Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิธีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา พระวิโรจน์ สุจิตฺโต. เอี่ยมคำ

พิธีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา พระวิโรจน์ สุจิตฺโต. เอี่ยมคำ

Description: พิธีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา พระวิโรจน์ สุจิตฺโต. เอี่ยมคำ

Search

Read the Text Version

พธิ ีบวงสรวงปราสาทยายเหงา ตำบลบา้ นชบ อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสรุ นิ ทร์

ผจู้ ัดทำ ชอื่ พระวิโรจน์ สจุ ิตโฺ ต. ( เอีย่ มคำ ) รหสั 6409501034 นสิ ิตชัน้ ปที ี่ ๒ สาชาวชิ าพระพุทธศาสนา เป็นสว่ นหนึ่งของวิชาเทศกาลและพธิ ีกรรมในพระพุทธศาสนา ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

คำนำ การเกบ็ ข้อมลู เรอ่ื งพิธีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงาน้ี กระผม / อาตมภาพ ไดร้ ับ มอบหมายจากทา่ นอาจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยบ์ รรจง โสดาดี คณะพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ในส่วนวิชาเทศกาลและพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา ให้กระผม / อาตมภาพ ไดล้ งพนื้ ที่หม่บู า้ นพนู ทราย หมู ๙ ตำบลบ้านชบ อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์ เพือ่ เก็บขอ้ มลู ทางกายภาพขององคป์ ราสาทยายเหงา และขอ้ มลู ทัว่ ไปของหมู่บา้ น รวมถงึ สภาพภมู ิประเทศ สภาพพ้ืนฐานทางจติ ใจของชาวบา้ นในเขตตำบล บ้านชบ อำเภอสงั ขะ และรายละเอยี ดในข้ันตอนการประกอบพิธกี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา รายงานการเก็บขอ้ มูลเร่ืองพธิ กี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงานี้ กระผม / อาตมภาพ มีความยินดีย่งิ หากขอ้ มลู ท้ังหลายนี้จกั เปน็ ประโยชน์มีผู้ต่อยอดนำไปทำเปน็ งานวจิ ยั เพอ่ื การศกึ ษา ซงึ่ พิธกี รรมอนั ทรงคุณคา่ ด้วยภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินเพ่อื รักษาขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดีงามของ ประเทศชาติสบื ต่อไป พระวิโรจน์ สจุ ติ โฺ ต. / เอ่ียมคำ นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง ๑ ๓ ๑. สภาพโดยทว่ั ไปของตำบลบา้ นชบ อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสรุ ินทร์ ๕ ๒. ประวตั ิและความเปน็ มาของปราสาทยายเหงา ๖ - ๑๑ ๓. ความเปน็ มาของพธิ กี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา ๖ ๔. ขนั้ ตอนและลำดับพธิ กี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา ๗ ๘ - การเตรยี มการระดับอำเภอและระดบั ตำบล ๘ - การประสานงานของหนว่ ยงานราชการ ๘ - การเตรียมสถานท่ีและพัฒนาบริบทโดยรอบ ๙ - การเหน็ ความสำคญั และใหค้ วามร่วมมือของคนในชมุ ชน ๙ - การเตรียมสถานทกี่ ่อนวนั บวงสรวง ๑๐ - การเตรียมวสั ดุอปุ กรณเ์ พื่อประดบั และตกแตง่ สถานที่ ๑๑ - การเตรียมวัสดอุ ปุ กรณเ์ พ่ือเซ่นไหว้ ๑๑ - การเตรยี มบคุ ลากรสนั ทนาการและวงดนตรเี พ่ือรำถวาย ๑๑ - การเตรียมพราหมณ์เพอื่ ทำหน้าทบ่ี วงสรวง ๑๒ - ๑๓ - การกำหนดวนั และเวลาในการบวงสรวง ๑๒ - ลำดบั พิธกี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา ๑๓ ๕. อิทธิพลของเทศกาลและพธิ ีกรรมพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย ๑๔ - ด้านความเช่ือและจติ ใจ ๑๕ - ด้านวัฒนธรรมและประเพณี ๑๖ - ด้านสงั คมและการปกครอง ๑๗ - ดา้ นเศรษฐกิจ ๑๗ - ดา้ นการศึกษา ๑๘ - ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. บุคคลผู้ให้ข้อมูล ๗. เอกสารอา้ งอิง

๑ สภาพโดยทวั่ ไปของตำบลบา้ นชบ อำเภอสงั ขะ ตำบลบา้ นชบ ได้รบั การจัดตั้งเป็นตำบจลเงั มห่อื ปวี พัด.ศส.25รุ 2ิน9 ทโดรย์แยกออกมาจาก ตำบลสังขะ อำเภอ สังขะ จงั หวดั สุรินทร์ อยู่ภายในเขตการปกครองของอำเภอสังขะ จงั หวดั สรุ ินทร์ เดมิ ในพืน้ ท่บี ้านชบ หมู่ 1 มีกอไผเ่ ปน็ จำนวนมากและมีธารน้ำไหลผา่ นทำให้เกิดความรม่ ร่ืนและเย็นสบาย โดยคำว่า “ชบ” มาจาก ภาษาทอ้ งถนิ่ (ภาษาเขมร) มีความหมายว่า “หยุด” ให้ความหมายโดยรวมได้ว่า ผใู้ ดผ่านท่ไี ป - มา ตอ้ ง หยุดพัก ณ ที่แห่งนี้ เพราะเป็นท่ใี หแ้ ตค่ วามร่มรน่ื และเยน็ สบาย จำนวนหมู่บ้าน มี 12 หมู่บา้ น หมู่ที่ ชื่อหมูบ่ า้ น 1 บ้านชบ 2 บ้านไทยสมบูรณ์ 3 บา้ นศาลา 4 บ้านชำสมงิ 5 บ้านโพนชาย 6 บา้ นตะกอยอด 7 บา้ นโชคชัย 8 บา้ นศาลาสามัคคี 9 บา้ นพนู ทราย 10 บา้ นโชคชัยสามัคคี 11 บา้ นหนองโพน 12 บ้านทุ่งมะออม ระบบการศกึ ษาตำบลบา้ นชบ แยกเปน็ (1) ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ 4 ศนู ย์ ขององค์การบริหารสว่ นตำบลบา้ นชบ ดังนี้ - ศูนย์บา้ นโชคชยั - ศูนยบ์ ้านศาลาสามัคคี

๒ - ศูนย์บ้านโพนชาย - ศนู ยบ์ ้านชำสมงิ (2) โรงเรยี นประถม 4 แหง่ ดังนี้ - โรงเรยี นบา้ นไทยสมบรู ณ์ - โรงเรียนบ้านศาลาสามัคคี - โรงเรยี นบา้ นโพนชาย - โรงเรียนบ้านชำสมิง (3) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ขยายโอกาส) มี 1 แหง่ คอื โรงเรียนบา้ นศาลาสามคั คี (4) ระดับอาชีวศกึ ษา 1 แห่ง คอื วทิ ยาลยั การอาชพี สงั ขะ (5) ขอ้ มูลข่าวสารของแต่ละหมบู่ ้าน แผนทีต่ ำบลบ้านชบ

๓ ประวตั แิ ละความเปน็ มาของปราสาทยายเหงา ตำนานปราสาทยายเหงา สมัยก่อนมีคุณยายคนหน่งึ สามีไปออกศกึ สงครามนานนมก็ไมไ่ ดก้ ลบั มาสักที ยายอยรู่ อทบ่ี ้านก็ เลยสรา้ งปราสาทคอย แตไ่ มป่ รากฏว่ายายได้พบกบั ตาหรือไม่ และปราสาทก็ดเู หมอื นจะสรา้ งไม่แลว้ เสรจ็ ตำนานนี้เปน็ เพยี งเรอื่ งเลา่ ตอ่ ๆ กันมา ท่ีตง้ั บา้ นพนู ทราย ตำบลบ้านชบ อำเภอสงั ขะ ห่างจาก ท่ีวา่ การอำเภอ ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ ประมาณ 4 กโิ ลเมตร อยูร่ มิ ถนน สายโชคชัย - เดชอดุ ม (ทางหลวงหมายเลข 24) ระหวา่ งหลกั กโิ ลเมตร ท่ี 189 - 190 จะมีปา้ ย บอกทาง จากถนนใหญ่เขา้ ไป เป็นทางคอนกรตี ปนทรายประมาณ 800 เมตร ลกั ษณะปราสาท ปราสาทยายเหงาเปน็ ปรางค์กอ่ ดว้ ยอฐิ ๓ หลัง สร้างเมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 16-17 ปจั จุบันปราสาทยายเหงาไดร้ ับการบูรณะ ขุดแต่งแล้วเสรจ็ ตามโครงการเมื่อไมน่ านมานี้ ปัจจบุ นั เหลอื อย่เู พยี ง ๒ หลัง ตง้ั เรียงกันในแนวทศิ เหนอื -ใต้ บนฐานศลิ าแลงแยกกนั ปรางค์ท้ัง ๒ หลงั มีแผนผงั เป็น รปู สหี่ ลีย่ มจตรุ สั ย่อมมุมไมย้ สี่ บิ ขนาด ๕.๒๐ x ๕.๒๐ เมตร มีประตูทางด้านทิศตะวันออกทางด้าน หน้าประตเู ดยี ว ส่วนยอดทำเป็นชนั้ หลงั คาซอ้ นกนั ข้ึนไปเปน็ ทรงพมุ่ ที่หนา้ บนปรางคป์ ระธานจำหลกั เป็นรปู “มกร” (สตั ว์ผสมระหวา่ ง สิงห์ ชา้ ง และปลา) คาบนาค ๕ เศียร เปน็ ศิลปะตามแบบขอมนคร วัด จากลักษณะ แผนผงั ของอาคาร ปราสาทยายเหงา นา่ จะประกอบดว้ ย ปรางค์ 3 องค์ ตงั้ เรยี ง กัน แตป่ จั จุบนั เหลอื เพยี ง 2 องค์เทา่ นนั้ ภายในบรเิ วณปราสาท พบกลบี ขนนุ ยอดปรางค์ เสาประดบั กรอบประตู ฯลฯ แกะสลกั จากหนิ ทราย จดั แสดงไว้ อย่างเปน็ ระเบยี บ บรเิ วณด้านหนา้ ปราสาท

๔ ภาพถ่ายปราสาทยายเหงา ก่อนการบรู ณะปฎสิ งั ขรณ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ภาพถ่ายปราสาทยายเหงา หลงั การบูรณะปฎสิ ังขรณ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕

๕ ความเปน็ มาของพิธกี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา พิธีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงาเกิดจากความเกรงกลัวตอ่ อานาจลกึ ลับเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านจงึ จดั พธิ กี รรมบวงสรวงเพื่อเอาใจและคาดหวงั ว่าจะมสี ง่ิ ตอบแทนคือ ฝนตกตอ้ งตาม ฤดูกาล ปราศจากอนั ตรายและโรคภัยอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขเมื่อทกุ ส่ิงเปน็ ไปตามความ คาดหวงั กจ็ ดั พธิ กี รรมบวงสรวงเพื่อแสดงความกตัญญรู ูค้ ณุ ต่อดวงวิญญาณของยายเหงาซ่ึงสิงสถติ อยใู่ นปราสาทยายเหงา ผนู้ ำประกอบพิธีกรรมได้แก่ พระสงฆ์และปราชญท์ ้องถนิ่ ผูเ้ ขา้ รว่ มไดแ้ ก่ ประชาชนทัว่ ไป บคุ ลากรภาครัฐและเอกชน นกั ท่องเท่ียว สิง่ ของทีใ่ ช้ประกอบพธิ ีกรรมได้แก่ ธูป เทียน บายศรี ข้าวตอก ดอกไม้ ต้นกลว้ ย ต้นออ้ ย เครอื่ งเซน่ บูชาได้แก่ หวั หมู เป็ด ไก่ ขนมและผลไมต้ า่ ง ๆ เหล้าขาว นา้ อัดลม หมากพลู บทบาทของพธิ ีกรรมทำให้เกิดความรว่ มแรงรว่ มใจของคนในชุมชน สร้างความสามัคคปี รองดอง อยู่ร่วมกนั อย่างมีความสขุ คณุ คา่ ของพธิ ีกรรมก่อให้เกดิ การหลอ่ หลอมจติ ใจใหเ้ ป็นอนั หนึ่งเดยี วกนั ส่งผลใหช้ าวบา้ นพูนทรายไดส้ รา้ งวถิ ีชวี ติ ชุมชนใหม้ คี วามม่ันคง และเขม้ แข็งขึน้

๖ ขน้ั ตอนและลำดบั พธิ กี รรมบวงสรวงปราสาทยาย เหงา การเตรยี มการในระดบั อำเภอ 1. ทีว่ า่ การอำเภอสังขะ ทางท่วี า่ การอำเภอสงั ขะ ไดม้ คี ำสง่ั ใหฝ้ า่ ยปกครอง คือ กำนนั และผูใ้ หญ่ทง้ั ๑๒ หมบู่ า้ นเปน็ แกนนำในการประชาสมั พันธ์ ตลอดจนถงึ การเปน็ ผูน้ ำชาวบ้านเข้ามาพฒั นาพนื้ ที่ บริบทรอบ ๆ ปราสาทยายเหงาในชว่ งตน้ เดือนเมษายนของทกุ ปี 2. องค์การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบ้านชบ) ทางองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบา้ นชบ ไดเ้ ห็นความสำคญั ของการพฒั นาสภาพพ้ืนทแี่ ละ การจดั พธิ ีกรรมบวงสวงปราสาทยายเหงา จงึ ไดม้ ีวาระการประชุมในเรือ่ งนใ้ี นทป่ี ระชมุ องคก์ าร บรหิ ารส่วนตำบลบ้านชบ โดยการจดั สรรงบประมาณและบคุ ลากร การจดั หาวัสดุอปุ กรณ์ ตัง้ แตเ่ ข้าไปรว่ มพฒั นาพน้ื ท่ี จนกระทง่ั ดำเนนิ การพธิ กี รรมการบวงสรวงปราสาทยายเหงาเสร็จ เรียบร้อย เปน็ ประจำทกุ ปี การเตรยี มการในระดบั ตำบล ในท่ปี ระชุมสภาตำบล ทางกำนัน ผ้ใู หญ่บ้าน ผู่ช่วยผ้ใู หญบ่ า้ น สารวัตรกำนัน นักปราชญช์ มุ ชนตลอดจนถงึ บุคลากรที่เกีย่ วขอ้ ง ทัง้ ๑๒ หมูบ่ ้าน ไดร้ ว่ มปรึกษาหารอื และ มมี ติในทปี่ ระชุมเพ่อื มอบหมายให้นายเสรชี ยั สะอิง้ ทอง ผู้ใหญบ่ ้านพูนทราย หมู่ท่ี ๙ ตำบลบา้ นชบ เปน็ ผ้จู ัดการในการประชาสมั พันธส์ ร้างความรู้ความเขา้ ใจและวิธีทางปฏบิ ตั ิ ใหถ้ กู ต้องตามหลักของการจัดพธิ ีกรรมการบวงสรวงปราสาทยายเหงามาแตบ่ รรพบุรษตอ่ ชาวบ้าน การประสานงานต่อองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบ้านชบ ในการนำชาวบา้ นเขา้ ร่วม พัฒนาบริบทจดั เตรยี มสถานที่ บุคลากร วัสดอุ ุปกรณใ์ หพ้ รอ้ มในแตล่ ะขนั้ ตอนของ พิธีกรรมการบวงสวงปราสาทยายเหงา

๗ การประสานงานกับหน่วยงานราชการ ๑. กรมศลิ ปากร อำเภอสังขะและองคก์ ารบริหารส่วนตำบลบ้านชบ ไดข้ ออนญุ าตตอ่ สำนัก ศิลปากรท่ี ๑๐ จังหวัดนครราชสมี า สังกดั กรมศิลปากร เพือ่ จดั เตรยี มสถานที่ พฒั นาบริบทรอบ ๆ ตัวปราสาท และพิธกี รรมการบวงสรวงปราสาทยายเหงา ๒. สำนกั วัฒนธรรมจังหวดั สุรินทร์ อำเภอสงั ขะ ไดป้ ระสานงานต่อสำนักวฒั นธรรมจงั หวัดสรุ นิ ทร์ ในการจดั พิธี กรรมการบวงสรวงปราสาทยายเหงา เพื่อรับคำแนะนำในวิธีการปฏิบัติตอ่ องคป์ ราสาท ในชว่ งแรกของการเตรียมพืน้ ท่ี เช่น การเซ่นไหว้บอกกล่าว การละเว้นในสว่ นหรือ บรเิ วณขององคป์ ราสาทบางส่วนไวโ้ ดยไมส่ มควรเขา้ ไปสัมผสั หรือเคล่ือนย้ายตามคติ ความเช่อื ตัง้ แต่บรรพบรุ ุษสบื ต่อกนั มา ตลอดจนลำดับพธิ กี รรมการบวงสรวงและ การละเล่นในแตล่ ะขน้ั ตอนวา่ สมควรทำสิ่งใดกอ่ นหลงั

๘ การเตรยี มสถานทแี่ ละพัฒนาบรบิ ทโดยรอบ ได้รบั ความอนเุ คราะห์จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบ้านชบ ในการจัดหารถแทรกเตอร์เพื่อ ปรบั ปรงุ ระดบั พ้นื ดนิ การตดั แตง่ กง้ิ ไมท้ ่ีบดบงั ทศั นยี ภาพในการจัดงานบวงสรวงโดยกำลังคนงาน บางสว่ นองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบา้ นชบไดจ้ ดั คณะปฏบิ ตั งิ านเฉพาะกจิ ข้นึ เพ่อื ความสะดวกเรียบรอ้ ย กอ่ นถงึ ชว่ งวนั เวลาจดั พธิ ีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา การเห็นความสำคญั และใหค้ วามร่วมมอื ของคนในชุมชน เหงา เมือ่ ทราบกำหนดการและรายละเอยี ดเกี่ยวกบั พธิ ีกรรมบวงสรวงปราสาทยายเหงาแลว้ เมอื่ ถงึ วนั และเวลาท่ีผู้ใหญ่บา้ นพนู ทรายประชาสัมพนั ธน์ ดั หมายแล้ว ชาวบ้านพนู ทราย หมู่ ๙ และหมบู่ า้ น ใกลเ้ คยี งลว้ นใหค้ วามร่วมมอื กนั ถว้ นหนา้ กอรปกับชาวบา้ นในเขตตำบลบา้ นชบ แตเ่ ดิมลว้ นมคี วาม เคารพศรัทธาตอ่ องคป์ ราสาทยายเหงาเสมอมาตง้ั แต่ครงั้ บรรพบรุ ษุ การเตรียมสถานทีก่ อ่ นวันบวงสรวง องคก์ ารบรเหิ หารงส่วานตำบลบา้ นชบไดว้ างผงั ในการจดั งาน โดยจัดหาเต็นท์ โต๊ะวาง เคร่ืองเซน่ บวงสรวง เกา้ อพี ลาสติก การประดบั ผ้าแพรหลากสสี ลบั กับผา้ ทอพื้นเมอื งตามจุดทส่ี ำคัญ

๙ การเตรียมวสั ดุอุปกรณเ์ พอื่ ประดบั และตกแต่ง สถานท่ี มกี ารประดับผา้ แพรหลากสสี ลับกับผ้าทอพืน้ เมอื ง จดั ดอกไมห้ ลากสตี ามจดุ ตา่ ง ๆ ตลอดจนถงึ เวทกี ารประกวดและการละเลน่ รน่ื เรงิ เภายหลงั จากท่ีพธิ กี รรมบวงสรวงเสร็จลว่ งแลว้ การเตรียมวัสดุอปุ กรณ์เพ่อื เซน่ ไหว้ กล่มุ แม่บา้ นได้รับมอบหมายใหจ้ ดั ทำบสายถศราีพนญานาค โดยใชผ้ ู้มีอายทุ มี่ ีความสามารถเปน็ ผูน้ ำ คณะกลุม่ แมบ่ ้านในการเย็บประกอบบายศรี การเตรยี มอาหารหวานคาวเครอ่ื งมจั ฉะมงั สาหาร เชน่ หัวหมจู ำนวน ๑๒ หวั (ตามจำนวน หมูบ่ ้านในตำบลบา้ นชบ) ปลาน่ึง ผลไมม้ งคลทมี่ ีในทอ้ งถิ่น

๑๐ การเตรียมบุคลากรสันทนาการและวงดนตรเี พอื่ รำถวาย องค์การบริหารส่วนตำบลบา้ นชบได้ติดตอ่ คณะแม่หมอนำ้ ผึง้ เมืองสรุ ินทร์ เป็นผ้นู ำคณะ นางอัปสราในการรำถวาย หรอื คณะรำถวายจากการฝกึ ซ้อมของโรงเรียนบา้ นศาลาสามคั คี นอกจากน้ันแล้วยังมคี ณะนางรำด้วยการแตง่ กายด้วยชุดพนื้ บ้านของชาวไทยส่วยในบางปอี กี ด้วย

การเตรยี มพราหมณ์เพ่อื ทำหน้าทบ่ี วงสรวง ๑๑ พราหมณ์ท่ีทำหนา้ ท่ีในการบวงสรวง ทางหมบู่ ้านพูนทรายไดม้ อบหมายใหน้ ายเมี้ยน บุญ ธรรม ชาวบ้านพนู ทราย หมู่ ๙ ซ่ึงเป็นนักปราชญช์ มุ ชนมีอาชพี เป็นหมอพราหมณป์ ระกอบพิธีทำ ขวญั นาค ขวัญบ่าวสาว ประจำหมู่บา้ นเป็นพราหมณ์ท่ที ำหนา้ ที่ในการบวงสรวงปราสาทยายเหงา การกำหนดวันและเวลาในการบวงสรวง ทางองคก์ ารบริหารส่วนตำบลบา้ นชบได้กำหนดวันและเวลาในการประกอบพธิ ีกรรม บวงสรวงปราสาทยายเหงา ในชว่ งวนั ท่ี ๑๓ เมษายนของทุกปี ลำดับพธิ กี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา - เวลา ๐๘.๐๐ น. พธิ ถี วายสังฆทานต่อคณะสงฆต์ ำบลบา้ นชบ - เวลา ๐๙.๐๐ น. พธิ ีบวงสรวงปราสาทยายเหงา - เวลา ๑๐.๐๐ น. พิธีรำถวายตอ่ องค์ปราสาทยายเหงา - เวลา ๑๒.๐๐ น. ลาเครือ่ งเซน่ ไหว้ และรบั ประทานอาหารร่วมกนั

๑๒ อิทธิพลของเทศกาลและพธิ ีกรรมพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทย ดา้ นความเชอื่ และจิตใจ สังคมไทย ชาวบา้ นในเขตตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ ความคารพศรัทธาตอ่ องคป์ ราสาทยาย เหงามีความเชอื่ กันสบื ตอ่ กันมาแตค่ ร้ังบรรพบรุ ษว่า หากไดท้ ำการกราบไหวเ้ ซน่ สรวงบชู า องคป์ ราสาทยายเหงาเป็นประจำทกุ ปีแลว้ สามารถขอพรได้ทุกส่ิงอนั เป็นมงคล เชน่ ขอให้ ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ให้ผลผลติ เต็มเมล็ดเต็มหนว่ ย ขอพรใหล้ กู หลานหายโรคภัยไข้ เจบ็ ทีร่ ักษาไม่หาย ขอพรให้ลกู หลานสุขภาพแขง็ แรงมสี ุขภาพพลานมัยแขง็ แรงสมบูรณ์ หากลูกหลานเตบิ โตข้ึนมาแล้วขอใหเ้ ป็นคนดี เรยี นเก่ง ปญั ญาดี มีอาชีพสุจริต มบี ญุ วาสนา สอบได้งานท่สี มควรแก่การศกึ ษา อนึง่ ในพธิ กี รรมการบวงสรวงสรวงปราสาทยายเหงานน้ั มนี ัยวา่ เปน็ การแสดงความ กตญั ญกู ตเวทีตอ่ ส่ิงศักด์ิสทิ ธ์ทิ ั้งหลายที่สงิ สถติ ยอ์ ยู่ ณ องค์ปราสาทยายเหงา ซง่ึ ท่าน ทัง้ หลายเหลา่ น้นั คอยอภิบาลประทานพรรกั ษาชาวตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ ให้อยูร่ ่มเย็น เปน็ สุข เป็นทพี่ ึ่งทางด้านจิตใจของชาวบ้านเสมอมา

๑๓ ดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี ก่อนถงึ วนั บวงสรวงสรวงปราสาทยายเหงา กำนันและผูใ้ หญบ่ ้านได้ประชาสัมพนั ธใ์ หผ้ ู้ มารว่ มงานมีการแตง่ กายด้วยชดุ ผ้าไหมผ้าทอลายพน้ื บ้าน ผ้าถงุ และโสรง่ ตามความนยิ มในการ แตง่ กายพน้ื บา้ นของชาวไทยส่วย ทางด้านกำนันและผู้ใหญ่บ้านมีการประชมุ เพอื่ ปรึกษาหารือเรอ่ื งของเซน่ ไหว้ท่ีเหมาะสม เช่นผลไม้มงคลตามฤดกู าลท่หี าไดใ้ นทอ้ งถนิ่ หวั หมูตอ้ งเปน็ หมูที่ไม่ตัง้ ท้องและมลี ูกออ่ นเดด็ ขาด จำนวนหวั หมนู ับได้เท่ากับจำนวน ๑๒ หัว ซึง่ เท่ากบั จำนวนหมบู่ า้ นทง้ั ๑๒ หมู่บ้านในเขตตำบล บ้านชบ อำเภอสงั ขะ มนี ัยว่าชาวไดถ้ วายหัวหมเู ป็นเครื่องเซ่นสรวงบูชา ดุจดง่ั ชาวบ้านทกุ หมบู่ ้าน ได้ถวายศรีษะของตนอันเปน็ ท่รี วมของความเชอ่ื ความเคารพศรัทธาความจงรักภกั ดีท้งั หมดท่ี ตนเองมตี อ่ องค์ปราสาทยายเหงา

๑๔ ด้านสงั คมและการปกครอง ปราสาทยายเหงาเปน็ ศนู ย์รวมของจติ ใจ เป็นทพ่ี ่ึงทางดา้ นจิตวญิ ญาณของชาวบา้ นในเขต ตำบลบา้ นชบ อำเภอสังขะ มาเป็นเวลานานแตค่ รง้ั บรรพบรุ ุษ มีประวัตศิ าสตร์ร่วมสมัยกบั พระยา เชียงฆะบรุ ีศรนี ครอัจจะ เจา้ เมืองสังขะ ซ่ึงเป็นบรรพบุรุษของชาวสว่ ย ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๓๐๖ – ๒๓๒๑ ในรชั กาลพระที่นงั่ สุริยามรนิ ทร์ กรุงศรีอยุธยา ทางด้านนายเสรชี ัย สอิง้ ทอง ผู้ใหญบ่ ้าน พูนทรายหมู่ ๙ ผใู้ ห้ขอ้ มูล ได้สนั นิษฐานวา่ เมื่อพระยาเชียงฆะบรุ ีศรนี ครอัจจะ เจา้ เมืองสงั ขะ จะออกไปจบั ช้าง หรอื ก่อนไปราชการตา่ งท้องที่จะตอ้ งพาไพรพลและชาวเมอื งมากราบไหว้เซน่ สรวงบชู าขอพรอันเปน็ มงคลตอ่ องคป์ ราสาทยายเหงากอ่ นทุกครงั้ สังเกตไดจ้ ากการ ประชาสมั พนั ธเ์ พื่อพฒั นาหมบู่ า้ นในแตล่ ะครง้ั ช้าวบ้านจะออกมาใหค้ วามร่วมมอื ในกิจกรรมเพียง ร้อยละ ๔๐ แตห่ ากคร้ังใดมีการประชาสัมพันธเ์ พอ่ื พัฒนาบรบิ ททำความสะอาดรอบ ๆ องค์ ปราสาทยายเหงาแล้วชาวบ้านจะออกไปรว่ มกิจกรรมเพ่มิ ขึน้ ถงึ รอ้ ยละ ๗๐ ของจำนวนประชากร ของหมบู่ า้ นพนู ทราย หมู่ ๙ ตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ

๑๕ ด้านเศรษฐกจิ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบ้านชบได้จดั สรรงบประมาณเพอื่ เตรียมการในการพัฒนาพื้นท่ี ทำความสะอาด ตัดหญ้า ปรับปรุงถนนที่ใช้สัญจรรอบ ๆ องค์ปราสาทยายเหงาก่อนจัดพิธีกรรม บวงสรวงปราสาทยายเหงาลว่ งหนา้ ประมาณครึ่งเดือน และ ก่อนวันจัดงานประมาณ ๑ สปั ดาห์ ไดม้ กี ารจ้างแรงงานจากคนในหมู่บา้ นพนู ทรายและหมบู่ า้ นใกลเ้ คียง ในการเตรียมบายศรี ดอกไม้ประดบั บชู า ไดจ้ ัดจ้างชาวบา้ นกลุ่มแมบ่ า้ นที่ได้รับมอบหมาย ใหจ้ ัดทำบายศรีพญานาค โดยใชผ้ มู้ ีอายทุ ม่ี คี วามสามารถเปน็ ผนู้ ำคณะกลุ่มแมบ่ า้ นในการเยบ็ ประกอบบายศรี และ รับซือ้ ดอกไม้ ใบตอง ต้นกล้วย จากชาวบ้านท่ีปลูกไวต้ ามครัวเรือน

