Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดการพูด-วิทยากร

แนวคิดการพูด-วิทยากร

Published by Onuma26, 2017-05-18 23:27:34

Description: แนวคิดการพูด-วิทยากร

Search

Read the Text Version

แนวคดิ เบอื้ งตน กอ นจะเปน นกั พูด/วทิ ยากร (BASIC CONCEPTS) การพูดในที่ชมุ นุมชนคือ การสนทนาที่ไดข ยายวงขอบเขตใหกวา งขวางขน้ึ การพูดกับคนหน่ึงคน กบั คนสิบคน หรอื กับคนรอยคนนัน้ ไมแตกตางกันมากเทา ใดนกั ทานจาํ ตองพดู ใหดังขนึ้ แตการพูดสนทนาในวงผูรบั ประทานอาหารไมแ ตกตางในเรอ่ื งเนอื้ หาสาระไปจากการพดู ทเี่ กดิ ข้นึ ในงานชมุ ชน ความแตกตางอยางแทจรงิ เพียงประการเดยี วก็คือ ในงานชมุ ชนนัน้ผูพ ูดไดรบั อนญุ าตใหพดู ไดใ นระยะเวลาที่นานกวาโดยปราศจากการขัดจงั หวะฉะนนั้ โปรดคดิ ถงึ การพดู ในลกั ษณะของการสนทนากับคนฟงพดู กบั บคุ คลทง้ั หลายทีท่ านเห็นอยูเบื้องหนา ของทาน จงพดู กับเขา แตอยา เปน อันขาดวาทา นพูดใสเ ขา ในการเตรยี มตวั และในการฝก พูด ถาทา นคิดถงึ สง่ิ ทจี่ ะพดู ในลักษณะของการอภิปรายถกเถียงปญหากบั ผทู ่ีทา นรจู กั กจ็ พเปน สง่ิ ท่ีชว ยไดมากเชน กัน จงสรา งจินตนาการวาเขา ไดถามทานถึงปญหาสาํ คัญขอหน่ึงและทานไดพยายามอยา งดที สี่ ดุ ที่จะตอบปญหาน้นั ในขณะทีท่ านกระทาํ อยา งน้ี เขา ก็ไดถามปญ หาอื่น ๆ เพิม่ เขา มาอกี และทานก็ไดพยายามตอบปญ หาเลา นด้ี วยทานอาจตอ งอธบิ ายนําเรื่องนทิ านนิยายมาเลาเพอ่ื ทจ่ี ะวาดภาพสง่ิ ทที่ านหมายถึง และอา งองิ ตัวเลขทางสถติ ิตา ง ๆ มาประกอบ หรอื อาจมบี างคนคานขน้ึ มา และทานไดใชว ธิ กี ารโตแ ยง อยางชนดิ เผชญิ หนากันเลยทเี ดียว ในกรณีนี้ทา นตอ งยกขอ เท็จจริงมาอางเพ่อื เอาชนะเขาใหไ ด ในที่สดุ ทานสรุปทุกส่งิ ที่ทา นไดพูดไปแลว โดยคาํ พดู ท่ีวา “น่ันไงละ” เห็นม๊ยั นนั่ คือสิง่ ที่พงึ จะไดพูดไปอยา งไรละ ”

