดท้ มุ่ เท เวลาทมี่ คี า่ ทง้ั หมดไปกบั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทสี่ ำ� คญั ๔ ประการ ทง้ั เตรยี มการสอน สอ่ื การสอน เครอ่ื งไมเ้ ครอื่ ง มอื ตา่ งๆ เพ่ือให้นักเรยี นเกดิ ความสนใจ มแี รงจูงใจ ในการศึกษาหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาอันจะน�ำ มาซ่งึ ความมั่นคงถาวรไพบลู ย์สบื ต่อไป พระศรธี รรมภาณี ผู้อ�ำนวยการพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (4)
ค�ำน�ำ ดว้ ยการสอนศลี ธรรมและการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องพระสอนศลี ธรรมในฐานการการเปน็ ผเู้ ผยแผพ่ ระ ธรรมคำ� สอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั มาพทุ ธเจา้ นน้ั นบั วา่ เปน็ ความสำ� คญั ในการเสรมิ สรา้ งความมน่ั คง ใหก้ บั สังคมด้านจิตใจอนั เป็นผลต่อการปฏบิ ตั ิตอ่ กันในสังคม เพ่อื การอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างสันติสุข อนั เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการและเป็นไปตามหลักการของพระพุทธศาสนา อีกท้ังยังเป็นการช่วย ครูในโรงเรียนเร่ืองการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในหมวดสาระการการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพราะถือว่าเป็นผทู้ ม่ี คี วามเข้าใจในพระพทุ ธศาสนา อกี ทัง้ ยังเปน็ การปฏิบัติหน้าท่ี ตามมตมิ หาเถรสมาคมดา้ นการศกึ ษาสงเคราะห์ ในการช่วยสอนธรรมศึกษาทุกระดับชั้น การท่ีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้รับภาระงานด้านการก�ำกับดูแลอ�ำนวยความ สะดวกให้กับพระสอนศีลธรรมต้ังแต่พุทธศักราช ๒๕๕๑ จากการริเริ่มของกรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรมต้ังแตพ่ ุทธศักราช ๒๕๔๘ ได้มกี ารพฒั นาการตามลำ� ดับ จากการต้งั คณะกรรมการอำ� นวยการ โดยมอี ธกิ ารบดเี ปน็ ประธาน มหี นา้ ทกี่ ารกำ� กบั นโยบาย และคณะกรรมการดำ� เนนิ การอนั มรี องอธกิ ารบดี ฝา่ ยบรหิ ารเปน็ ประธาน มหี น้าทใี่ นการด�ำเนินงานตามนโยบาย และทางมหาวทิ ยาลัยไดจ้ ัดต้งั หนว่ ยงาน สงั กดั สำ� นกั งานอธกิ ารบดเี พอื่ รบั ภาระงานดา้ นการดแู ลอำ� นวยความสะดวกใหก้ บั พระสอนศลี ธรรมโดยตรง คอื สำ� นกั งานพระสอนศีลธรรม ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ตั้งแตน่ น้ั เป็นต้นมาทางสำ� นักงานไดด้ �ำเนนิ การจัด ทำ� ยุทธศาสตร์ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ� ปี กจิ กรรม โครงการต่างๆ มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนมรี ะเบยี บการปฏบิ ตั ิ ตา่ งๆ และในสว่ นพระสอนศลี ธรรมตดิ ตอ่ กบั สำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรมและศนู ยอ์ ำ� นวยการในทวั่ ประเทศ ในสว่ นนเี้ พอ่ื เปน็ การอำ� นวยความสะดวกใหก้ บั พระสอนศลี ธรรมในการตดิ ตอ่ ประสานงาน ทางสำ� นกั งาน พระสอนศีลธรรมจึงได้จัดท�ำคู่มือพระสอนศีลธรรมข้ึนต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นมา และในครั้งนี้ทาง สำ� นกั งานไดม้ ีการปรบั ปรงุ คูม่ ือพระสอนศีลธรรม ใน พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้นึ เพอ่ื วตั ถุประสงค์ดงั นี้ ๑. เพื่อเปน็ ระเบยี นข้ันตอนและอ�ำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัตงิ านของพระสอนศีลธรรม ๒. เพอื่ ใชเ้ ปน็ คมู่ อื ตดิ ตอ่ ประสานงานระหวา่ งพระสอนศลี ธรรมกบั ทางสำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรม และศูนย์อำ� นวยการทีร่ ับผดิ ชอบกำ� กบั ดแู ลพระสอนศีลธรรม ๓. เพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจเปน็ อนั เดยี วกนั ในระเบยี นการปฏบิ ตั แิ ละขน้ั ตอนการดำ� เนนิ งานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๔. เพอื่ ปรับปรงุ ระเบียบวิธีปฏบิ ัติต่างๆ ท่ีมกี ารดำ� เนนิ การปรบั เปลย่ี นจากเดมิ สำ� นกั งานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (5)
นโยบายโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน หนา้ ท่ขี องพระทส่ี งั คมคาดหวัง ประเทศไทยมีการปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมมาเนิน่ นานนบั ถอื ตั้งแต่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่ ดนิ แดงสวุ รรณภมู ิ ตอ้ งยอมรบั ความเป็นจริงว่า การปลูกฝงั คุณธรรมที่มปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ คือ การปลูก ฝังโดยพระศาสดาและบรรดาพระสาวกของพระศาสดา สังคมทุกยุคทุกสมัยให้ความส�ำคัญเรื่องการปลูก ฝังคุณธรรมจริยธรรม เพราะการท่ีสังคมสามารถด�ำรงอยู่มาได้ทุกวันนี้ เพราะคนส่วนใหญ่ยังมีคุณธรรม จรยิ ธรรม สงั คมจงึ ยงั ดำ� รงความเปน็ สงั คม-ชมุ ชนอยไู่ ด้ ทำ� อยา่ งไรใหส้ งั คมของเรามภี มู คิ มุ้ กนั มภี มู ติ า้ นทาน ตอ่ ความเลวรา้ ยทก่ี ำ� ลงั กดั กรอ่ นสงั คมอยู่ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในหมเู่ ยาวชนกำ� ลงั เปน็ พนั ธกจิ ของ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เป็นภารกิจของพระสอนศีลธรรมที่ต้องปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ให้เกิดขน้ึ ในหมู่นกั เรียน นกั ศึกษาให้ได้แบบอย่างการสอนพระพทุ ธศาสนา คือ สอนให้รู้ (ปริยตั ิ) ท�ำให้ดู (ปฏิบัติ) อยู่ให้เห็น(ปฏิเวธ) เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีรัฐบาลคาดหวังจากพระสอนศีลธรรม ท่ีจะท�ำหน้าที่สั่งสอน อบรม ให้เด็กเป็นคนดีมีศีลธรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา มีเบญจศีลเบญจธรรมเป็นอย่างน้อย จุด เด่นของพระสอนศลี ธรรมทตี่ า่ งจากครูฆราวาสสอนวชิ าพระพทุ ธศาสนา ก็คอื การวางบทบาทของตนเอง ว่า สามารถสอนแบบวิชาการได้ บรรยายได้ วัดผลได้ สอนใหเ้ ด็กสามารถ กาผดิ กาถกู ทำ� ข้อสอบได้เทา่ นี้ ก็คือ จบ ที่จริงแบบน้ีไม่ใชบ่ ทบาทหลัก บทบาทจรงิ คือ พระเป็นแบบอยา่ งท่ีดไี ด้ เพราะถือศีล ๒๒๗ ผู้ ปกครองและเดก็ ยอมรบั อยแู่ ลว้ พอเขา้ ไปสอนใหเ้ ดก็ สวดมนตไ์ หวพ้ ระ จงึ ดศู กั ดส์ิ ทิ ธแิ์ ละนา่ เชอ่ื ถอื กวา่ ครู ธรรมดา สอนให้ ลด ละ เลิก อบายมขุ ห่างไกลยาเสพติด กพ็ ดู ได้ดังกวา่ ครูท่วั ไป ถ้าครยู งั สูบบุหรก่ี ส็ อนให้ นกั เรยี นเลกิ สบู บหุ รไ่ี มไ่ ด้ ครยู งั ดม่ื เหลา้ กส็ อนใหน้ กั เรยี นเลกิ ดม่ื เหลา้ ไมไ่ ด้ บางโรงเรยี นครสู อนวชิ าพระพทุ ธ ศาสนา แต่กลับเป็นข้ีเหล้าเมายาเสียเอง ฉะนั้น การนิมนต์พระไปสอนวิชา พระพุทธศาสนาในโรงเรียน เพ่อื ทใ่ี ห้เปน็ แบบอยา่ งในการสอนใหร้ ู้ ทำ� ใหด้ ูและอย่ใู หเ้ ห็น สอนให้รู้ หากจะสอนให้เขารู้ อย่าสอนอย่างเดียว ต้องท�ำหน้าที่สอนให้รู้เร่ืองพระพุทธศาสนา บทบาทพระสอนศีลธรรม พระจะต้องมีความรู้ในเชิงปริยัติ เนื้อหาวิชาจะสอนจะต้องแน่น อย่าให้เด็ก หวั เราะเยาะว่า พระไม่ร้เู รือ่ ง ไมท่ ันสมยั และจะต้องรเู้ รือ่ งท่ัว ๆ ไป เพื่อจะเปรยี บเทียบ เชน่ เรอ่ื ง กฎแหง่ กรรมจะต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจเพียงพอทจ่ี ะสอนให้ร้แู ละนำ� ไปปฏบิ ัตไิ ด้ ท�ำให้ดู ท�ำเป็นแบบอย่าง เหมือนท่านอัสสชิไปบิณฑบาตแล้วอุปติสสะเห็นว่า ส�ำรวม สงบ เรียบร้อย ก็เกิดเล่อื มใส ต้งั ใจฟังเทศนอ์ ย่างดี ไม่ต้องท�ำอะไรมาก เพียงแต่มีอาการสงบ สำ� รวม บางทีพดู มาก ตลกโปกฮามาก ก็ไมจ่ งู ใจ (6)
อยูใ่ หเ้ หน็ เปน็ ทสั สนานุตรยิ ะ ให้เดก็ เห็นผ้าเหลอื งเกิดอายช่วั กลวั บาป ให้พระเข้าไปในโรงเรยี น เหมอื นกบั อย่ตู ดิ กัน ใหเ้ ขาเขา้ ใจเรอื่ งพระอย่างถูกตอ้ ง ในทสี่ ุดเขาจะมีความรสู้ ึกเยน็ ใจคลาย กังวล สงบ ทุกข์ขึ้นมาเครียดข้ึนมา ไปพบพระแล้วสบายใจ ต้องท�ำให้เด็กรู้สึกสบายใจแบบนี้ การปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม เปน็ ภารกจิ ของพระสอนศลี ธรรมและเปน็ พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั เปน็ หนา้ ทขี่ ององคก์ รตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งเขา้ มารว่ มกนั รบั ผดิ ชอบ ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ปน็ หนา้ ทขี่ องฝา่ ยใดฝา่ ยหนงึ่ โดย เฉพาะการเอาจรงิ จงั ของสงั คมในการใหค้ วามสำ� คญั และเหน็ ความสำ� คญั ของการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จะเป็นตวั ชว่ ยผลักดนั ใหส้ ังคม ตระหนักและหันมาสนบั สนนุ สง่ เสริมความเจริญงอกงามของเยาวชน และ ท�ำให้เยาวชนมีความกลา้ หาญทางคณุ ธรรมและจริยธรรม คณะผู้จดั ทำ� อา้ งอิง พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมฺ จติ ฺโต). (๒๕๕๔). การศกึ ษาเพอื่ สันติสขุ ของสังคมไทย. โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย: โรงพิมพ์ หจก.สามลดา. (7)
สารบัญ คำ� ปรารภ (๓) ค�ำน�ำ (๕) นโยบายโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน (๖) ส่วนที่ ๑ บทน�ำ ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสำ� คัญ ๑ ๑.๒ วัตถุประสงค ์ ๒ ๑.๓ เป้าหมาย ๒ ส่วนท่ี ๒ ขอ้ ปฏบิ ตั ิโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ส่วนกลาง ๓ ๒.๑ การเป็นพระสอนศีลธรรม ๔ ๒.๒ การสมคั รเข้าเปน็ พระสอนศลี ธรรม ๔ ๒.๓ การข้นึ ทะเบยี นเปน็ พระสอนศีลธรรม ๕ ๒.๔ การออกบตั รประจำ� ตัวพระสอนศีลธรรม ๕ ๒.๕ การส่งแบบรายงานการสอนประจ�ำเดือน ๖ ๒.๖ การตอ่ สัญญาการเปน็ พระสอนศีลธรรมและการรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจำ� ป ี ๗ ๒.๗ การย้ายโรงเรยี นสอน หรอื การยา้ ยศูนยส์ ังกดั ๗ ๒.๘ การลาออก ๗ ๒.๙ การพน้ สภาพความเป็นพระสอนศลี ธรรม ๘ Flow Chart กระบวนการส�ำคัญของพระสอนศีลธรรม ๙ Flow Chart พระสอนศีลธรรมโมเดล ๑๐ Flow Chart กระบวนการโอนนิตยภตั ๑๑ ตารางก�ำหนดการ การส่งแบบรายงานการสอนประจำ� เดือน ภาคการเรยี นที่ ๑ ๑๒ ตารางกำ� หนดการ การสง่ แบบรายงานการสอนประจำ� เดือน ภาคการเรยี นที่ ๒ ๑๒ (8)
สว่ นท่ี ๓ การใชง้ านระบบฐานขอ้ มูลพระสอนศลี ธรรม ๑๓ ๓.๑ รูปแบบระบบฐานขอ้ มูลพระสอนศีลธรรม www.mbpra.mcu.ac.th ๑๔ ๓.๒ เมนูการเขา้ ใชง้ าน ๑๕ ๓.๓ ระบบการรบั สมัครพระสอนศลี ธรรมผ่านระบบฐานขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรม ๒๕ ๓.๔ การเข้าใช้งานระบบฐานข้อมลู พระสอนศลี ธรรม ๓๐ สว่ นที่ ๔ เอกสาร แบบฟอรม์ แบบรายงานการสอนประจ�ำปี ๓๑ คพศร.๐๒ ใบสมัครพระสอนศีลธรรม ๓๒ คพศร.๐๓ บนั ทึกข้อตกลงพระสอนศีลธรรม ๓๓ คพศร.๐๔ แบบทะเบยี นประวัติพระสอนศลี ธรรม ๓๖ คพศร.๐๕ แบบรายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน (ส่วนกลาง) ๓๗ คพศร.๐๖ แบบรายงานผลการปฏบิ ตั กิ ารสอน (สว่ นภมู ิภาค) ๓๘ คพศร.๐๗ ใบขอยา้ ย สถานที่อย/ู่ สถานศกึ ษาทปี่ ฏบิ ัติการสอน ๓๙ คพศร.๐๘ ใบขอลาออกจากการเปน็ พระสอนศีลธรรม ๔๐ เอกสารหมายเลข ๑ สาระประสบการณก์ ารสอน ๔๑ เอกสารหมายเลข ๒ แบบประเมินตนเอง ๔๓ เอกสารหมายเลข ๓ สมุดบันทกึ ความรู้จากประสบการณ์การสอน ๕๐ เอกสารหมายเลข ๔ แบบรายงานประจ�ำปี ๕๒ สว่ นท่ี ๕ ลักษณะของพระสอนศีลธรรมทพี่ ่งึ ประสงค์ ๕๗ ภาคผนวก ๖๓ ๖๕ ภาคผนวก ๑ คณะกรรมการบรหิ ารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น ๖๕ ๖๘ ๑.๑ คณะกรรมการอ�ำนวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ๗๑ ๑.๒ คณะกรรมการดำ� เนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ภาคผนวก ๒ การบริหารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย (9)
ภาคผนวก ๓ โครงสร้างหนว่ ยงาน และโครงสร้างการบริหาร ๗๒ ๗๒ ๓.๑ โครงสรา้ งหน่วยงาน ๗๓ ๗๔ ๓.๒ โครงสรา้ งการบรหิ าร ๗๗ ภาคผนวก ๔ หน่วยงานเครือขา่ ยผู้สนับสนุน ๘๑ ภาคผนวก ๕ ฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรม สว่ นกลาง และสว่ นภูมภิ าค ภาคผนวก ๖ ทอ่ี ยู่ / ตดิ ตอ่ ศูนย์อำ� นวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สว่ นภมู ิภาค ๒๖ ศูนย์ (10)
๑ส่วนที่ บทน�ำ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสำ� คัญ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มีความส�ำคัญต่อการผลักดันพันธกิจของมหาวิทยาลัย “ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม” เน้นกลุ่มโรงเรียนในสังกัดของส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการเป็นเป้าหมาย อีกส่วนหน่ึง เป็นความคาดหวังของ สังคมในระดับสูง ทั้งภาคคณะสงฆ์ คือ การช่วยส่งเสริมงานด้านการเผยแผ่ และการศึกษาสงเคราะห ์ บอก เปดิ เผย แสดงหลักธรรม คำ� สอนของพระพุทธศาสนาสเู่ ดก็ และเยาวชนของชาติ ให้เปน็ คนมคี วามรู้ ดีในพระธรรม น้อมน�ำไปประพฤติ ปฏิบัติให้เกิดผลดีต่อตัวเอง สังคม ประเทศชาติ และภาครัฐในการ ช่วยส่ังสอน อบรมปลูกฝั่งศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมให้กับเด็กในชาติเป็นคนดี มีศีล มีธรรม น�ำพา ประเทศชาตสิ ู่ความม่นั คง ม่งั คง่ั ย่ังยืน ในการขับเคล่ือนโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ให้ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมายที่วาง เอาไว้ ผทู้ มี่ สี ว่ นสำ� คญั ในกระบวนการดงั กลา่ ว คอื “พระสอนศลี ธรรม” มบี ทบาทหนา้ ทส่ี ำ� คญั ๔ ประการ คอื ๑) สอนสาระการเรยี นรวู้ ชิ าพระพทุ ธศาสนา ตามมาตรฐานหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ึ พน้ื ฐานของสำ� นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒) สอนและตวิ สอบธรรมศกึ ษาใหก้ บั นกั เรยี น และผมู้ คี วามสนใจทวั่ ไป ๓) อบรมศีลธรรม จรรยา พฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรมใหก้ ับนักเรยี น ดว้ ยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย และด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔) ส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนด้วยแนววิถีเชิงพุทธ ตามข้ันตอนกระบวนการของโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ดังนั้น พระสอนศีลธรรมจึงนับได้ว่า เป็นบุคลากรที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างมากต่อโครงการพระสอน ศีลธรรมในโรงเรยี นเป็นอย่างมาก ดังน้ัน เพ่ือเป็นการสร้างความเข้าใจในการเป็นพระสอนศีลธรรมท่ีถูกต้องตามระบบ ระเบียบ วิธีปฏิบัติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม จึงได้จัดท�ำ “คู่มือพระสอนศีลธรรม” เพื่อให้เป็นเอกสารส�ำคัญประกอบการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในการ ติดต่อประสานงานกับส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม หรือศูนย์ประสานงานโครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรยี น
๑.๒ วตั ถุประสงค์ เพื่อจัดท�ำ “คู่มอื พระสอนศีลธรรม” ส�ำนกั งานพระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวทิ ยาลยั ให้สอดคลอ้ งกบั กฎ กฎหมาย ประกาศ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั ๑.๓ เปา้ หมาย ๑.๓.๑ พระสอนศลี ธรรม มคี ่มู ือประกอบการปฏบิ ัติงานในการตดิ ตอ่ ประสานงานกับส�ำนกั งาน พระสอนศีลธรรม หรือศูนย์อ�ำนวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรยี นที่ชัดเจน ถูกต้อง. ๑.๓.๒ พระสอนศีลธรรมมีความเข้าใจในระบบ ระเบียบการเป็นพระสอนศีลธรรมตามท่ีระบุ ไวใ้ นคมู่ อื และสามารถปฏบิ ตั ิตามได้อย่างถูกต้อง ๑.๓.๓ การบริหารโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุ วิสยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์ ตามที่ก�ำหนดไว้ 2 คมู่ อื พระสอนศลี ธรรม
๒ส่วนท่ี ข้อปฏิบัติ โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ส่วนกลาง
สำ� นักงานพระสอนศลี ธรรม เรอื่ ง ข้อปฏิบตั ิโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ส่วนกลาง *********************************** เพ่ือให้พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ได้รับทราบแนวทางการด�ำเนินงานของส�ำนักงานพระสอน ศีลธรรม ส่วนกลาง และปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันและเพ่ือให้การปฏิบัติงานของส�ำนักงาน พระสอนศีลธรรม ดำ� เนินไปตามระเบยี บปฏิบตั แิ ละข้ันตอนการทำ� งานตามหลักธรรมมาภบิ าล ดังน้ัน ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม จึงได้ก�ำหนดข้อปฏิบัติให้กับพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน และผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้ถือปฏิบัติเพ่ือให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามนโยบายของส�ำนักงาน พระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ดงั นี้ ๒.๑ การเปน็ พระสอนศลี ธรรม มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดก้ ำ� หนดบทบาทหนา้ ทกี่ ารเปน็ พระสอนศลี ธรรมดงั นี้ บทบาทหน้าท่ีของพระสอนศีลธรรม๑ (๑) สอนวิชาพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยท�ำการสอน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (๒) เปน็ ผู้นำ� นักเรียนเข้าสู่การฝึกสมาธิ บรหิ ารจติ เจรญิ ปญั ญา และทำ� พิธีทางพระพทุ ธศาสนา (๓) เปน็ ผู้สอนหรอื ทบทวนธรรมศึกษาให้แกน่ ักเรียน นักศกึ ษา เข้าสอบธรรมศึกษาประจ�ำปี (๔) ให้การสนับสนุนโรงเรียนวิถีพุทธโดยการสอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการเข้าสู่วิถีชีวิต ใหน้ กั เรยี นชาวพทุ ธจริง คอื มีศลี สมาธิ ปัญญา ๒.๒ การสมัครเข้าเป็นพระสอนศีลธรรม (๑) พระภกิ ษทุ จี่ ะสมคั รเปน็ พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น จะตอ้ งมโี รงเรยี นทจ่ี ะทำ� การสอนอยา่ ง เปน็ ทางการ และได้รบั การรบั รองจากผู้ปกครองคณะสงฆ์และผู้บริหารสถานศกึ ษา (๒) จะต้องเป็นพระภิกษุท่ีมีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนด (ดูรายละเอียดการรับสมัครได้ท่ี http://www.mbpra.mcu.ac.th) (๓) เอกสารท่ีใช้ในการรับสมัครตามระเบียบการรับสมัคร (ดูรายละเอียดการรับสมัครได้ที่ http://www.mbpra.mcu.ac.th) ๑ กำ� หนดตามมตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการดำ� เนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น คราวประชมุ ครงั้ ท่ี ๘ / ๒๕๕๗ วันพุธท่ี ๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ 4 คูม่ อื พระสอนศลี ธรรม
(๔) ใบสมัครพระสอนศีลธรรมจะต้องผ่านการรับรองของคณะสงฆ์ฝ่ายปกครองระดับเจ้าคณะ ตำ� บล และเจ้าคณะอ�ำเภอ (๕) การรบั สมคั รจะเปน็ ไปตามประกาศของสำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรม และหรอื ศนู ยอ์ ำ� นวยการ สำ� นักงานพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นของวิทยาเขต วทิ ยาลัยสงฆ์ ห้องเรียน หรือหนว่ ยวทิ ยบรกิ ารของ มหาวทิ ยาลัยหมาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยทีร่ ับผดิ ชอบน้นั ๆ (๖) พระภิกษุที่จะสมัครสามารถสมัครได้ด้วยตอนเองที่ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรมหรือ ผู้ประสานงานประจ�ำจังหวัดของตน และสามารถสมัครผ่านเว็บไซต์ http://www.krupra.net/ หรือ สมคั รผ่านระบบฐานขอ้ มูลพระสอนศลี ธรรมได้ที่ http://www.mbpra.mcu.ac.th/ ๒.๓ การขึน้ ทะเบยี นเป็นพระสอนศลี ธรรม (๑) พระสอนศีลธรรมท่ีจะข้ึนทะเบียนเป็นพระสอนศีลธรรมได้ จะต้องปฏิบัติตามระเบียบการ รบั สมัครและสอบคดั เลือก และได้รบั การประกาศชอ่ื การผา่ นการสอบคัดเลือก (๒) พระสอนศลี ธรรมทจ่ี ะขนึ้ ทะเบยี นเปน็ พระสอนศลี ธรรม จะตอ้ งผา่ นการฝกึ อบรมตามหลกั สตู ร เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการเป็นพระสอนศีลธรรม (หลักสูตรท่ี ๑) ตามท่ีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวทิ ยาลยั กำ� หนด (๓) กรณีอัตราพระสอนศีลธรรมเต็ม จะขึ้นทะเบียนส�ำรองไว้เพื่อทดแทนรูปท่ี ย้าย ลาออก สกิ ขา หรอื พน้ จากการเป็นพระสอนธรรม (๔) พระสอนศีลธรรมท่ีได้รับการข้ึนทะเบียนจะต้องท�ำทะเบียนประวัติของตนเองในระบบฐาน ข้อมูลพระสอนศีลธรรม http://www.mbpra.mcu.ac.th/ เพ่ือทางเจ้าหน้าท่ีจะเปล่ียนสถานภาพการ เปน็ พระสอนศลี ธรรม ๒.๔ การออกบัตรประจำ� ตัวพระสอนศลี ธรรม (๑) การออกบัตรประจ�ำพระสอนศีลธรรม ทางส�ำนักงานหรือศูนย์อ�ำนวยการเป็นผู้ออกบัตรลง นามโดยผู้บริหารสูงสุดให้กับพระสอนศีลธรรมหลังจากผ่านการอบรมตามหลักสูตที่ก�ำหนดและการข้ึน ทะเบียนเปน็ พระสอนศีลธรรมเรยี บรอ้ ยแลว้ (๒) บัตรประจ�ำตัวพระสอนศีลธรรมมีอายุคร้ังละ ๕ ปี แต่ต้องท�ำการบันทึกข้อตกลงทุกปีเพื่อ การเปน็ พระสอนศลี ธรรม (๓) การติดต่องานกับทางส�ำนักงานหรือศูนย์อ�ำนวยการให้พระสอนศีลธรรมแสดงบัตรเพื่อการ ยนื ยันการเป็นพระสอนศีลธรรม (๔) กรณบี ตั รสญู หายหรอื ชำ� รดุ ใหพ้ ระสอนศลี ธรรม ตดิ ตอ่ ขอรบั ไดท้ ส่ี ำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรม หรือศูนยอ์ �ำนวยการทีต่ นเองสงั กดั และผู้ประสานงานประจ�ำจังหวัด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 5
๒.๕ การสง่ แบบรายงานการสอนประจำ� เดือน (๑) พระสอนศลี ธรรมจะตอ้ งเขา้ กรอกแบบรายงานในระบบฐานขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรมทเ่ี วบ็ ไซต์ http://www.mbpra.mcu.ac.th/ หรือเวบ็ ไซต์ http://www.krupra.net/แล้วคลกิ ท่ี สง่ แบบรายงาน ส�ำหรับพระสอนศีลธรรม (ดูรายละเอียดการกรอกแบบรายงานได้ที่ หน้า ๒๑) หรือใช้แบบรายงาน ผลปฏบิ ตั ิการสอนของสำ� นักงานพระสอนศีลธรรม กำ� หนดให้เทา่ นนั้ (๒) กรณีใช้แบบรายงานแบบเดิมต้องเขียนด้วยปากกาหรือเครื่องพิมพ์ดีด หรือพิมพ์ด้วย คอมพวิ เตอรเ์ ท่านน้ั (๓) ลงลายมอื ช่อื ผบู้ ริหารสถานศึกษาและประทบั ตราสถานศึกษา (ห้ามมใิ ห้สแกน/ถ่ายเอกสาร สีหรือขาวด�ำ ของลายมอื ช่อื ผ้บู ริหาร หรือตราประทบั สถานศึกษา) (๔) สง่ แบบรายงานผลปฏิบัติการสอนเป็นฉบบั จริงและใช้ ๑ ใบต่อ ๑ เดือน (แนบเอกสารอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ ได้ เช่น ใบลงเวลาปฏบิ ัติการสอน ถา้ ม)ี (๕) สง่ แบบรายงานผลปฏิบัติการสอนไปท่ี ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม อาคารมหาจุฬาบรรณาคาร ชน้ั ๒ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๗๙ หมู่ ๑ ต�ำบลล�ำไทร อำ� เภอวังนอ้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๑๗๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๘-๐๘๔ (๖) ส�ำหรับการส่งแบบรายงานพระสอนศีลธรรมท่ีส่วนกลางรับผิดชอบจะต้องส่งท่ี ผู้ประสาน งานประจ�ำจังหวดั ของตนเพื่อเปน็ การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารและประสานงานผ่าน คณะสงฆ์ (๗) ห้ามมิให้แก้ไขหรือดัดแปลงแบบรายงานผลปฏิบัติการสอนไม่ว่ากรณีใดๆ ในระบบฐาน ข้อมูลหลังจากการสง่ แบบรายงานกับผู้ประสานงาน (๘) การสง่ แบบรายงานผลปฏบิ ตั กิ ารสอนพระสอนศลี ธรรมจะตอ้ งตามกำ� หนดเดอื นและวนั ดงั น้ี ๘.๑ ส่งรายงานผลปฏิบัติการสอนจะต้องส่งทุกเดือน เดือนต่อเดือน ยกเว้นเดือนเมษายน และเดือนตลุ าคมสง่ ในระหวา่ งวันที่ ๒๐-๒๕ ของเดือนนัน้ ๆ ๘.๒ เทอมที่ ๑ รายงานประจ�ำเดือน พ.ค./ม.ิ ย./ก.ค./ส.ค./ก.ย. ภายในวันที่ ๓๐ ของทกุ เดือน ๘.๓ เทอมท่ี ๒ รายงานประจำ� เดอื น พ.ย./ธ.ค./ม.ค./ก.พ./ม.ี ค. ภายในวันที่ ๓๐ ของทุกเดอื น หากส่งแบบรายงานผลปฏบิ ตั ิการสอนประจำ� เดือนไมท่ ันในภาคเรยี นนน้ั ๆ ถอื ว่าสละสิทธ์ิในการ ขอรับเงินค่าตอบแทนประจ�ำเดือนนั้น ทางส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม ส่วนกลาง จะไม่สามารถทำ� การ โอนเงินค่าตอบแทนย้อนหลังของภาคเรียนท่ีผ่านมาให้ อันเป็นไปตามระเบียบการท�ำงานด้านการเงิน การบัญชีและหากไม่ปฏิบัติตามข้อ ๑-๘ ทางส�ำนักงานพระสอนศีลธรรมจะไม่สามารถโอนนิตยภัตให้ได้ และไม่รับขอผดิ ชอบดว้ ยประการทงั้ ปวง 6 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
๒.๖ การตอ่ สญั ญาการเป็นพระสอนศลี ธรรมและการรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี (๑) พระสอนศลี ธรรมจะตอ้ งดำ� เนนิ การตอ่ สญั ญาทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงเพอื่ เปน็ การยนื ยนั การปฏบิ ตั ิ หน้าทีก่ ารเป็นพระสอนศีลธรรมประจ�ำปี โดยจะมกี ารดำ� เนินการในระหวา่ งเดอื นตลุ าคม ถงึ พฤศจิกายน หรือตามความเหมาะสมตามทีท่ างศนู ย์อ�ำนวยการจะดำ� เนนิ การ (๒) การตอ่ สญั ญาทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลง ใหพ้ ระสอนศลี ธรรมสามารถเขา้ ไปดาวโหลดเอกสารในระบบ ฐานขอ้ มลู http://www.mbpra.mcu.ac.th และจดั เตรยี มเอกสารไวเ้ พอ่ื สง่ ในวนั ทมี่ กี ารประชมุ ปฐมนเิ ทศ (๓) เอกสารประกอบการต่อสัญญาท�ำบันทึกข้อตกลง ๑) สัญญาบันทึกข้อตกลง ๒) เอกสาร ประกอบ สำ� เนาหนงั สือสุทธิ วุฒกิ ารศกึ ษา และเอกสารอื่นๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง (๔) เพื่อเป็นการรายงานผลการปฏิบัติงานประจำ� ปี พระสอนศีลธรรม สามารถเข้าไปรายงาน ผลการปฏบิ ตั กิ ารสอนประจำ� ปไี ดท้ รี่ ะบบฐานขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรม http://www.mbpra.mcu.ac.th/ ๒.๗ การยา้ ยโรงเรียนสอน หรอื การยา้ ยศนู ยส์ ังกัด (๑) การยา้ ยทอ่ี ยแู่ ละสถานศกึ ษาทป่ี ฏบิ ตั กิ ารสอนใหย้ น่ื หนงั สอื ถงึ เลขานกุ ารคณะกรรมการดำ� เนนิ งานตามแบบแบบฟอร์ม “ใบขอย้าย” (ขอแบบฟอร์มดาวโหลดได้ท่ีระบบฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรม http://www.mbpra.mcu.ac.th/ หรือเว็บไซต์ http://www.krupra.net/ หรือขอรับได้ท่ีส�ำนักงาน พระสอนศีลธรรม) (๒) กรณีย้ายสถานศึกษาท่ีปฏิบัติการสอน ให้ผู้บริหารสถานศึกษาสถานท่ีใหม่ลงชื่อรับรอง พรอ้ มท้ังประทับตราสถานศกึ ษาและแนบส�ำเนาใบสุทธขิ องพระสอนศีลธรรมฯ (๓) กรณีย้ายสถานที่อยู่ ให้เจ้าอาวาสลงช่ือรับรองพร้อมแนบส�ำเนาใบสุทธิของพระสอน ศลี ธรรมฯ กรณีการยา้ ยสถานศึกษาท่ีปฏบิ ตั กิ ารสอนในพื้นทจ่ี งั หวัด (๔) กรณีการย้ายหน่วยสังกัดจากศูนย์อ�ำนวยการท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หนึ่ง จะต้องท�ำหนังสือตาม แบบฟอรม์ “ใบขอยา้ ย” และแจ้งเจ้าหน้าที่สำ� นกั งานหน่วยรบั ผิดชอบทราบ เพือ่ ตรวจสอบอัตราจำ� นวน ก่อนการบรรจเุ ปน็ พระสอนศีลธรรมและสง่ แบบรายงานการสอน (๕) ให้พระสอนศลี ธรรมเขา้ ไปแก้ไขขอ้ มลู ส่วนตัวในระบบฐานขอ้ มูลพระสอนศีลธรรม และแจง้ เจา้ หนา้ ทใ่ี นหน่วยท่ีตนเองสังกัด ๒.๘ การลาออก (๑) ให้ย่ืนหนังสือถึง “คณะกรรมการด�ำเนินการโครงการ” แล้วกรอกแบบฟอร์ม “ใบขอ ลาออก” (ขอแบบฟอร์มได้ท่ีส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม หรือในระบบฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรม http://www.mbpra.mcu.ac.th/ หรือเว็บไซต์ http://www.krupra.net/) (๒) เอกสารแนบในการขอลาออกใชส้ ำ� เนาใบสทุ ธหิ รอื บตั รประจำ� ตวั ประชาชนแนบในการลาออก เทา่ นั้น มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย 7
๒.๙ การพ้นสภาพความเป็นพระสอนศีลธรรม ให้ถือปฏิบัติตามเอกสารบันทึกข้อตกลง (คพศร.๐๓) ท่ีก�ำหนดให้พระสอนศีลธรรมพ้นสภาพ ความเป็นพระสอนศีลธรรม ดงั นี้ (๑) ครบอายุตามทร่ี ะบไุ ว้ในขอ้ ตกลง (๒) ผรู้ บั สญั ญามรณภาพ (๓) ผู้รบั สัญญาลาสิกขาจากพระภกิ ษุ (๔) คสู่ ัญญาบอกเลิกสญั ญาตามข้อ ๔ ในเอกสารบันทกึ ข้อตกลง (๕) ผู้ให้สัญญา บอกเลิกสัญญาในกรณีที่แพทย์ปริญญาออกใบรับรองการตรวจและให้ ความเห็นวา่ “ผรู้ ับสญั ญา” มีสขุ ภาพพลานามยั ไมแ่ ขง็ แรง ไม่สามารถท่จี ะปฏบิ ัติงานตอ่ ไปได้ (๖) ไดร้ บั อนญุ าตให้ลาออก (๗) ยุบหรอื เลิกโครงการ หรือยุบส่วนงาน (๘) ถกู สง่ั ให้ออกหรือเลิกสัญญา (๙) ผรู้ ับสญั ญาไม่ปฏบิ ัติตามสัญญา สำ� นักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 8 คู่มือพระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั 9
10 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
▼ ▼▼ ▼ ▼ ▼ ▼ ▼ ▼ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย 11
ตารางกำ� หนดการ การสง่ แบบรายงานการสอนประจ�ำเดอื น ภาคการเรียนที่ ๑ ตารางกำ� หนดการ การสง่ แบบรายงานการสอนประจำ� เดอื น ภาคการเรยี นท่ี ๒ หมายเหตุ : ๑. เดือนตลุ าคม และเดอื นเมษายน ปิดภาคการศึกษา ไมม่ ีการส่งรายงานการสอนประจำ� เดอื น ๒. รายงานการสอนประจำ� เดือน ส่งย้อนหลังได้ไมเ่ กนิ ๓ เดอื น 12 คูม่ ือพระสอนศลี ธรรม
๓ส่วนท่ี การใช้งานระบบฐานข้อมูล พระสอนศีลธรรม
การใช้งานระบบฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรม ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ดำ� เนินการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น ท้ังด้านบคุ ลากรพระสงฆ์ ด้านการเงิน ด้านการจัดการ โดยท่ีมีการด�ำเนินงานต้องประสานงานร่วมกันระหว่างส�ำนักงานพระสอน ศลี ธรรม สว่ นกลาง และศนู ยอ์ �ำนวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ส่วนภมู ิภาค ท่ัวประเทศ ซ่ึงการด�ำเนินงานในแต่ละด้านที่กล่าวมานั้น ยังขาดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะน�ำมาใช้เป็น เครื่องมอื ในการด�ำเนนิ งานเพอื่ เพม่ิ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของการดำ� เนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดไว้ ดังน้ัน จึงเล็งเห็นว่า ควรพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือน�ำมาใช้เป็นเครื่องมือในการ ด�ำเนินงานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยรปู แบบ ในการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศนนั้ จะมใี นลกั ษณะของการบรู ณาการระบบฐานขอ้ มลู รว่ มกนั ของ สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ พมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ งาน เชน่ การตรวจสอบความซำ�้ ซอ้ น ของขอ้ มลู ความรวดเรว็ ในการจดั การ ดา้ นการเงนิ ด้านบคุ ลากร ฯลฯ นอกจากนน้ั ยงั สามารถประมวล ผลขอ้ มลู ไดใ้ นหลายมติ ใิ นทางดา้ นสถติ เิ พอ่ื ใชใ้ นการตรวจสอบและตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานในดา้ นผลผลติ และผลลัพธ์ของโครงการอกี ดว้ ย ผลผลิตท่ีได้จากการด�ำเนินโครงการน้ี คือ ๑) ระบบฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ซ่ึงมีการเชอื่ มโยงส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค ๒) เวบ็ ไซตก์ ลางส�ำหรบั การเผยแพรข่ ้อมลู โครงการพระสอน ศลี ธรรมในโรงเรียนใหแ้ ก่ ประชาชน นกั เรียน ๓) เวบ็ ไซตก์ ลางสำ� หรบั การนำ� เขา้ ข้อมูล ตรวจสอบขอ้ มูล จัดการข้อมูล จากหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ๔) ระบบประมวลผลทาง ด้านการเงิน ด้าน บุคลากร ด้านการจัดการ ๕) ระบบการวิเคราะห์ทางด้านสถิติสารสนเทศในการตรวจสอบและติดตาม ผลการด�ำเนินงาน ๓.๑ รูปแบบระบบฐานข้อมูลพระสอนศลี ธรรม http://www.mbpra.mcu.ac.th 14 ค่มู อื พระสอนศีลธรรม
๓.๒ เมนูการเขา้ ใชง้ าน จะแบ่งออก ดังนี้ ๑.การลงชื่อเขา้ ใชง้ านระบบ ๒.การจดั การขอ้ ความ ๓.การสง่ แบบรายงานการสอน ๔.การต้งั ค่า ๑. การลงชือ่ ใชง้ านระบบ พระสอนศลี ธรรมทกุ รปู เมอื่ ไดร้ บั การบรรจแุ ลว้ ขอ้ มลู ของทา่ นจะถกู บนั ทกึ ลงในระบบฐานขอ้ มลู และพระสอนศลี ธรรมทกุ รูป จะได้รับ ช่ือผู้ใชง้ าน (USER) และรหัสผ่าน (PASSWORD) จากเจ้าหน้าท่ี เพือ่ เข้าใชง้ าน รายละเอยี ดปรากฏตามภาพ ดงั นี้ ข้นั ตอนการลงชอื่ เขา้ ใช้งานระบบ ๑. คลิกตรงค�ำว่า “เขา้ ส่รู ะบบ” หนา้ จอจะปรากฏหน้าตา่ งตามแบบ ๒. ใส่ชื่อผู้ใชง้ าน (USER) และรหัสผา่ น (PASSWORD) ๓. ทีไ่ ด้จากเจ้าหนา้ ที่ และคลิกตรง ปุ่มสีเขียว “คลกิ เข้าส่รู ะบบ” ๔. ถา้ ใส่ชื่อผ้ใู ช้งาน และรหสั ผ่านถกู ต้องหน้าจอจะปรากฏหนา้ ต่างตามแบบ ๕. ใหพ้ ระสอนศลี ธรรมตรวจรายช่อื ของท่านวา่ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 15
๒. การจดั การข้อความ การจัดการข้อความ ในฐานข้อมูลพระสอนศีลธรรม พระสอนศีลธรรมจะสามารถรบั ส่งขอ้ ความ ผา่ นระบบฐานข้อมลู ไปยังเจา้ หนา้ ที่ ผ้ดู ูแลรับผดิ ชอบในพ้นื ท่ที พ่ี ระสอนศีลธรรมสังกัดอยเู่ ทา่ นน้ั จะแบง่ ออกได้ เปน็ ๓ เมนู คอื ๒.๑ เมนกู ลอ่ งจดหมาย กรณที มี่ กี ารสง่ ขอ้ ความมาจากเจา้ หนา้ ทผ่ี ดู้ แู ลในพนื้ ที่ หรอื จากหนว่ ยงานจากสำ� นกั งานใหญ่ สำ� นักงานพระสอนศลี ธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย จะมรี ูปภาพปรากฏว่ามขี อ้ ความ เขา้ มา (หลังจากมีการ ลงช่อื เขา้ ใช้ Login เรียบร้อยแลว้ ) ดังภาพทป่ี รากฏดังนี้ โดยทพี่ ระสอนศลี ธรรมสามารถกดเขา้ ไปอา่ นขอ้ ความไดต้ รงเมนู “ขอ้ ความ” ซงึ่ จะปรากฏขอ้ ความ ทีผ่ สู้ ง่ สง่ มาถงึ พระสอนศีลธรรม ดงั ภาพปรากฏดงั นี้ 16 คมู่ ือพระสอนศีลธรรม
๒.๒ เมนูเขียนถงึ ตามท่ีได้แจ้งในเบ้ืองต้น พระสอนศีลธรรมสามารถที่จะส่งข้อความไปถึงเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแล พระสอนศลี ธรรมในพื้นท่ที พี่ ระสอนศลี ธรรมสังกดั อยู่ โดยอาจจะมีการสอบถามขอ้ มลู เบอ้ื งต้นท่สี ามารถ ให้กับทางเจ้าหน้าที่ได้ตอบกลับ โดย คลิกไปตรง ค�ำว่า “เขียนถึง” ในเมนูข้อความ แล้วเลือกบุคคลท่ี ต้องการเขียนถงึ และกรอกชอื่ เรื่อง และรายละเอยี ดทตี่ ้องการสอบถาม ตามภาพ ๒.๓ จดหมายทส่ี ง่ แลว้ พระสอนศลี ธรรมสามารถตรวจสอบไดว้ า่ จดหมายทมี่ กี ารเขยี นถงึ เจา้ หนา้ ท่ี มกี ารสง่ ผา่ นระบบ ไปหรอื ยงั และสำ� เรจ็ หรอื ไมใ่ นการสง่ ครง้ั นนั้ โดยพระสอนศลี ธรรม สามารถตรวจสอบไดผ้ า่ น เมนจู ดหมาย ที่ส่งแล้ว เพ่ือเป็นการตรวจสอบความถูกต้องในการส่งจดหมายผ่านระบบว่าเรียบร้อยหรือไม่ ในการส่ง อาจจะมขี ้อผดิ พลาดในการสง่ อาจจะเกิดจากระบบอินเตอร์เนต็ หรอื วา่ มีการผดิ พลาดบางประการ โดย เข้าไปตรงเมนตู ามภาพ ดังนี้ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 17
๓. การสอน “การสอน” เป็นเมนูท่ีพระสอนศีลธรรมจะต้องเข้ามารายงานการสอนผ่านระบบของฐานข้อมูล พระสอนศีลธรรม ทกุ เดือนที่มีการทำ� การสอน พระสอนศีลธรรมจะต้องลงชือ่ เข้าระบบ (Login) และไปท่ี เมนู “การสอน” ดังภาพ หลังจากท่ีกดเข้าไปแล้วระบบจะปรากฏข้อมูลที่พระสอนศีลธรรมต้องเข้าไปกรอกข้อมูล โดย กดเข้าไปท่ี “เพิ่มตารางปฏิบัติการสอน” เพื่อเข้าไปท�ำการกรอกแบบรายงานการสอนประจ�ำเดือน ดังภาพ 18 คู่มือพระสอนศลี ธรรม
หลังจากท่ีกดตรงค�ำว่า “เพิ่มตารางปฏิบัติการสอน” แล้ว ระบบจะให้กรอกข้อมูลรายงาน การสอน ดงั ภาพ หลงั จากที่มีการกรอกขอ้ มูลการสอนเรยี บรอ้ ยแลว้ จะตอ้ งทำ� การกดค�ำว่า “บนั ทกึ ” เพอ่ื บนั ทึก ขอ้ มูลการสอนลงในระบบถ้าไม่ไดก้ ดบนั ทึกการรายงานการสอนทที่ �ำการกรอกมาจะไมเ่ ข้าสูร่ ะบบ *** กรณีที่มีรูปแบบการสอนในเดือนนั้น ได้ด�ำเนินการสอนหลายห้อง หลายวัน หลายชั้น สามารถกดรายงานการสอนเพ่มิ เตมิ ได้ กดตรงปุม่ บวก (+) สเี ขยี วได้ และ ถ้ามีกิจกรรมท่ปี ฏิบัตเิ พ่ิม เติมมากกว่า ๑ กิจกรรม สามารถกดตรงปมุ่ บวก (+) สีเขียวไดเ้ ชน่ เดยี วกนั *** หลงั จากทม่ี กี ารรายงานการสอนแลว้ และทำ� การบนั ทกึ เรยี บรอ้ ยแลว้ ระบบจะปรากฏเดอื นทท่ี า่ น ไดท้ ำ� การรายงานการสอนใหเ้ หน็ ในกรณที ท่ี า่ นไดท้ ำ� การรายงานการสอนไปแลว้ แตม่ กี ารผดิ พลาด เชน่ กรณีทำ� รายงานเดอื นพฤษภาคม ไปแลว้ และเกดิ การผดิ พลาด ทา่ นสามารถเร่มิ ทำ� ใหม่ไดโ้ ดยไม่ต้อง ลบของเก่า เดือนพฤษภาคม ท่ีท�ำผิดพลาดไประบบจะไม่เรียกขึ้นมาใช้งาน เพราะฉะน้ันพระสอน ศีลธรรมจะต้องส่ง ปร้ินแบบรายงานท่ีถูกต้องท่ีสุดส่งที่ ศูนย์อ�ำนวยการฯ ศูนย์ประสาน เพ่ือยืนยัน การรบั รายงานเข้าส่รู ะบบ ดังภาพ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย 19
หลังจากที่ท่านได้ท�ำการรายงานการสอนไปแล้ว ท่านจะต้องท�ำการปริ้นเอกสารรายงานการ ปฏิบัติการสอนน้ันให้กับผู้อ�ำนวยการสถานที่ศึกษาลงนามและประทับตรา โดยท่านสามารถเข้าไป ปร้ินเอกสารได้กดตรง “ดขู ้อมลู ” ระบบจะปรากฏหนา้ ตาของรูปแบบใบรายงาน ดังภาพ เมอ่ื ระบบปรากฏหนา้ ตาของแบบรายงานการสอนแลว้ ถา้ ตอ้ งการจะปรน้ิ เอกสารฉบบั นน้ั เพอ่ื ให้ กบั ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาลงนามและประทับตรา พระสอนศลี ธรรมจะต้องกดไปที่ “พมิ พแ์ บบรายงาน การสอน” จะปรากฏหนา้ รปู แบบตวั อยา่ งของใบรายงานปฏบิ ตั กิ ารสอนและทา่ นสามารถปรน้ิ ในเมนปู รน้ิ ในระบบปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรข์ องทา่ นไดเ้ ลย ดังภาพตวั อย่างแบบรายงานการปฏิบัตกิ ารสอน ดังน้ี 20 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
ตวั อย่างแบบรายงานการปฏบิ ตั กิ ารสอน (แบบรายงานที่สมบรู ณ์จะตอ้ งมีการรับรองรายงานของพระสอนศลี ธรรม และ ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษาพรอ้ มประทบั ตราโรงเรียน) มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั 21
๔. เอกสารค�ำรอ้ ง “เอกสารคำ� รอ้ ง” เปน็ เมนทู พ่ี ระสอนศลี ธรรม สามารถเขา้ ไป ดาวนโ์ หลดเอกสารตา่ งๆ ทมี่ คี วาม จ�ำเป็นต่อพระสอนศีลธรรม ท่ีจะต้องย่ืนเร่ืองในการด�ำเนินการสอนของพระสอนศีลธรรม เช่น เอกสาร การขอเปลีย่ นแปลงสถานทส่ี ังกดั การขอพักการสอน การขอกลับเขา้ สอน ขอเปล่ียนแปลงบญั ชธี นาคาร และขอเปน็ เปลี่ยนแปลงชือ่ ฯลฯ ซึ่งพระสอนศลี ธรรมจะต้องมาโหลดเอกสารจากเมนู “เอกสารคำ� รอ้ ง” ตามภาพ พอกดเขา้ ไปแลว้ จะพบกบั เอกสารตา่ งๆ ทส่ี ำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรมไดบ้ รรจลุ งไปในฐานขอ้ มลู พระสอนศีลธรรม เพือ่ ใหพ้ ระสอนศลี ธรรมได้ ดาวน์โหลดเพือ่ ใช้งาน ในการดาวน์โหลดพระสอนศลี ธรรม จะตอ้ งเขา้ สรู่ ะบบ (Login) กอ่ นจงึ จะสามารถเขา้ ไปดาวนโ์ หลดได้ โดยจะปรากฏรปู ภาพ และปมุ่ ทสี่ ามารถ กดเข้าไปดาวน์โหลดไดด้ ังนี้ พระสอนศลี ธรรมตอ้ งการเอกสารอนั ไหนใหด้ าวนโ์ หลดเอกสารนนั้ ตรงคำ� วา่ “ดาวนโ์ หลด” ขา้ งหลงั ไดเ้ ลย 22 คูม่ อื พระสอนศีลธรรม
๕. ตั้งคา่ “ตั้งค่า” เป็นเมนทู ี่พระสอนศีลธรรม สามารถเข้าไป ตง้ั คา่ ข้อมูลส่วนตัวของพระสอนศลี ธรรมได้ และสามารถทจ่ี ะแก้ไขรหัสผ่านในการเขา้ ใชง้ านในระบบได้ การตง้ั คา่ จะตอ้ งเขา้ สรู่ ะบบ (Login) เขา้ ไป ใช้งานกอ่ นจึงจะสามารถกดเขา้ ไปต้ังค่าได้ ดงั นี้ หลังจากทม่ี ีการ Login เข้าสรู่ ะบบแล้ว จะปรากฏเมนู “ตง้ั คา่ ” และสามารถกดเขา้ ไปดขู ้อมลู ส่วนตัวได้ ซ่ึงจะปรากฏข้อมลู ตา่ งๆ ในส่วนของเมนูต้งั คา่ จะมีเมนูย่อย แยกออกไปเปน็ ๓ เมนู ดงั นี้ ๕.๑ ดูขอ้ มูล หลงั จากที่พระสอนศลี ธรรมได้กดไปท่เี มนกู ารตง้ั ค่าแลว้ จะปรากฏเมนยู อ่ ย “ดูขอ้ มูล” ซ่ึงจะ ปรากฏขอ้ มลู รปู ภาพ และข้อมลู ส่วนตัวของพระสอนศลี ธรรม ดังรปู ภาพปรากฏ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 23
หลงั จากทพ่ี ระสอนศลี ธรรมไดด้ ขู อ้ มลู สว่ นตวั แลว้ เหน็ วา่ มขี อ้ ผดิ พลาดในขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรม สามารถแกไ้ ขขอ้ มลู ของตนเองได้ ยกเวน้ เลขประจำ� ตวั ประชาชน / บญั ชธี นาคาร / และทอ่ี ยู่ ซง่ึ ถา้ หาก พระสอนศีลธรรม ตอ้ งการแก้ไขข้อมูลเหลา่ น้ีตอ้ งมเี อกสารคำ� ร้อง (สามารถดาวนโ์ หลดไดใ้ นเมนเู อกสาร ค�ำร้อง) ส่งให้กับเจ้าหน้าที่เป็นผู้เปล่ียนแปลงให้ เพื่อเป็นเอกสารยืนยันในการเปล่ียนแปลง ส�ำหรับการ เปลี่ยนแปลงขอ้ มลู เบือ้ งต้นสามารถเขา้ ไปด�ำเนินการไดด้ ังน้ี ๕.๒ แก้ไขขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรมสามารถแกไ้ ขขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของตวั เองได้ โดยเขา้ ไปกดตรงเมนยู อ่ ย “แกไ้ ข ข้อมูล” ดงั ภาพ ซ่งึ พระสอนศลี ธรรมสามารถแก้ไขขอ้ มลู เบอ้ื งต้นของตัวเองได้ ในช่องวา่ งทป่ี รากฏ และสงั เกตวา่ (*) เครอ่ื งหมายดอกจนั สแี ดง มตี รงชอ่ งไหน ชอ่ งนน้ั ตอ้ งใสข่ อ้ มลู ถา้ ไมม่ กี ารใสข่ อ้ มลู ลงไป ระบบจะไมร่ บั การ แกไ้ ขขอ้ มลู หลงั จากทพี่ ระสอนศลี ธรรมไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขขอ้ มลู เรยี บรอ้ ยแลว้ จะตอ้ งกดตรงคำ� วา่ “แกไ้ ข เรยี บร้อย” ตรงขา้ งลา่ งสดุ ของเมนยู ่อย “แกไ้ ขข้อมูล” ถา้ หากไมก่ ด “บนั ทกึ การแกไ้ ข” ข้อมูลทงั้ หมดจะ ไมถ่ ูกบนั ทึกในระบบ และต้องรอจนกว่าระบบจะขน้ึ มาแจ้งเตือนว่า “บนั ทกึ การแกไ้ ขเรยี บรอ้ ย” ดังภาพ 24 ค่มู ือพระสอนศีลธรรม
๕.๓ แกไ้ ขรหัสผ่าน พระสอนศีลธรรมสามารถเข้าไปแก้ไขรหัสผ่านของท่านเองได้ (พระสอนศีลธรรมจะต้อง พึงระวังในการแก้ไขรหัสผ่านและจ�ำให้ได้ว่า รหัสใหม่อะไร เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด) โดยเข้าไป ตรงการตัง้ คา่ และเข้าไปตรงเมนยู ่อย “แกไ้ ขรหสั ผ่าน” ดังภาพ ระบบจะปรากฏช่องให้ใส่รหัสใหม่ ๒ ช่อง หลังจากท่ีใส่เรียบร้อยแล้วและให้กดค�ำว่า “แก้ไข” หลังจากที่มีการเปลี่ยนรหัสแล้ว การเข้าสู่ระบบคร้ังต่อไปจะต้องใช้รหัสท่ีพระสอนศีลธรรมได้แก้ไขไปใน การเขา้ ใชง้ านเทา่ นัน้ ๓.๓ ระบบการรับสมคั รพระสอนศีลธรรมผา่ นระบบฐานข้อมลู พระสอนศลี ธรรม การรับสมัครพระสอนศีลธรรม (รูปใหม่) พระสอนศีลธรรม ไม่จ�ำเป็นต้องมาด�ำเนินการสมัครท่ี ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม ศูนย์อ�ำนวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ในส่วนภูมิภาค หรือ ศูนย์ประสานโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประจ�ำจังหวัด โดยพระภิกษุสงฆ์ท่ีมีความประสงค์ ในการเป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน (เป็นไปตามคุณสมบัติในระเบียบการรับสมัคร) สามารถเข้าไป สมัครเปน็ พระสอนศลี ธรรมในระบบฐานขอ้ มลู พระสอนศลี ธรรมได้ โดยเขา้ ไปท่ี เวป็ ไซตร์ ะบบฐานขอ้ มลู พระสอนศีลธรรม www.mbpra.mcu.ac.th และเข้าไปท่เี มนู “สมัครพระสอนศลี ธรรม” บล็อคสีเขียว ตามภาพ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั 25
เมื่อกดเข้าไปแล้ว พระภิกษุสงฆ์ท่ีมีความประสงค์ในการสมัครเป็นพระสอนศีลธรรมจะต้องกรอกข้อมูล ให้ครบถว้ นตามท่ีระบบให้กรอก ดงั ภาพ และสงั เกต วา่ (*) เครอ่ื งหมายดอกจนั สแี ดง มตี รงชอ่ งไหน ชอ่ งนน้ั ตอ้ งใสข่ อ้ มลู ถา้ ไมม่ กี ารใสข่ อ้ มลู ลงไป ระบบจะไมร่ บั ขอ้ มลู และกรอกขอ้ มลู ใหค้ รบถว้ น จนถงึ ลา่ งสดุ ใหก้ ดคำ� วา่ “สมคั รเปน็ พระสอนศลี ธรรม” ดงั ภาพ 26 คมู่ ือพระสอนศลี ธรรม
หลังจากทีท่ ่านได้ด�ำเนินการสมคั รไปแล้ว ทา่ นต้องด�ำเนินการปร้นิ เอกสารในการสมคั ร โดยให้ผู้ บงั คบั บญั ชาเซน็ ตามลำ� ดบั และสง่ ไปท่ี สำ� นกั งานพระสอนศลี ธรรม ศนู ยอ์ ำ� นวยการโครงการพระสอนศลี ธรรม ในโรงเรยี น ในสว่ นภูมิภาค หรอื ศนู ยป์ ระสานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียนประจ�ำจงั หวัดทท่ี ่าน สงั กดั อยู่ โดยเขา้ ไปปรนิ้ ข้อมลู ได้ กดเข้าไป “พิมพ์ใบสมคั ร” และระบบจะใหใ้ ส่เลขประจำ� ตวั ประชาชน ๑๓ หลกั ของท่านลงไป และสามารถปร้ินข้อมูลได้ (หลงั จากท่ีทา่ นสมคั รเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว ดังภาพ หลงั จากทม่ี กี ารสมคั รเปน็ พระสอนศลี ธรรมแลว้ ทา่ นสามารถตดิ ตามและตรวจสอบสถานะการสมคั ร เป็นพระสอนศีลธรรมได้ว่า เจ้าหน้าท่ีได้ด�ำเนินการการรับสมัครของท่านไปถึงขั้นตอนไหน โดยสามารถ ตดิ ตามและเขา้ ไปตรวจสอบไดท้ ี่ เมนู “ตรวจสอบสถานะการรบั สมคั ร” หลงั จากทกี่ ดเขา้ ไปแลว้ ระบบจะ ใหใ้ สเ่ ลขประชาชน ๑๓ หลกั ของทา่ นและระบบจะปรากฏสถานะการสมคั รของทา่ นวา่ อยใู่ นขนั้ ตอนไหน ดังภาพ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย 27
ตวั อยา่ งใบสมคั ร (ทีจ่ ะตอ้ งปรน้ิ ออกมาหลังจากสมัครผ่านระบบแลว้ ใหผ้ ้บู ังคบั บญั ชาลงนามตามลำ� ดบั ) 28 คมู่ ือพระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 29
๓.๔ การเขา้ ใช้งานระบบฐานขอ้ มูลพระสอนศลี ธรรม ๑. การเข้าสรู่ ะบบ ด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ๑.๑ เปิดเบราวเ์ ซอรอ์ นิ เตอร์เนต็ เช่น Chrome, IE, Opera หรอื Firefox ๑.๒ เขา้ เว็บไซต ์ w w w . m b p r a . m c u .a c . t h หรอื www.krupra.net ๒. การเขา้ สรู่ ะบบ ด้วยมือถือมาสมารท์ โฟน (Smart Phone) ๓. การเข้าสรู่ ะบบ ด้วยการแสกนควิ อารโ์ ค้ด 30 ค่มู ือพระสอนศีลธรรม
๔ส่วนท่ี เอกสาร แบบฟอร์ม ต่างๆ ❖ คพศร.๐๒ ใบสมคั รพระสอนศลี ธรรม ❖ คพศร.๐๓ บันทกึ ขอ้ ตกลงพระสอนศีลธรรม ❖ คพศร.๐๔ แบบทะเบียนประวตั ิพระสอนศีลธรรม ❖ คพศร.๐๕ แบบรายงานผลการปฏบิ ัตกิ ารสอน ส่วนกลาง ❖ คพศร.๐๖ แบบรายงานผลการปฏบิ ัตกิ ารสอน ส่วนภมู ิภาค ❖ คพศร.๐๗ ใบขอย้าย สถานทอี่ ย่/ู สถานศึกษาทปี่ ฏบิ ัติการสอน ❖ คพศร.๐๘ ใบขอลาออกจากการเปน็ พระสอนศลี ธรรม ❖ เอกสารหมายเลข ๑ สาระประสบการณ์การสอน ❖ เอกสารหมายเลข ๒ แบบประเมินตนเอง ❖ เอกสารหมายเลข ๓ สมดุ บนั ทกึ ความรจู้ ากประสบการณ์การสอน ❖ เอกสารหมายเลข ๔ แบบรายงานประจ�ำปี
32 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 33
34 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 35
36 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 37
38 คู่มอื พระสอนศีลธรรม
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 39
Search