๑๖ ด้านการศกึ ษา โรงเรียนในเขตตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ เช่น โรงเรยี นบ้านชำสมิง โรงเรยี นไทยสมบรู ณ์ โรงเรียนศาลาศามคั คี และโรงเรยี นบ้านโพนชาย ได้มีโอกาสในร่วมพฒั นาพนื้ ที่เพอื่ เตรยี มจัดงาน และร่วมศกึ ษาดงู านในวนั งานท่ีจัดพิธกี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงา เดก็ และเยาวชนผู้เติบโตมาพอที่จะมวี ยั วฒุ สิ มควรแกก่ ารเรียนร้วู ัฒนธรรมประเพณที ้องถิน่ ดงั เชน่ พิธกี รรมบวงสรวงปราสาทยายเหงาน้ี ไดซ้ ึมซับความเคารพศรัทธาความเช่อื จากผู้ปกครอง ที่ใกลช้ ิดพ่อแม่ปยู่ ่าตายายโดยจะตดิ ตามพอ่ แมป่ ู่ย่าตายายมาดว้ ยในวันเตรียมพื้นท่ี สถานท่ี และ ในวันจดั พธิ ีกรรมบวงสรวงปาสารทยายเหงา ไดเ้ รียนรู้ดว้ ยประสบการณ์จากการร่วมพิธีบวงสรวง การอ่านโองการของพราหมณ์ การถวายเครอ่ื งเซน่ สรวงบูชา การรา่ ยรำถวายดว้ ยชดุ แตง่ กาย เชน่ การร่ายรำของนางอัปสรา การรำถวายมือและการแต่งกายพน้ื บา้ นของชาวไทยสว่ ย อกี ประการ หนง่ึ ผูท้ เ่ี ปน็ เขยและสะใภ้ท่มี าจากตา่ งถ่ิน ก็ได้มีโอกาสมาร่วมงานและมกี ารเรียนรูด้ ้วย ประสบการณ์จริงจากการรว่ มพัฒนาพน้ื ท่ี การฟังข้อมูลการประชาสมั พนั ธข์ องผู้นำชุมชน และ รว่ มรบั ชมการแสดงการร่ายรำขับรอ้ งต่าง ๆ ในพิธอี ีกดว้ ย

๑๗ ด้านส่ิงแวดล้อม ชาวบ้านในเขตตำบลบา้ นชบทม่ี ีความเคารพศรทั ธาต่อองค์ปราสาทยายเหงาอยา่ งแนน่ แฟ้นมัน่ คงจะมีความช่นื ชมยินดี เม่อื มองเหน็ ทัศนยี ภาพอันเจรญิ ตา เมื่อมาเทย่ี วชมกราบไหวข้ อ พรและร่วมพธิ กี ารบวงสรวงปราสาทยายเหงา ดว้ ยอิทธพิ ลทม่ี ีผลต่อจิตใจดงั กล่าวจึงไม่มีบุคคลใด ทำสถานทใ่ี หส้ กปรก ไมม่ ีการทิง้ ขยะใหร้ กเปรอะเปร้อื น ไมข่ บั ถ่ายอจุ จาระและปัสสาวะบริเวณ มณฑลพิธีทใี่ ช้ในพิธีกรรมการบวงสรวงปราสาทยายเหงา ผใู้ ห้ข้อมูล นายเสรชี ัย สอิ้งทอง ผใู้ หญ่บา้ นพูนทราย หมู่ ๙ ตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ จังหวัดสรุ นิ ทร์ ๓๒๑๕๐ โทร. ๐๖๑ - ๑๒๓ – ๘๑๘๒

๑๘ เอกสารอ้างอิง 1. https://www.m-culture.go.th/surin/ewt_news.php?nid=1899&filename=index 2. https://thailandfestivals.net/views/36 3. https://pubhtml5.com/iytc/yfnx/basic 4. http://isan.tiewrussia.com/khom/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AA% E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB %E0%B8%87%E0%B8%B2/ 5. http://banchop.go.th/2022/ 6. http://r03.ldd.go.th/mis/main/sr/SR_10.html 7. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B 8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0% B8%87%E0%B8%B2 8. https://www.m-culture.go.th/surin/images/santak.pdf 9. https://www.m-culture.go.th/surin/images/pw.pdf 10. file:///C:/Users/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B 9%88%E0%B8%AD/Downloads/jhssrru,+Journal+editor,+16+- %E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8 1%E0%B8%A9%E0%B9%8C++%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B 8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A.pdf 11. https://district.cdd.go.th/sangkha/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E 0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B8 %E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3/%E0%B8%9B%E0%B8% A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8 %A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B 8%A1%E0%B8%B2/