-2- การคดิ นึกและการเตรียมตัวในลักษณะเชนวา มาน้ี จะชว ยใหทา นไดร ับตราประกนั คณุ ภาพวา การพูดของทานนนั้ ดี การพดู ในท่ีชมุ นมุ ชน คอื การส่ือสารอยา งมีจดุ มุง หมาย ทานพดูกบั คนฟงเพอ่ื ความมงุ หมายเฉพาะบางอยา ง ทา นประสงคท ่ีจะใหเขา รูส ึกคดิกระทําบางสง่ิ บางอยาง ฉะน้นั ในระหวางการพดู ของทาน โปรดเอาใจใสแนว แนเฉพาะแตใ นวัตถุประสงคน ้ี ตัง้ สมาธิของทานใหแ นว แน เอาใจใสสงิ่ ทท่ี านกําลงั ทําอยู(Keep your eye the ball) อยา ใหใจของทานไขวเขวไปโดยผฟู ง ทเี่ ขา มาชา หรือเสียงตาง ๆอยาปลอยใหก ารพูดของทา นเปน ไปเหมอื นเคร่อื งยนตกลไกคือ ปราศจากชวี ิตจติ ใจ อยาปลอ ยใหเ กดิ อาการจิตใจไมอยูกับตวั จนมีอาการเหมอื นคนใจลอย(absent-minded) ถา ทานเปนดังกลา วมาน้ที า นจะไมส ามารถสื่อสารไดเลย โปรดคิดอยูเสมอวา ทา นกาํ ลังพดู อะไรอยใู นขณะที่ทานกําลงั พดูจงคิดใหมาก ๆ แลวคนฟง จะทราบวา ทานตองการจะหมายถึงอะไรในส่ิงทีท่ า นพูดและจะฟงทาน นกั พูด/วิทยากรที่ดีควรมคี วามกระฉบั กระเฉง (LIVELY) มคี วามสนใจในสงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั (INTERESTED) มีความกระตอื รือรน(ENTHUSTASTIC) มีชีวิตชวี า (VITAL) เขาดูมีพลังชีวติ ; เขาเหน็ คนฟง เปนมนุษยผูม ีชีวิต เขาสนใจในหัวขอ เร่ืองของเขาและเห็นวาเกี่ยวของจําเปน และมีประโยชนตอบคุ คลดงั กลาว ดังน้ัน เขาจึงพดู ถงึ มันดว ยความกระตอื รือรน น้คี ือวิธที ีด่ ีที่สดุท่ีจะทาํ ใหผ ูฟงเกดิ ความสนใจ

-3- นักพูด/วทิ ยากรทีด่ ยี อมจะตองเปน คนมีความคดิ รอบคอบและเอาจริงเอาจงัเขาไมพดู เพยี งเพ่ือแคข อใหไดพ ดู เพ่อื โออวดเส้ือฟา เครอ่ื งแตง กายหรอื รอยยม้ิหรือความสามารถในการเลือกใชถอยคาํ ความรศู ัพทมาก หรอื ความสามารถเชงิลีลาการประพนั ธ หรือเสียงเทา น้ันเขาจะไมเ พียงแคก ดปุม หวานโปรยเสนห เ มือ่เขาลกุ ขึ้นยืน และเพอื่ ทีก่ ดปุมปดเม่ือเขาน่งั ลง ทวา เขามีบางสิ่งบางอยาง ซ่ึงเขาคิดวามันมคี ณุ คา ทจี่ ะกลา วถึงและเขาพดู ถงึ มันเขาเปนคนมีความคดิ รอบคอบและเอาจรงิ เอาจงั นักพดู /วิทยากรทดี่ ยี อ มมีสาํ นึกในความรบั ผดิ ชอบ เขามีสํานึกในความรบั ผดิ ชอบตอคนฟง เขาตระหนักดีวา ถา เขาพดู โดยใชเ วลา 5 นาที กับคนฟงหนึ่งรอยคน ก็เทากับวา เขาใชเวลาถึงหา รอยนาทีของชวี ิตบุคคลเหลา นน้ัเขาพยายามพูดในสิ่งท่จี ะมีประโยชนคมุ แกเวลาอนั มีคา เขามีสาํ นึกในความรบั ผดิ ชอบตอ หัวขอเรอื่ งของเขา เขาจะไมตะกรมุ ตะกรามกัดมันออกมามากเกินกวา ทีเ่ ขาจะสามารถเคย้ี วยอ ยลงได และในขณะเดียวกันเขากจ็ ะไมน ํามนั มาแผโ รยหนา แตเพยี งบาง ๆ จนมแี ตน าํ้ แตไมมเี นอ้ื นกั พูด/วทิ ยากรทดี่ มี ีลักษณะแหงความเปน ผนู าํ เขายืนยึดตวั อยา งสงา ดังเชนทีผ่ ูนาํ ควรกระทาํ เขาพดู อยา งท่ีแสดงใหเห็นความรบั ผิดชอบและความรแู จงเหน็ จริงในส่งิ น้นั ดงั เชนทผี่ ูนาํ ควรกระทํา เขามองโลกในแงดี มีความเปน มิตร และตรงไปตรงมา

-4- นกั พูด/วทิ ยากรทดี่ ยี อ มรจู กั ประมาณตน ถอมตนไมเหลงิ รูจักทําใจใหเ ปน กลางเขาไมปลอ ยใหค วามทะเยอทะยานครอบงาํ เขามากจนเกินไป เขาไมยอมทจ่ี ะกลายเปน คนทีเ่ อาแตใ จตัวเองเปนใหญ เขาไมปลอยใหความเชื่อมั่นท่เี ขามีอยทู ําใหเขากลายเปน คนอวดดีถือวาตวั เองวเิ ศษกวาคนอน่ื เพราะมคี วามเช่อื ม่นั ในตัวเองมากจนเกินไป เขาไมปลอ ยใหต วั เองหลงไหลมนี เมาตกเปนทาสสิง่ เสพติดของอํานาจวาสนาซ่ึงเกดิ ขึน้ โดยการที่ไดป รากฎกายเปนจุดเดนในฐานะคนสาํ คญัของสังคม เขาพยายามทําตนใหเปนคนมีเหตุมีผล มสี ติ มสี ุขภาพจติ ดี เขามีอารมณขนั อยเู สมอ ขอคดิ สําหรบั ผูท ่ีเรมิ่ ตนจะเปน นักพดู /วทิ ยากร : จงเปน ตัวของตัวเอง (BE YOURSELF) พูดในสิง่ ทท่ี านคดิ ไมใ ชส งิ่ ทน่ี ักเขียนคอลมั นบางคนหรือนักขา วบางคนคิด กลา วคอื ไมควรไปจดจําส่ิงท่ีผอู ื่นพดู มาพดู ศกึ ษาวธิ ีการของนักพูดคนอนื่ ๆ แตอ ยา ลอกเลียนแบบเขา ยกยอ งและช่นื ชมคณุ สมบัตอิ นั ดีงามของนกั พดู ผูม ีประสบการณแตโปรดอยารสู กึ วา คุณสมบัติเหลานัน้ เปนส่ิงจําเปน อยา งย่ิงท่ที า นจะตอ งมีทา นควรตองพฒั นาปรบั ปรุงศกั ยภาพ (POTENTIALITY) ทง้ั หลายของตัวทานเอง ศกึ ษาพจิ ารณาทําความรูจกั กับทวงทลี ีลา(STYLE) ของตวั ทานเอง พยายามคนหาวา อะไรจะชวยทําใหทานเปน นักพดู ผูมีประสิทธิภาพ

-5- ฉะน้ันแงค ดิ อกี ประการหน่ึงสําหรบั ผทู เี่ ริ่มตนเปน นักพูดกค็ ือ :จงรจู กั ตัวเอง (KNOW YOURSELF) อยา สรา งนสิ ยั ที่ไมด โี ดยการเฝา คดิ เพอฝนเกย่ี วกบั ความสามารถในการพูดของทาน แตจ งเรียนรูท จ่ี ะยอมรับขอ วพิ ากษวจิ ารณและไดร ับผลประโยชนจากมัน วเิ คราะหการพูดของทานเองภายหลังการพดู แตล ะครงั้ ลองถามเพือ่ น ๆ ที่ไวใ จไดเกีย่ วกบั การพูดของทา น พยายามคาดหรือประมาณการณอยา งมีจดุ มุงหมายเกย่ี วกับคุณคา ของการพูด คนหาขอบกพรอ งของทา น ; อยา ปกปด หรือละเลยมันแตจ งลงมอืทําอะไรบางอยางเพ่ือแกไ ขขอบกพรอ งเหลา นั้น คนหาขอ ดีอันเปนพลงั ของการพูดของทา น เอาใจใสเ นนในขอ ดีเหลาน้ีพฒั นามนั ใหดียงิ่ ขน้ึ ขอ ผดิ พลาดของผูทพ่ี ึงจะเรม่ิ ตน ฝก เปนนักพูด/วทิ ยากร(BEGINERS FAULTS) นีค่ ือแงค ดิ บางประการเก่ียวกบั ขอผิดพลาดของผูท่ีพงึ จะเร่ิมตนซงึ่ มักจะพบเหน็ อยูเสมอ ถา ทา นมลี ักษณะดงั ทจี่ ะกลา วตอไปนี้อยูบาง ควรพยายามขจัดมนั เสยี

-6- การพดู “เออ ” “อา ” “แบบ” “ก”็ “และก”็ “แลว อา” ฯลฯจนเปน นิสัยพวกเรามกั จะพดู คําวา “เออ” ฯลฯ ถาเรารสู ึกเหน่อื ยหนา ย หรือไมสามารถประมวลความคิดของเรามาพดู ตอได หรอื ถา เราไดนั่งอานหนังสอื หรือทาํ งานทเ่ี กีย่ วกบั การเคลอ่ื นไหวของมอื หรอื สิง่ อื่น ๆ โดยทเี่ ราไมตองใชคิดคิดเปนระยะเวลาที่นานเกินไป แตค ําวา “เออ” ที่ผดุ ขน้ึ มาใหไ ดย นิ บอ ย ๆ ตลอดการพูดคร้งั หนง่ึ ๆ นั้น ทาํ ใหก ารพดู นา เบ่ือและไมน า สนใจ วิธีแกไข : ใชมอื ขางหนง่ึ โบกกวาดไปมาอยขู างหนา และโดยท่ีทา นจอ งมองดมู อื ทเ่ี คลอ่ื นไหวน้นั ทา นจงพรรณาหรือบรรยายสภาพหอ งท่ีทา นน่งั อยโู ดยสมมตุ ปิ ระหน่งึ วา ทา นกําลงั พดู กบั ผฟู ง ผา นการออกวิทยกุ ระจายเสียงลองพยายามพูดตดิ ตอกนั นานประมาณ 25 วนิ าที โดยไมใ หม คี ําวา “เออ” ฯลฯเลยแมแ ตคําเดยี ว ขอใหใครสกั คนหนึ่งคอยตรวจจับทา นดู ถาทา นไมไ ดยนิ คาํวา “เออ ” ฯลฯ ดวยตวั ทานเอง ถาทา นเผลอหลดุ พูดคาํ นไ้ี ปควรเร่ิมตนฝกใหมอีกครงั้ หน่ึง ครงั้ นี้ควรพยายามใหนานถึง 45 วินาที พรรณณาหรือบรรยายส่ิงที่ทานเหน็ ขา งนอกหนา ตา ง โดยใชวธิ กี ารเดยี วกนั ลองพูดถึงขาว เหตุการณบางอยางในลักษณะเดียวกนั การเรมิ่ เปดฉากการพูดโดยการขอโทษ การพูดทาํ นองออกตวั เพ่ือขอโทษจะมีกแ็ ตเ พียงนักพูดท่ีมชี อ่ื เสยี งดีที่สุดเทา นัน้ ผูอ าจสามารถกลาวคาํ ขอโทษไดและเขาจะกระทําก็แตเพียงเมือ่ เขามีภารกิจมากเสียจนกระทั่งเขาไมม เี วลามากเพยี งพอทจ่ี ะเตรยี มตวั เทาน้ัน

-7- คนฟงจะถือวาการเรม่ิ ตนพดู โดยการกลาวคาํ ขอโทษของทา นนัน้เปน เสมอื นสง่ิ ท่ที า นกระทาํ เสมอ ๆ หรือมฉิ ะนัน้ ถาทานแสดงใหเขาเห็นเปนจริงเปนจงั ละก็ ผูฟ ง จะเริ่มจับผิด ถาทา นมีเวลาเตรยี มตัวไมพ อ ถา ทานไมท ราบวา เน้อื หาของเร่ืองที่จะพดู มีมากนอยเพียงใด ทา นควรหาทางปฏเิ สธการพูดครง้ั น้นั ใหด ีทีส่ ดึ เทาท่ีจะทาํ ไดเ สยี เลยจะดกี วา และเปดทางใหผ อู น่ื ซงึ่ มคี วามพรอ มมากกวา ทําหนา ที่พดู การทําตัวเหมอื นแมวขโมย (Copycat) จงอยาหยบิ ยกเนื้อหาทีจ่ ะพูดหรอื จงอยา ลอกเลยี นทวงทลี ลี า (STYLE) การพูดทไ่ี ดมาจากนิตยสารวารสาร หนังสอื พมิ พหรอื สิง่ ตพี มิ พอืน่ ใดท้ังส้นิ บทความหรอื ขอ เขียนในสง่ิตพี มิ พเ หลานัน้ เขาตัง้ ใจเพือ่ จะใหเ ปนสิ่งสาํ หรบั อานทว งทลี ีลา (STYLE) ของขอ ความเหลา นจี้ ะดไู มแนบเนียนเปนธรรมชาตเิ มอ่ื มนั ออกมาจากริมฝป ากของทา น จงสรา งบทท่ีจะพูดดว ยตัวทา นเอง ถา หากวา มบี ทความขอ เขียนในสิง่ ตพี มิ พเรือ่ งใดเรือ่ งหนง่ึ ที่ทานสนใจ ทานควรอา นขอ เขียนหรอื บทความอ่ืน ๆ ในหวั ขอ เรอื่ งเดียวกนั แลวจดบนั ทกึ ยอ เพ่มิ เติมความคดิ เหน็ และสิง่ ทไ่ี ดจากสังเกตการณของทานเองลงไปแลว หลงั จากน้นั จงึ เตรียมสาระท่ีจะพูดโดยใชถ อ ยคาํ ของทานเอง การเคลือ่ นไหวไกวแกวง โยก เขยา กระดิกรา งกายหรอื สว นใดสว นหนง่ึ ของรา งกายตลอดเวลา การเลน กบั ส่งิ ใดส่ิงหน่ึงในขณะที่พดู ผทู ่จี ะเรม่ิ เปน นกั พดู ในบางครงั้ ปลดปลอยถายเทพลงั งานท่เี กดิ ขน้ึ มากกวาปกติโดยการเลน กับเงนิ เหรียญ กระดุม กุญแจ ดินสอ ปากกา กระดาษบนั ทกึ ฯลฯอยางวุน วายไมมีสติควบคุมทเี ดียว ในการกระทําเชนนน้ัเขาไดท าํ ใหผ ฟู งเสียสมาธแิ ละความตั้งใจในการฟง ไป

-8- ฉะน้นั โปรดอยานาํ สิง่ ของชน้ิ เลก็ ๆ ตดิ ตัวขึ้นไปบนเวทีดว ยเม่อืทา นอยูทน่ี ่ัน, บนเวที, จงเอาใจใสแนวแนอยูแตก ับเฉพาะตวั สารของทาน และจงใชพลงั งานท่เี กิดข้นึ มากกวาปกตนิ ้ีไปในการพดู ท่ีเต็มไปดว ยพลงั และความเขมแขง็ ลกั ษณะท่ีปราศจากการติดตอ ส่อื สารกบั คนฟง ผูทีพ่ งึ จะเริม่ ผกึเปน นักพดู อาจมแี นวโนม ที่จะพดู กบั ตัวเองเทา น้ัน หรอื พดู แตเ พยี งกับคนฟงแถวหนา ดังท่ีไดกลาวมาแลววาการพูดในทชี่ มุ นมุ ชนเปน การสนทนาที่ไดขยายวงขอบเขตใหก วางขวางออกไป ฉะนน้ั มันจึงเปนการตดิ ตอ ส่ือสารกบั คนอ่ืน ๆ ดว ย วิธแี กไ ข : พดู กับบุคคลที่น่งั อยแู ถวหลงั สดุ เสียกอ น ; หลังจากนน้ัจงึ พูดกบั บุคคลอ่ืน ๆ ทอี่ ยใู กล ๆ ทาน การใชค ําทเี่ ขา ใจยากหรอื ศพั ทท างวชิ าการ (JARGON) ผทู ่ีประกอบอาชีพซงึ่ ตองอาศยั พ้ืนฐานทางการศกึ ษาในขน้ั สงู มแี นวโนมท่ีมกั จะใชศัพทท างวชิ าการหรือภาษาทีไ่ มใชภ าษาชาวบา น ซง่ึ ผทู จี่ ะเขาใยไดโดยงายก็มีเพียงแตค นท่อี ยูในวงการอาชีพระดับเดียวกันเทา นั้น ผทู ่เี รม่ิ ฝก เปน นักพดู ในบางครั้ง ดเู หมอื นจะรสู ึกหรือเขา ใจวาเขาจะสามารถสรา งความประทบั ใจไดถึงเขาพดู สงู ขา มศรีษะคนฟงโดยใชศพั ทยากหรอื ศัพทวิชาการเหลา นี้ โดยแทท ่ีจรงิ แลว เขาจะพูดไดด ีกวาถาเขาใชภาษาธรรมดาที่ใชกนั ทั่วไปในชวี ติ ประจําวนั คาํ หรือวลที ีป่ ราศจากความหมาย ควรหลกี เลย่ี ง: “อะไรอยางเนย้ี ” “ดีพอสมควร” “พอใชไ ด”“ใชไ ดพ อสมควร” อะไรพวกเนีย้ นะฮะ” “เหลาเน้ียนะฮะ” “นะคะ” “นะครบั ”

-9-ควรระบุใหแจม แจง ควรบอกชือ่ ของสงิ่ หรอื บุคคลตา ง ๆ ควรพูดถงึ สง่ิ ท่ที า นหมายถงึ อยางเฉพาะเจาะจงวาคืออะไรแน ไมใ ช “สิง่ นัน้ ” “คนพวกน้ัน” “พวกอยางวา” ควรหลีกเลยี่ งคํากลาวในลักษณะตอไปน้ดี วยเชนกัน: กอนที่ขาพเจา จะเริม่ รายการ ขาพเจา ขอช้แี จงวา…” “ขา พเจา สามารถพูดเร่อื งนี้ไดเปนชั่วโมง ๆ เชยี วนะ” “ขา พเจาไมม ีเวลามากพอท่ีจะอภปิ รายเรือ่ งนใ้ี นรายละเอียดไดเ ตม็ ที่ แต…” “ขา พเจาคงจาํ เปนตองปลอ ยเรอ่ื งนีไ้ วเ อาไวคอยพดู กนั ในคราวหนากแ็ ลวกนั นะ” “ขา พเจา หวังวาขา พเจาคงจะไมท ําใหทานรสู ึกเบอ้ื หนายดวยเรื่องนี้ แต…” วลขี อความเหลา นไี้ มมปี ระโยชนใด ๆ ทั้งสิ้น และกอใหเ กิดอาการราํ คาญระคายเคืองได ควรเตรยี มตัวใหพ รอ มเปนอยางดเี พื่อวาทานจะไดไมต อ งเกิดความลังเลใจจนตองนําวลีขอ ความดังกลา วเหลาน้ันมาพูด องคประกอบทม่ี องเหน็ ได (VISUEL FACTORS) คนฟงสามารถเหน็ นกั พูดกอ นทเี่ ขาจะไดย ินนักพูดพูด มนัสามารถกอ ใหเกดิ แนวทศั นะหรือแนวความคดิ (OFINION) เกย่ี วกับผูพูดขึ้นไดเชนกนั กอนทเี่ ขาจะไดมโี อกาสพูดแมแ ตเพยี งคาํ เดยี ว “ถอมตน” หรอื“กา วรา ว” คนฟง อาจนกึ อยูใ นใจ หรอื “ชางดูแลวสบายตาเสียน่ีกระไร” ไมวาคาํ ตัดสินน้ีจะมีสวนถูกหรอื ผดิ นาเชือ่ ถือหรือไมก ็ตาม คําตดั สนิ เหลานกี้ ็ไดถ ูกสรา งข้นึ แลว นักพดู จึงจําตองพจิ ารณาเอาใจใสว า ลักษณะทา ทางของเขาที่ปรากฎแกสายตาคนฟง น้ันเปนอยา งไร

- 10 - องคป ระกอบทีอ่ าจมองเหน็ ไดน ย้ี ังมีความสาํ คญั สําหรบั เหตผุ ลอกี ประการหนงึ่ กค็ อื : ปรากฏการณแ หงการมอี ารมณร ว มหรอื การรูจกั “เอาใจเขามาใสใ จเรา” (EMPATRY)เรามกั จะนาํ ความรสู ึกของตวั เราเองเขาไปแทนที่หรอื ผกู พันกบั สง่ิ ทเ่ี ราเห็นเราตืน่ เตนเกรง็ ไปพรอมกันกับนกั กฬาผูกําลังแขงขนัอยใู นสนาม เศราโศกระทมไปกบั ตัวละครในภาพยนตรผูพูดทหี่ ลกุ หลิกลอกแลกเคลื่อนไหวตลอดเวลาทําใหค นฟง เกิดอาการไมส งบขึ้นได ถา เขาวางตัวใหส บายตาแตส งางามเปนธรรมชาติ คนฟง ก็จะรสู ึกผอนคลายไปดวยเชน กันและคนฟง จะเกิดมีความเชอ่ื มน่ั และเชื่อถอื ผูพดู ทมี่ คี วามเชอ่ื มนั่ ลักษณะการทรงตัว (POSTURE) ลักษณะการทรงตวั ที่ดนี น้ั ยอมประกอบขึ้นดว ยท้งั คําส่ังทว่ี า “ตงั้ ใจ ระวงั เอาใจใส (Attention)” และคําส่งั วา“ทําตัวใหส บาย ๆ (At ease;)”ดงั น้ันผพู ดู จะแนะแกค นฟงวาเขามที ง้ั ความตื่นตัวพรอมท่ีจะพูด และในขณะเดยี วกันกม็ สี ภาวะทางกายท่ีสบาย ๆ มีจิตใจท่ีสงบไมเ ครียด ขอ เสนอแนะสาํ หรบั การทรงตวั ที่ดใี นขณะท่ีพูดกบั คนฟง จํานวนมากพยายามรักษาระยะระหวา งสนเทา ใหอ ยใู กลกันไมห า งกนั มากจนเกินไปแตปลายเทาหา งกนั บางเลก็ นอ ย สน เทาอาจวางใหอยใู นแนวเดียวกันหรืออาจวางใหเหลอ่ื มกันโดยเทาขา งใดขา งหนึ่งวา งใหเ ยือ้ งไปขางหนา เลก็ นอ ย แตไมวาจะเปน ทาใดก็ควรระวังไมใหส น เทาหางกันมากเกนิ ไป นํา้ หนกั ของรางกายควรใหอ ยบู นองุ เทา สองขาง โดยเฉพาะอยางยิง่ ตรงบรเิ วณกลามเนอ้ื สว นใกลห วั แมเทา ของเทาทง้ั สองขาง ถาในกรณที ่เี ทาขางหนง่ึ อยูเย้อื ง

- 11 -ไปขา งหนา เทาขางท่อี ยขู า งหลังจะทําหนาทร่ี บั นา้ํ หนัก สวนเทา ท่ีอยูขา งหนาจะทาํ หนาท่ีเปน จดุ ที่สรางความสมดุล ยืนยึดตวั ข้ึน เกรง็ แขมวหนาทอ งพอใหรูสึกวา กลา มเน้ือไดทาํ งานยดื หนาอกและกลา มเน้ือไหลใ หต ึง ไมเ ชดิ คางแตตงั้ ศรี ษะใหตรง ลองขยับเคลือ่ นไหวแขนและมอื ในลักษณะใดกไ็ ดท ีส่ ะดวกสําหรบั ทานและมองดูแลว สงา งามและเปน ธรรมชาตแิ กผทู ่ีมองดูอยู ปลอ ยแขนและมือลงตามสบายไปขา งลาํ ตวั ; ลอกยกแขนขน้ึ ในทา กอดอก ; หรอื เอาไปไขวก ันไวขา งหนา ระหวา งชวงระยะเวลาของการพูดของทา นโปรดอยา ลังเลที่จะเอามือลวงกระเปา ขางใดขางหนึ่งถาทา นตองการ คาํ ถามทวี่ า “ฉันจะทาํ อยา งไรดีกับมือทงั้ สองขา ง? นน้ั เปนปญ หาในทางจิตวิทยามากกวา ปญ หาทางกายภาพ คําตอบก็คอื “โปรดเอาใจใสม ุง แตเฉพาะสง่ิ ทท่ี านกําลงั พดู อยู และคนฟง จะไมสังเกตมองมอื ของทาน” ถาหากวามโี ตะ ทส่ี าํ หรับยนื พดู (SPEAKER’S STAND) ทา นอาจจะใชม ือจบั ยึดมันหรือวางแขนขา งหนง่ึ ทาวพกั บนทส่ี ําหรบั ยืนพูดได แตโปรดอยายืนพึงในลักษณะชะโงกล้ํามาขา งหนา หรือยืนโดยใหลาํ ตวั ของรางกายพาดพกั ไวบ นที่สาํ หรบั ยนื พูดนนั้ จนทําใหดูประหนึง่ วา มันเปน ราวรั้วหรอื ไมค ้ํายนั ไวใ หท า นสามารถยนื อยไู ดไ มลม ถาหากวามโี ตะ ตวั หน่ึงต้ังไวให ทานอาจจะวางจดบันทึกยอ ไวบนโตะ น้ันไดถาทา นประสงค แตห ลงั จากนั้นโปรดยืนใหหางโตะ นั้นออกไป ที่สาํ คัญคือควรหลกี เลย่ี งลักษณะการยืนทอดน้ําหนักของรา งกายทงั้ หมดลงบนที่สําหรบั ยนื พดู หรอื นง่ั ในลกั ษณะเดยี วกนั ท่โี ตะที่เขาจดั ไวใ ห หรือใชสิง่ เหลา นี้ราวกบั วาทา นเองตองการไมคาํ้ ยัน

- 12 - โดยทวั่ ไปแลว พงึ หลีกเล่ียงลกั ษณะท่เี ครียดเกร็งจนดแู ขง็ และลักษณะท่มี ากเกินไปจากความเปนธรรมชาติ พยายามสรางลักษณะที่มีความเปนธรรมชาตแิ ละลกั ษณะท่แี สดงใหเห็นวา มีความต่ืนตัวเตรียมพรอมท่จี ะพดูโปรดสรา งความมั่นใจวา ลักษณะการทรงตัวท่ีเปน พืน้ ฐานเชนการยืน การน่ังน้ันจะมีสวนชวยใหท านสามารถเคลื่อนไหวหรือแสดงอากัปกริยาทาทางไดอยา งสะดวก ทกุ อยา งจะดาํ เนินไปดวยดีถาทาน “ม่ันใจ” ตัวเอง ขออนุญาตคดั ลอก ตัดตอน เอกสารประกอบการฝก อบรมหลกั สตู รวิทยากรของ กรอ. โดย รศ.ดร.ศกั ดา ปน เหนงเพชร แลว วชั รี ถนอมรตั น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook