Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทร้อยกรอง

Description: บทร้อยกรอง

Search

Read the Text Version

ท่ีมา : เสน่ห์ของภาษาไทย นอกจากจะมีเสียงที่ไพเราะคล้ายเสียงดนตรีแล้ว คา ที่ใช้เพื่อส่ือสารกันอย่างสัมผัสและคล้องจองในชีวิตประจาวัน ก็มีเสน่ห์ไม่แพ้กัน จนอาจกล่าวได้ว่า ภาษาไทยเป็นอีกภาษาหนึ่งของโลก ท่ีเปล่งเสียงพูดได้ไพเราะราบรื่น ด้วยคาที่คล้องจองกัน ด้วยสานวนโวหารท่ีคมคาย งดงาม แพรวพราวจนเป็นท่ีมาของ คาว่า “เจ้าบทเจ้ากลอน” ซ่ึงหมายถึงผู้ท่ีชอบพูดเป็นโคลงกลอน หรือถ้อยคาที่ คล้องจองกัน ส่ิงเหล่านี้เป็นมรดกตกทอดทางวัฒนธรรมของภาษาจากในอดีตจนถึง ปัจจุบัน ดังน้ันเพ่ือธารง ส่งเสริมความเป็น “เจ้าบทเจ้ากลอน” ให้คงอยู่ และเพื่อพัฒนา ทกั ษะความสามารถในการกลอน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

คณุ ค่าของบทร้อยกรอง “บทร้อยกรอง” เป็นงานเขียนท่ีแสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ความรู้ และประสบการณ์ ของผู้เขียนท่ีได้ส่ังสมมา โดยถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาของกวี ท่ีไพเราะ มีความหมายลึกซึ้ง กินใจ ก่อให้เกิดคุณค่าทั้งต่อผู้เขียน ผู้อ่าน และสังคม ซึง่ สรุปได้ ดังนี้ ๑. คุณคา่ ต่อผเู้ ขียน ผู้เขยี นยอ่ มจะภาคภมู ิใจท่ตี นสามารถใช้ภาษากวที ่ีไพเราะ มคี วามหมาย มาเป็นสื่อ ในการบอกเรือ่ งราว บอกเลา่ ความรู้สึกนึกคิด หรือความต้องการได้จนสาเร็จ ถือเป็นสิ่งที่ มคี ่าย่งิ นัก และอาจพิมพเ์ ผยแพร่ ทาใหม้ ีชือ่ เสยี งเป็นทย่ี อมรับต่อไป

๒. คุณคา่ ตอ่ ผูอ้ า่ น การอ่านบทรอ้ ยกรอง เป็นวธิ ีหน่ึงทจ่ี ะชว่ ยเสริมสร้างปัญญาแก่มนุษย์ ช่วยให้รู้จัก ผอู้ ่ืน และนาความคิดท่ีได้จากการอ่านมาปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น และอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข นอกจากน้ี การอ่านบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า จะช่วยปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด หรอื จนิ ตนาการที่ดงี าม ชว่ ยให้เกิดความเพลดิ เพลนิ เปน็ การใหอ้ าหารใจทีด่ ีแก่ผอู้ ่าน ๓. คุณค่าตอ่ สงั คม เม่ือพิจารณาโดยส่วนรวมแล้ว บทร้อยกรองย่อมนามาซึ่งสันติสุขแก่สังคม และต่อโลก เพราะบทร้อยกรองช่วยสร้างจินตนาการที่ดีงาม กว้างไกล ทาให้จิตใจ ละเอียดอ่อน เห็นใจเพ่ือนมนุษย์ทาให้มองโลกในแง่ดี มีความคิดสร้างสรรค์ อันจะนามาซ่งึ ความเจริญรุ่งเรืองและความสงบสุขต่อสังคมโลก นับเป็นคุณค่าสูงสุดของ บทร้อยกรอง

ข้อปฏิบตั ใิ นการเขยี นบทรอ้ ยกรอง คนไทยได้ชื่อว่า เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน มีสายเลือดนักกลอนอยู่ในตัว จึงไม่ใช่ เรื่องยากท่ีจะเขียนบทร้อยกรอง แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายนัก จึงควรทราบข้อปฏิบัติที่ดีในการ เขียนบทรอ้ ยกรอง ดังนี้ ๑. สนใจบทร้อยกรองอยา่ งจรงิ จัง การจะเขียนบทรอ้ ยกรองให้ได้ดีน้ัน ผู้เขียนจะต้องสนใจอย่างจริงจัง โดยต้องอ่าน และศึกษาหาความรู้เก่ียวกับการเขียนบทร้อยกรองอย่างละเอียด ซ่ึงถ้าจะให้ดีสาหรับ การอ่าน ในแต่ละครั้งน้ันควรบันทึกตัวอย่างสานวนดี ๆ ไว้ด้วย เพื่อเป็นแนวทางในการ เขยี นตอ่ ไป

๒. ศึกษาฉันทลกั ษณ์และศิลปะการแตง่ ฉันทลักษณ์หรือลักษณะบังคับ เป็นพ้ืนฐานสาคัญของการแต่งบทร้อยกรอง ซ่ึงผู้แต่ง จะผิดพลาดไม่ได้ เม่ือมีความแม่นยาในฉันทลักษณ์แล้วก็สามารถจะสร้างงานและมีความ ชานาญในการเขียนแต่งบทร้อยกรองได้ตามต้องการ นอกจากน้ันการศึกษาศิลปะการแต่ง ของผู้อ่ืน สังเกตกลวิธีในการเขียนของผู้อื่น จะทาให้มองเห็นจุดเด่นจุดด้อยและนามาใช้ ในการพัฒนาการเขียนของตนเองไดอ้ ยา่ งดี ๓. รวบรวมคาไวใ้ ช้ ผทู้ ต่ี อ้ งการเขียนบทร้อยกรองให้ได้ดีน้ัน จะต้องร่ารวยคา ต้องศึกษาและประมวลคา เพื่อให้สามารถเลือก วิเคราะห์ และนามาใช้ในการแต่งบทร้อยกรองได้อย่างเหมาะสม เช่น คาทมี่ คี วามหมายเหมอื นกนั คล้ายกนั ตรงข้ามกัน คาที่เปน็ กลุ่มพวกเดยี วกัน คาสัมผัสคล้อง จองกัน ถอ้ ยคาสานวนโวหารและสภุ าษติ ตา่ งๆ เปน็ ตน้

๔. รจู้ กั สังเกต ความช่างสังเกตจะช่วยให้พบเห็นความงามตามธรรมชาติ ทาให้เข้าใจวิถีชีวิต ของคน สัตว์ และสรรพส่ิงได้อย่างละเอียด ลึกซ้ึง ซึ่งจะนามาเป็นวัตถุดิบในการเขียนได้ เปน็ อย่างดี ๕. มคี วามกลา้ พยายาม และอดทนที่จะเขียน ผทู้ ี่จะแตง่ บทร้อยกรองให้ได้ดีน้ัน ต้องมีความกล้าและขยันที่จะเขียน จึงจะช่วยให้ เกิดความชานาญ มีความม่ันใจในตนเอง จะต้องอดทนในการฝึกเขียน อดทนในการ รอคอยผลแห่งความสาเร็จ และอดทนต่อคาวิพากษ์วิจารณ์โดยไม่ย่อท้อหยุด เขียน เสยี กลางคนั “หากปฏบิ ตั ิได้ตามคาแนะนาที่กล่าวมาขา้ งตน้ ก็เชื่อว่าจะเปน็ ผปู้ ระสบผลสาเรจ็ ในการเขยี นบทรอ้ ยกรอง ได้อยา่ งงดงามและน่าภูมิใจ”

แนวทางการเขยี นบทรอ้ ยกรองท่ีดี ในการเขียนบทร้อยกรองน้ัน นอกจากการศึกษาฉันทลักษณ์ให้ชัดเจน แม่นยา และปฏิบตั ิตนตามขอ้ ปฏิบตั ทิ ่ีดขี ้างตน้ แลว้ เมื่อลงมือเขียนบทรอ้ ยกรองกม็ ีแนวทาง ดังน้ี ๑. วางโครงเรอ่ื ง ก่อนจะเขียนต้องกาหนดเน้ือหาท่ีจะเขียนและวางโครงเร่ืองให้ชัดเจน ว่าจะเขียน เรอ่ื งอะไร มีจุดม่งุ หมายอย่างไร จะเริ่มต้นอยา่ งไร ดาเนินเรือ่ งอย่างไร และจบเร่ืองอย่างไร ๒. ดาเนินเรือ่ ง ในการดาเนินเร่อื ง ควรคานึงถงึ สงิ่ ต่อไปน้ี ๒.๑ เร่ืองต้องมีความเป็นเอกภาพ คือ การดาเนนิ เร่ืองจะต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มใี จความสาคัญหรือจดุ มุง่ หมายอยา่ งเดียว กล่าวถึงเร่ืองใดก็ต้องอยู่ในขอบเขตของเร่ืองน้ัน ไม่เขยี นถึงเรอ่ื งอ่ืนท่ไี มเ่ กีย่ วข้องกนั

๒.๒ เร่ืองจะต้องมีสัมพันธภาพ คือ การดาเนินเรื่องจะต้องเก่ียวเนื่องเชื่อมโยงเป็น เรื่องราวเดียวกันโดยตลอด มีความเป็นเหตุเป็นผลสอดรับซ่ึงกันและกันตั้งแต้ต้นจนจบ เนอ้ื ความไม่กระโดดไปมา ๒.๓ มีจุดเน้นของเร่ือง คือ เน้ือหา ได้แสดงเรื่องราวและอารมณ์ของเร่ือง สามารถ โน้มน้าวให้ผู้อ่านมีความรู้สึกคล้อยตาม เกิดจินตนาการหรือเกิดความประทับใจอย่าง ชัดเจน ๓. ตรวจสอบและพฒั นาปรับปรงุ เม่ือเขียนบทร้อยกรองเสร็จแล้ว ต้องตรวจสอบผลงานที่เขียนเสมอ โดยตรวจสอบ ว่าถูกต้องตามฉันทลักษณ์หรือไม่ เน้ือหาของเร่ือง รวมถึงการใช้ถ้อยคาสานวนถูกต้อง ชัดเจนตามท่ีต้องการหรือไม่ การตรวจสอบนั้นอาจจะตรวจสอบด้วยตนเอง หรือให้ผู้อ่ืน ชว่ ยอ่านวิพากษ์วจิ ารณ์ เสนอแนะ แล้วนาข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะน้ันมาปรับปรุงแก้ไข ต่อไป

“บทรอ้ ยกรอง” ...ที่ว่าน้นั เปน็ ฉันใด...

๑. ความหมายของบทร้อยกรอง บทร้อยกรอง หมายถึง งานเขียนที่มีลักษณะบังคับในการแต่งให้มีคาสัมผัส คล้องจองกัน โดยกาหนดจานวนคา การสัมผัสและลักษณะบังคับอ่ืน ๆ ตามรูปแบบ ฉนั ทลกั ษณ์ของร้อยกรองแตล่ ะชนิด ทั้งน้ีในการเรียกช่ืองานเขียนประเภทน้ีนั้น นอกจากจะเรียกว่า “บทร้อยกรอง” แล้วอาจจะเรียกเป็นอย่างอื่น เช่น บทกลอน บทกวี กวีนิพนธ์ก็ได้ หรือ โคลงกลอน กาพย์กลอนก็มี โดยมีความหมายหรือ สื่อความหมายได้เช่นเดียวกับคา ว่า “บทร้อยกรอง”

๒. ประเภทของบทรอ้ ยกรอง แบง่ ตามลักษณะบงั คับได้ ๕ ประเภท คือ ๑. กลอน แบ่งย่อยเป็นกลอนสุภาพหรือกลอนแปด กลอนหก กลอนดอกสร้อย กลอนสักวา กลอนเสภา กลอนนิราศ กลอนเพลงยาว และกลอนเพลงปฏพิ ากย์ ๒. กาพย์ แบ่งย่อยเปน็ กาพยย์ านี กาพยฉ์ บัง กาพยส์ ุรางคนางค์ และกาพย์ขับไม้ ๓. โคลง แบง่ ยอ่ ยเปน็ โคลงสุภาพ โคลงดัน้ และโคลงโบราณ ๔. ฉันท์ แบ่งย่อยเป็นหลายชนิด เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ มาณวกฉันท์ อิทิสังฉันท์ จิตรปทาฉนั ท์ อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท์ วสันตดลิ กฉนั ท์ เป็นตน้ ๕. รา่ ย แบง่ ยอ่ ยเปน็ ร่ายสุภาพ ร่ายด้ัน ร่ายโบราณ และรา่ ยยาว นอกจากน้ี ยังมีคาประพันธ์ท่ีแต่งประสมกันแล้วเรียกชื่อเสียใหม่ เช่น ร่ายกับโคลง แต่งรวมกันเรียก “ลิลติ ” โคลงแต่งรวมกนั กบั กาพย์ เรยี ก “กาพยห์ อ่ โคลง” เป็นตน้

แบบฝึกทกั ษะการแต่งกลอน

แบบฝกึ ท่ี ๑ ที่ คา อ่านวา่ จานวนพยางค์ จานวนคา การแตง่ คาประพนั ธ์ ประเภทกลอนสภุ าพ ๑. เดิน เร่ือง คา พยางค์ ๒. อเนก คาชี้แจง ให้นักศกึ ษาเขยี นคาอา่ นจากคาท่ี ๓. พิธีกร กาหนดให้และบอกจานวนคาและพยางค์ ๔. เชษฐา ๕. สะอาด ตวั อยา่ ง สบาย อ่านวา่ สะ-บาย ออกเสียง ๖. โรงเรียน ๒ คร้ัง มี ๒ พยางค์ นับเปน็ ๑ คา ๗. กจิ กรรม ๘. ภาพยนตร์ ๙. รามเกียรต์ิ ๑๐. รบั ประทาน ๑๑. ฉันทลักษณ์ ๑๒. หลักภาษาไทย ๑๓. พระองค์ทา่ น ๑๔. พระนารายณ์ ๑๕. ประวตั ศิ าสตร์

แบบฝึกที่ ๒ การแต่งคาประพนั ธ์ ประเภทกลอนสภุ าพ เร่อื ง คา พยางค์ คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาทม่ี ีจานวนพยางค์ตามทก่ี าหนด แล้วเขียนลงในช่องว่างอยา่ งละ ๓ คา *ถ่นิ ทกั ษณิ ดนิ แดนแควน้ ศรีวชิ ัย เลิศวิไล เกริกไกร ไพศาลนานมา ลูกแมน่ า้ ตาปที ี่ชบู ชู า สญั ลักษณต์ รา พระสงั ฆราช มาดแม้นควงใจ เราร่วมสรา้ งสรรค์ ไม่พรั่นหว่นั ไหว แมม้ อี ปุ สรรคใดๆ ฝุาฟันมัน่ มุ่ง ชุมพู-เขยี ว เดีย่ วเดน่ เปน็ สงา่ คือสัญญาร่วมใจหมายผดุง สุราษฎร์ ๒ ผองเรารกั ษธ์ รรมบารุง นามจรุงฟูงุ เฟอ่ื งเล่ืองวจี พวกเราชายหญิง หยงิ่ ในศักดิศ์ รี กตญั ญกู ตเวที สามัคคีรวมพลงั

คาท่ีมี ๒ พยางค์ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................ คาทมี่ ี ๓ พยางค์ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................ คาที่มี ๔ พยางค์ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................ คาทม่ี ี ๕ พยางคข์ ้ึนไป .............................................................................................................................................. ............................................................................................................

แบบฝึกท่ี ๓ การแตง่ คาประพนั ธ์ ประเภทกลอนสภุ าพ เร่อื ง คาสัมผสั คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเขยี นคาสัมผัสจากคาทกี่ าหนดให้ จานวน ๔ คา ตอนที่ ๑ สมั ผสั สระ ตวั อย่าง ทะเล เวลา นาที สีซอ ดปู ู ................... ................... ................... ................... โรงเรยี น ................... ................... ................... ................... ซ้อื เงาะ ................... ................... ................... ................... คนไทย ................... ................... ................... ................... ชวนฝนั ................... ................... ................... ...................

ตอนที่ ๒ สัมผสั อกั ษร ตวั อย่าง ทะเล เวลานาที สีซอ ขีดเขยี น ................... ................... ................... ................... กางกัน้ ................... ................... ................... ................... คดเคยี้ ว ................... ................... ................... ................... ซาบซง้ึ ................... ................... ................... ................... สีสัน ................... ................... ................... ...................

แบบฝึกที่ ๔ การแตง่ คาประพนั ธ์ ประเภทกลอนสุภาพ เรอ่ื ง คาสัมผสั คาชแ้ี จงให้นกั เรียนนาคาที่กาหนดใหม้ าเรยี บเรยี งใหมใ่ หค้ ลอ้ งจองกนั ตวั อยา่ ง ตีแผ่ตีเกราะ ชว่ั ดี เคาะหวั เรียงใหม่ ตเี กราะ เคาะหัว ชว่ั ดี ตีแต่

๑. หาความ หนหี นา้ ทาดี ใจดา เรยี งใหม่ ______________________________________________ ๒. ตืน่ เต้น ในรัก เหน็ ใจ วนั คืน เรียงใหม่ ______________________________________________ ๓. รู้จริง ผ่านครู เขียนอ่าน ชอบเรยี น เรยี งใหม่ ______________________________________________ ๔. ส่ังสอน ลุกนง่ั คนื สขุ วันชนื่ เรียงใหม่ ______________________________________________ ๕. สมใจ เดนิ ชม เพลิดเพลิน วันเกิด เรียงใหม่ ______________________________________________ ๖. ชื่นชอบ เกรงใจ แฟนเพลง ตอบแทน เรียงใหม่ ______________________________________________

๘. พสิ จู นค์ น พิสูจนม์ า้ กาลเวลา ระยะทาง เรียงใหม่ _______________________________________________ ๙. ไมม่ ีขาย สขุ ภาพดี ต้องเลน่ กีฬา ถ้าอยากได้ เรยี งใหม่ _______________________________________________ ๑๐. งานราษฎร์ งานหลวง ไมใ่ หเ้ วน้ ไมใ่ หข้ าด เรยี งใหม่ _______________________________________________ ๑๑. น้าค้างพรม ทช่ี ายทงุ่ หอมดอกไม้ ตอนร่งุ สาง เรียงใหม่ _______________________________________________

แบบฝกึ ที่ ๕ การแตง่ คาประพนั ธ์ ประเภทกลอนสภุ าพ เร่ือง แผนผงั กลอนสภุ าพ คาชแี้ จง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้ แลว้ เขียนเครื่องหมาย  หน้าคาตอบทถ่ี ูก และเขยี นเครอ่ื งหมาย  หน้าคาตอบท่ีผิด วัฒนธรรมทางภาษานนี้ ่าคิด ภาษาไทยไพจิตรเจรญิ ศรี เทิดพระคณุ พอ่ ขุนรามฯงามทวี ดว้ ยภูมีสรา้ งสรรคล์ ักษณะอักษรไทย จึงเกิดวฒั นธรรมทางภาษา เจรญิ เป็นศรสี ง่าสมสมัย ใช้ส่ือสารการกจิ สัมฤทธิ์ไว อีกสงั่ สอนเด็กให้มวี ิชา ท้งั สร้างสรรค์บทกวศี รีอักษร งามสนุ ทรดุจมณีอันมีคา่ สรา้ งภาษติ คาพังเพย เอ่ยวาจา คาลา้ คา่ เตอื นจติ คิดทางดี ภาษาไทยเรานมี้ รี ะเบียบ หากจะเปรยี บดจุ มาลัยประไพศรี รอ้ ยเปน็ พวงเลอลกั ษณอ์ กั ขรวิธี อกี วจวี ภิ าค วากยสมั พันธ์ ลูกหลานไทยไดเ้ รียนเพียรศกึ ษา เสรมิ ปัญญาเจรญิ ยง่ิ เปน็ ม่ิงขวญั ฉันทลกั ษณ์อักราวลิ าวัณย์ กวไี ด้สรา้ งสรรค์สมบัตไิ ทย อนั คาไทยดีแท้แม้คดิ เพ่มิ อาจสร้างเสรมิ ตามวิธีมคี าใหม่ ใครประสงคบ์ ญั ญตั ิคิดฉบั ไว ภาษาไทยเรอื งเจริญเดนิ หนา้ เอย ศ.ฐะปะนีย์ นาครทรรพ

............๑. บทร้อยกรองขา้ งตน้ มจี านวน ๑๒ บท ............๒. สัมผัสบังคบั ได้แก่ คดิ – ไพจิตร, ภาษา – สง่า, สมัย – ไทย ............๓. วรรคแรกของบทร้อยกรองเรียกว่า วรรคสดับ ............๔. วรรคสุดทา้ ยของบทรอ้ ยกรองเรยี กว่า วรรครบั ............๕. บทรอ้ ยกรองประเภทกลอน ๑ บท มี ๔ คากลอน ............๖. บทร้อยกรองประเภทพกลอน ๑ บท มี ๔ บาท ............๗. กลอนวรรคหนง่ึ ๆ มจี านวนคา ๘ คา ............๘. สมั ผสั ระหวา่ งบท เรยี กวา่ สัมผัสนอก เป็นสมั ผัสบังคับ ............๙. สมั ผัสทีท่ าใหก้ ลอนไพเราะ คือสมั ผสั ใน ............๑๐. สมั ผัสระวา่ งบทได้แก้ ไทย – สมยั , อกั ษร – สุนทร, ดี – ศรี

แบบฝึกที่ ๖ การแต่งคาประพันธ์ ประเภทกลอนสุภาพ เรอื่ ง จงั หวะคาในกลอน คาชี้แจง ให้นักเรยี นแบ่งจังหวะของคาประพันธ์ทก่ี าหนดให้ ตัวอยา่ ง ใครมีบุตรวา่ ง่ายกายปราศไข้ มีหทยั เสาะหาวชิ าขลงั ทง้ั มีเพื่อนฉลาดเฉลยี วเทย่ี วเหน่ยี วรัง้ มีเมยี ฟงั ถอ้ ยคาประทับใจ ใครมีบุตร / ว่างงา่ ย / กายปราศไข้ มหี ทัย / เสาะหา / วิชาขลงั ทั้งมเี พอื่ น / ฉลาดเฉลยี ว / เที่ยวเหนีย่ วรั้ง/ มีเมียฟงั / ถ้อยคา / ประทับใจ ๑. ภาษาคือกล้องส่องความคดิ ภาพนา้ จติ อาจเหน็ ให้เด่นใส ถา้ เขียนพดู พดู เปือ้ นเลอะเลือนไป ก็นา้ ใจหรือจะแจ่มแอรม่ ฤทธ์ิ .............................................................. .......................................................... .............................................................. ..........................................................

๒. ปากเปน็ เอกเลขเป็นโทโบราณว่า หนงั สอื ตรมี ปี ัญญาไมเ่ สียหลาย ถงึ รมู้ ากไม่มีปากลาบากตาย มอี ุบายพูดไมเ่ ป็นเหน็ ปุวยการ .............................................................. .......................................................... .............................................................. .......................................................... ๓. อย่าเกียจครา้ นการเรียนเร่งอตุ สา่ ห์ มวี ิชาเหมอื นมีทรพั ย์อย่นู ับแสน จะตกถ่ินฐานใดคงไมแ่ คลน ถึงคบั แคน้ ก็พอยังประทังตน .............................................................. .......................................................... .............................................................. .......................................................... ๔. ถึงมีเพื่อนก็เหมือนทไ่ี ม่มีเพื่อน เพราะไมเ่ หมอื นนุชนาถทม่ี าดหมาย มเี พอ่ื นเลน่ กไ็ ม่เหมือนมเี พือ่ นตาย มเี พ่อื นชายก็ไมเ่ หมือนกบั มเี พื่อนชม .............................................................. .......................................................... .............................................................. .......................................................... ๕. ดว้ ยวสิ ยั ในประเทศทกุ เขตแควน้ ถงึ โกรธแค้นความรกั ย่อมหกั หาย อนั ความจรงิ หญิงก็ม้วยลงดว้ ยชาย ชายกต็ ายลงดว้ ยหญงิ จริงดง้ั นี้ .............................................................. .............................................................. .......................................................... ..........................................................

ภาคผนวก

กลอน เป็นคาประพันธ์ท่ีมีลักษณะบังคับ ๓ ประการ คือ คณะ จานวนคา และ สมั ผัส สาหรบั สมั ผัสนั้นเป็นไปตามลักษณะบญั ญตั เิ ป็นชนิดๆ แตไ่ ม่บังคับเอกโทและครุลหุ จากหลักฐานในวรรณกรรม กลอน เป็นคาประพันธ์ท้องถ่ินของไทยแถบภาคกลาง และภาคใต้ วรรณกรรมท่แี ต่งด้วยกลอนทเ่ี กา่ แก่ทีส่ ดุ คือ เพลงยาวพยากรณก์ รงุ ศรีอยุธยา และ เพลงยาว ณ พระท่ีนั่งจนั ทรพิศาล (สมยั พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ) ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กลอน รุ่งเรืองท่ีสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) กวีที่สาคัญได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สนุ ทรภู่ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ฯลฯ โดยเฉพาะสุนทรภู่น้ันเป็นผู้ที่ทาให้ฉันทลักษณ์ของ กลอนพัฒนาถึงระดับสูงสุด โดยเฉพาะการใช้สัมผัสนอก สัมผัสใน ท้ังสัมผัสสระและสัมผัส อักษรทห่ี ลากหลาย จนเปน็ ทย่ี อมรบั วา่ เปน็ แบบฉบบั ของกลอนท่ไี พเราะท่ีสุด และนิยมแต่ง กนั มาจนถงึ ปัจจบุ ันน้ี

การจาแนกกลอน กลอน อาจจาแนกไดเ้ ป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ ๑. จาแนกตามฉันทลักษณ์ ไดแ้ ก่ จาแนกตามจานวนคา จาแนกตามคาขึน้ ต้น จาแนกตามลักษณะบังคับ จาแนกตามลักษณะบังคบั บทข้นึ ตน้ และจาแนกตาม ลกั ษณะการส่งสมั ผัส ๒. จาแนกตามวัตถุประสงค์ในการใช้ ได้แก่ จาแนกตามกลอนอ่าน และ จาแนกตามกลอนรอ้ ง

ลักษณะบงั คับของกลอนชนิดตา่ งๆ ลักษณะบังคับของกลอนชนิดต่างๆ แบ่งเปน็ ๒ ลักษณะ คอื ๑. ลักษณะบังคับรว่ ม ไดแ้ ก่ คณะ สัมผสั และจานวนคา ๒. ลักษณะบังคบั เฉพาะชนดิ แบ่งเป็น  กลอนส่ี  กลอนดอกสร้อย  กลอนหก  กลอนสกั วา  กลอนเจ็ด  กลอนเสภา  กลอนแปด  กลอนเพลงยาว  กลอนเกา้  กลอนนิทาน  กลอนบทละคร  กลอนนริ าศ

ความไพเราะของกลอน กลอนจะมีความไพเราะอยทู่ ก่ี ารใชถ้ ้อยคาและสมั ผสั เปน็ สาคญั อนั ไดแ้ ก่ สมั ผสั นอกและสัมผสั ใน โดยเฉพาะสมั ผสั ในถงึ แม้จะไม่ใช่สมั ผสั บงั คบั แตถ่ ้ามีก็ ถือกนั วา่ เปน็ รสสูงสุดของกลอน ความแตกตา่ งของกลอน การทก่ี ลอนมีชอื่ เรยี กแตกตา่ งกนั เพราะ ๑. การใชค้ าในแตล่ ะวรรคทีไ่ มเ่ ทา่ กนั ๒. การใชค้ าขนึ้ ต้นและลงท้ายต่างกนั ๓. การใช้จงั หวะและทานองในการอา่ นหรอื ขับรอ้ ง ทตี่ า่ งกนั

ลลี าของกลอน หมายถงึ ถ้อยคาสานวนทมี่ คี วามวจิ ิตรบรรจง มีดว้ ยกัน ๔ ประการ คอื ๑. เสาวรจนี คอื ถ้อยคาทีใ่ ชช้ มโฉม ชมความงาม ๒. นารีปราโมทย์ คือ ถอ้ ยคาเล้าโลมหรอื เกย้ี วพาราสี ๓. พโิ รธวาทัง คือ ถ้อยคาท่แี สดงความขนุ่ เคอื ง ดา่ ทอ ตัดพ้อต่อวา่ ๔. สัลลาปังคพสิ ัย คือ ถอ้ ยคาครา่ ครวญ ราพึงราพนั โศกเศรา้

กลอน ๑ บท มี ๒ คากลอน (๒ วรรคเท่ากับ ๑ คากลอน) หรือ ๔ วรรค แต่ละวรรค มีชอ่ื ตามลักษณะการบังคับสมั ผัส ดงั นี้ วรรคสลับ (สดับ) ได้แก่ กลอนวรรคที่ ๑ ท่ีใช้ข้ึนต้น ทาหน้าท่ีส่งสัมผัสเพียงอย่าง เดยี ว วรรครับ ได้แก่ กลอนวรรคที่ ๒ ทาหน้าท่ีรับสัมผัสจากวรรคสดับและส่งสัมผัสไป ยังวรรครอง คาสุดท้ายนิยมใช้คาท่ีมีเสียงวรรณยุกต์จัตวา ห้ามใช้คาท่ีมีเสียงวรรณยุกต์โท สามญั และตรี วรรครอง ได้แก่ กลอนวรรคที่ ๓ ทาหนา้ ทีร่ ับสมั ผสั จากวรรครับ และส่งสัมผัสไปยัง วรรคสง่ คาสุดทา้ ยนิยมใชเ้ สียงสามัญ หา้ มใช้เสยี งจัตวาหรอื คาที่มีรปู วรรณยุกต์ วรรคส่ง ได้แก่ กลอนวรรคท่ี ๔ ทาหน้าท่ีรับสัมผัสจากวรรครอง และทาหน้าที่ สาคัญในการส่งสัมผัสระหว่างบทไปยังวรรครับของบทต่อไป คาสุดท้ายนิยมใช้เสียงสามัญ หา้ มใชค้ าตายและคาท่มี ีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คาตายเสยี งตรีบา้ งก็ได้

ในบทเรยี นนเ้ี นอื้ หาเป็น กลอนสุภาพ จึงขอสรปุ ลักษณะใหพ้ อเป็นที่เขา้ ใจดงั น้ี กลอนสุภาพ กลอนชนิดนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “กลอนตลาด” เป็นกลอนที่ใช้ ถ้อยคาและทานองเรียบๆ นับว่าเป็นกลอนหลัก เพราะเป็นหลักของบรรดากลอนทุกชนิด หากทาความเข้าใจกับกลอนสุภาพได้เป็นอย่างดีแล้ว ก็จะสามารถเข้าใจกลอนอื่นๆได้ไม่ ยากนัก กลอนอ่ืนๆที่มีช่ือเรียกไปต่างๆนั้นก็ล้วนแต่งยักเย้ืองแบบวิธีไปจากกลอนสุภาพ ท้ังสิ้น กลอนสุภาพส่วนใหญ่มักแต่งเป็นเร่ืองยาวๆเอาไว้ขาย เรียกว่าเป็นเรื่องประโลมโลก เช่น พระอภยั มณี โคบุตร ลักษณวงศ์ เปน็ ต้น

กลอนประเภทน้ีสว่ นใหญ่แตง่ เพ่อื มงุ่ หมายจะใชใ้ นการอ่าน ความยาวของ เรอื่ งขึ้นอยกู่ บั เนื้อเร่ืองทจี่ ะแต่งวา่ จะยาวเพยี งไร บางเร่อื งกอ็ าจจะสั้นๆ เปน็ บทที่ ให้คตเิ ตอื นใจเก่ยี วกบั การดาเนนิ ชีวิตกไ็ ด้ กลอนสภุ าพ อาจแบง่ ได้เป็น ๕ ประเภท ตามจานวนคาในวรรคที่ใช้ คือ ๑. กลอนสี่ ๔. กลอนแปด ๒. กลอนหก ๕. กลอนเกา้ ๓. กลอนเจ็ด

ในบทเรยี นนี้กลา่ วถึง กลอนแปด กลอนแปด ๑ บทมี ๔ วรรค ( ๒ คากลอน) มีวรรคละ ๗ – ๘ – ๙ คา ๒ วรรคถือ เป็น ๑ คากลอน แผนผัง

ตวั อย่างคาประพันธ์ อนั ของสูงแม้ปองตอ้ งจิต ถ้าไม่คิดปนี ปาุ ยจะไดฤ้ า มใิ ชข่ องตลาดทอี่ าจซื้อ ฤาแย่งยอื้ ถือไดโ้ ดยไม่ยอม ไมค่ ดิ สอยมัวคอยดอกไมร้ ่วง คงชวดดวงบปุ ผชาติสะอาดหอม ดูแต่ภมุ รนิ เที่ยวบนิ ตอม จง่ึ ไดอ้ อมอบกลนิ่ สมุ าลี (ทา้ วแสนปม : รัชกาลท่ี ๖)

ข้อพึงสงั เกตในการแต่งกลอน เสียงวรรณยุกต์พยางค์สุดท้ายของแต่ละวรรค มีความสาคัญที่จะช่วยให้กลอน ไพเราะข้นึ ที่นยิ มกนั มีดงั นี้ วรรคสลับ หรือ วรรคสดับ - ใชไ้ ด้ทกุ เสยี ง ยกเวน้ เสียงสามัญ วรรครับ - นิยมใช้เสียงจตั วามากท่ีสุด รองลงมาคือเสียง เอกและโทไมใ่ ชเ้ สยี งสามญั วรรครอง - นิยมใชเ้ สยี งสามัญ ไมใ่ ชเ้ สยี งจัตวา วรรคส่ง - นยิ มใช้เสยี งสามญั ไมใ่ ช้เสียงจตั วา

สัมผสั คาประพันธ์ไทยทุกชนิดต้องมีสัมผัส สัมผัสในคาประพันธ์มี ๒ ประเภท คือ สมั ผสั นอก และ สมั ผสั ใน ๑. สัมผัสนอก คือ สัมผัสระหว่างวรรคหรือสัมผัสระหว่างบท และจะต้องเป็น สัมผัสสระไดอ้ ย่างเดยี วเทา่ นัน้ อาทิ “เป็นคนควรสงวนวงศ์ไวจ้ งหนัก ถ น อ ม รั ก ษ า ตั ว เ ห มื อ น หั ว แ ห ว น ” (หนกั – รกั ) “คอ่ ยเปลือ้ งปลดเสยี หมดราคีคาย ไม่เสยี ดายชีวาตมจ์ ะขาดกระเด็น” (คาย – ดาย) “อย่าปนปัดให้เขาหลู่มาดูแคลน ถึงยากแคน้ รักนวลสงวนกาย” (แคลน – แค้น)

๒. สมั ผัสใน คอื สมั ผสั ทสี่ ่งอยูใ่ นวรรคเดียวกนั มี ๒ ชนิด คือ ๒.๑ สมั ผสั พยญั ชนะ (สมั ผัสอักษร) เปน็ สัมผสั ของคาทีใ่ ชพ้ ยญั ชนะเสยี งเดยี วกนั (ไมจ่ าเป็นต้องเป็นสระเดียวกันก็ได้) อาทิ - “เป็นผชู้ ายยิง่ ยากกวา่ หลายเท่า” (ยง่ิ – ยาก) - “คอ่ ยเปลื้องปลดเสียหมดราคคี าย” (เปล้ือง – ปลด, คี – คาย) - “แม้นถอยศักดส์ิ ิน้ อานาจวาสนา” (ศกั ดิ์ – สิน้ ) ๒.๒ สมั ผัสสระ เป็นสัมผัสของคาท่ใี ชส้ ระเดยี วกัน หากมตี ัวสะกดกต็ อ้ งเปน็ ตัวสะกดมาตราเดียวกัน อาทิ - “เขาหน่ายหนีมิได้อยูค่ ู่ชีวา” (อยู่ – ค่)ู - “บดิ ามารดารักมกั เป็นผล” (รกั – มัก) - “ให้รอบคอบคดิ อา่ นนะหลานหนา” (รอบ – คอบ, อ่าน – หลาน)

แตอ่ ย่างไรกต็ ามสมั ผสั ในน้นั เปน็ สมั ผสั ไมบ่ งั คับ จะมหี รอื ไมม่ กี ็ได้ แตถ่ ้ามีแลว้ จะทา ใหค้ าประพนั ธ์ชนิดนั้นๆ มีความไพเราะมากยิ่งข้ึน มีขอ้ ควรระวังในการประพันธว์ า่ คาทีส่ ่งและรบั สมั ผสั ต้องไม่ใหเ้ ขา้ ลกั ษณะดงั นี้ ๑. สัมผสั ซา้ เสยี ง คือ รับส่งสมั ผัสด้วยคาทอ่ี อกเสียงเหมือนกนั ๒. สมั ผัสเลือน คือ รับส่งดว้ ยเสียงสระสนั้ ยาวตา่ งกัน อาทิ อาย กับ อยั ๓. ชิงสัมผสั คือ ใช้เสยี งตรงกับคาทส่ี ง่ สัมผัสก่อนตาแหน่งที่รบั สมั ผัสจริง