Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทละครพูดคำฉันท์

บทละครพูดคำฉันท์

Published by ยศชวิน กุลด้วง, 2019-10-22 00:34:20

Description: บทละครพูดคำฉันท์

Keywords: บทละครพูดคำฉันท์

Search

Read the Text Version

บทละครพูดคาฉันท์ เรื่อง มัทนะพาธา



ฉันท์ ในภาษาบาลี แบ่งออกเป็ น ๒ ชนิด คือ ฉันท์วรรณพฤติ กับฉันท์มาตราพฤติ • วรรณพฤติ คอื ฉันท์ท่ี วางคณะ และ กาหนดเสียงหนักเบา คอื ครุลหุ เป็ นสาคญั • มาตราพฤติ คอื ฉันท์ท่วี างจังหวะสัน้ ยาว ของมาตราเสียง เป็ นสาคญั นับคาลหุเป็ น ๑ มาตรา คาครุ นับเป็ น ๒ มาตรา ไม่ กาหนดตวั อักษร เหมอื นอย่างวรรณพฤติ

• ฉันท์ มีช่ือต่างๆตามท่ปี รากฏในคมั ภรี ์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ไทยเราดดั แปลง เอามาใช้ไม่หมด เลือกเอามาแต่ เฉพาะท่เี หน็ ว่าไพเราะ มีทานองอ่านสละสลวย และเหมาะแก่ การท่จี ะบรรจคุ าในภาษาไทยได้ดี เท่านัน้ ฉันท์ท่นี ิยมแต่งในภาษาไทย คือฉันท์วรรณพฤติ แต่ มาตราพฤติ จะไม่นิยมแต่ง เพราะจงั หวะ และทานองท่อี ่านใน ภาษาไทย ไม่ไพเราะ เหมือนฉันท์วรรณพฤติ ในคาฉันท์เก่าๆ มัก นิยมแต่งกันอยู่เพยี ง ๖ ฉันท์เท่านัน้ คือ • - อินทรวเิ ชยี รฉันท์ - โตฎกฉันท์ - วสันตดลิ กฉันท์ - มาลินีฉันท์ • - สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ - สัทธราฉันท์

• เหตุท่โี บราณนิยมแต่งเฉพาะ ๖ ฉันท์ คงเป็ นเพราะฉันท์ทงั้ ๖ นัน้ สามารถจะแต่งเป็ นภาษาไทยได้ไพเราะกว่าฉันท์อ่นื ๆ และ มักนิยมเลือกฉันท์ ให้เหมาะกบั บทของท้องเร่ือง เป็ นตอนๆ เช่น • บทไหว้ครู นิยมใช้ สัททุลวกิ กฬี ิตฉันท์ หรือ สัทธราฉันท์ • บทชมหรือบทคร่าครวญ นิยมใช้ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ หรือ วสันตดลิ กฉันท์ • บทสาแดงอทิ ธิฤทธ์ิหรืออัศจรรย์ นิยมใช้ โตฎกฉันท์ (แต่คา ฉันท์เก่าๆไม่ใคร่นิยมใช้ โตฎกฉันท์) • บทดาเนินความยาวๆ ในท้องเร่ือง นิยมใช้ กาพย์ฉบัง หรือ กาพย์สุรางคนางค์

• ในปัจจุบันนี้นิยมแต่งภุชงคประยาตฉันท์ เพ่มิ ขึน้ อีกฉันท์ หน่ึง และมักใช้แต่ง ในตอนพรรณนาโวหารหรือ ข้อความท่ี น่าต่นื เต้น • การแต่งฉันท์ ต้องบรรจุคาให้ครบ ตามจานวนท่บี ่งไว้ จะ บรรจุคาให้เกินกว่ากาหนด เหมือนการแต่ง โคลง กลอน และกาพย์ ไม่ได้ เว้นไว้แต่อกั ษรนา อนุญาตให้เกินได้บ้าง แต่บัดนี้ ไม่ใคร่นิยมแล้ว คาใดท่กี าหนดไว้ว่า เป็ นครุและลหุ จะต้องเป็ น ครุและลหจุ ริงๆ และเป็ นได้ แต่เฉพาะ ตรงท่บี ่ง ไว้ เท่านัน้ จะใช้ครุและลหุ ผิดท่ไี ม่ได้ คา บ กด็ ี คาท่ปี ระสม ด้วย สระอา ในแม่ ก กา ก็ดี ใช้เป็ นลหไุ ด้ แต่ปัจจุบนั คาท่ี ประสมด้วยสระอา ไม่ใคร่นิยมใช้ เพราะถือว่า เป็ นเสียงท่มี ี ตัวสะกดแฝง



อนิ ทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ หมายถงึ ฉันท์ท่มี ีลีลาอย่างเพชรของพระอนิ ทร์

วสันตดลิ กฉันท์ ๑๔ หมายถงึ ฤดฝู นได้เริ่มต้นแล้ว

จติ รปทาฉันท์ ๘

สาลนิ ีฉันท์ ๑๑

กมลฉันท์ ๑๒

อนิ ทวงสฉันท์ ๑๒

• กาพย์ ตามความหมายเดิม มีความหมาย กว้างกว่าท่เี ข้าใจกนั ในภาษาไทย คือ • บทนิพนธ์ ท่ีกวีได้ ร้ อยกรองขึน้ ไม่ว่าจะ เป็ น โคลง ฉันท์ กาพย์ หรือ ร่าย นับว่าเป็ น กาพย์ ทัง้ นัน้ แต่ไทยเรา หมายความแคบ หรือหมายความถึง คาประพันธ์ชนิดหน่ึง ของกวี เท่านัน้

• กาพย์ มีลกั ษณะผิดกบั กลอนธรรมดา คอื ๑. วางคณะ พยางค์ และสัมผัสคล้ายกับ ฉันท์ ๒. ใช้แต่งปนกบั ฉันท์ได้ และเรียกว่า \"คาฉันท์\" เหมือนกนั






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook