Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 631081338

631081338

Published by อดิศักดิ์ จิตรแก้ว, 2021-10-02 07:35:13

Description: นายเสฎฐวุฒิ จิตรหมั้น 631081338

Search

Read the Text Version

THE CRIMINAL CODE กฎหมาย อาญา เสฎฐวุ ฒิ จิตรหมั้น 631081338

Introduction คำนำ E-book เล่มนี้ส่ ส่วนหนึ่งของวิชากฏ หมายอาญา 2 ซึ่ซึ่งจัดทำขึ้นในเรื่อง ความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงานทั้ ทั้งใน เรื่องหลักทั่วไปความหมายและองค์ ประกอบรวมไปถึงตัวอย่างอธิบายผู้ จัดทำหวังว่าเนื้ อหาในรายงานฉบับนี้ที่ ได้เรียบเรียงมาจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ สนใจและผู้ที่อยากจะศึกษาหากมีสิ่ง ใดต้องปรับปรุงผู้จัดขอน้อมรับและจะ นำมาแก้ไขหรือพัฒนาให้ถูกต้องและ สมบูรณ์ต่อไป

สารบัญ table of contents TABLE OF CONTENTS ความผิดเกี่ยวกับเจ้าพนักงาน โครงสร้างความรับผิด ตัวอย่าง

ความผิด เกี่ยวกับเจ้า พนักงาน ในมาตรา 367 , 368 , 369 , 383

ความหมาย THE CRIMINAL บุ ค ค ล ที่ เ ป็ น เ จ้ า พ นั ก ง า น นั้ น มี ฐ า น ะ น อ ก เ ห นื อ ไ ป จ า ก บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด า บ า ง CODE ป ร ะ ก า ร เ นื่ อ ง จ า ก ผ ล ข อ ง อำ น า จ ห น้ า ที่ ที่ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ จึ ง ทำ ใ ห้ มี ก ฎ ห ม า ย ที่ บั ญ ญั ติ ค ว า ม ผิ ด ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ที่ มี ผ ล ทั้ ง ใ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ค ว บ คุ ม บุ ค ค ล ผู้ เ ป็ น เ จ้ า พ นั ก ง า น นั้ น อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ที่ คุ้ ม ค ร อ ง ห รื อ ค ว บ คุ ม เ จ้ า พ นั ก ง า น นั้ น ห ม า ย ถึ ง เ ฉ พ า ะ ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ท่ า นั้ น ไ ม่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ก ร ะ ทำ ใ น เ รื่ อ ง ส่ ว น ตั ว ข อ ง บุ ค ค ล นั้ น

ความหมาย ทั้งนี้ เมื่อเจ้าพนักงานไม่ได้ ปฏิบัติการตามหน้ าที่ก็มีฐานะ เช่นบุคคลธรรมดาคนหนึ่ ง กฎหมายจึงไม่ได้คุ้มครองหรือ ควบคุมเช่นกัน ดังนั้น จึงต้อง พิจารณาว่ากรณี ใดที่บุคคลมี ฐานะเป็นเจ้าพนั กงานตาม กฎหมาย โดยได้มีบทนิยาม ความหมายของคำว่า \"เจ้า พนักงาน\" อยู่ในมาตรา 1 (16) แห่งประมวลกฎหมายอาญา

The Criminal code มาตรา 367 มาตรา 367 ผู้ใดเมื่ เมื่อเจ้า พนักงานถามชื่อหรือที่อยู่เพื่อ ปฎิบัติการตามกฎไหมไม่ยอมบอก หรือแกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็น เท็จต้องระวังโทษปรับไม่เกิน 1000 บาท

The จะเห็นได้ว่าเมื่อเจ้าพนักงานถามชื่อหรือที่อยู่ของ Crimina เราแต่เราไม่ยอมบอกชื่อหรือที่อยู่หรือแกล้งบอกชื่อ l code หรือที่อยู่อันเป็นเท็จต่อเจ้าพนักงานนั้นย่อมเป็นความ ผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 367 แต่หาก เจ้าพนักงานรู้ชื่อและที่อยู่ของเราอยู่ดีแล้วการที่เราไม่ ยอมบอกชื่อหรือที่อยู่แก่เจ้าพนักงานย่อมไม่เป็นความ ผิดตามมาตรา 367 และข้อสำคัญของการจะเป็ จะ เป็นความผิดตามมาตรา 367 ได้เจ้าพนักงานจะต้อง ถามเพื่อปฎิบัติการตามกฏหมายด้วยไม่ใช่ถามเมื่อ ไหร่ก็ถาม ห า ก เ จ้ า พ นั ก ง า น ถ า ม ชื่ อ ห รือ ที่ อ ยู่ เ ล่ า แ ต่ เ จ้ า พ นั ก ง า น ไ ม่ ไ ด้ ถ า ม เ พื่ อ ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฏ ห ม า ย แ ล้ ว เ ร า ไ ม่ บ อ ก เ ร า ก็ ไ ม่ มี ค ว า ม ผิ ด

ตัวอย่าง ในมาตรา 367

เจ้าพนักงานตำรวจขอตรวจค้นรถของจำเลย ครั้งแรกจำเลยไม่ยอมให้ ก า ร แ ก ล้ ง บ อ ก ที่ อ ยู่ เ ท็ จ แ ก่ พ นั ก ง า น ค้นเนื่องจากเกรงว่าตำรวจจะกลั่นแกล้งเพราะเหตุที่เคยมีสาเหตุกับตำรวจ มาตรา นั้นมาก่อนในที่สุดจำเลยยอมให้ค้นดังนี้ เห็นได้ว่าจำเลยขาดเจตนาต่อสู้ หรือขัดขวางเจ้าพนักงานการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา138 การที่จำเลยว่าตำรวจจะเอาของผิดกฎหมายใส่รถจำเลย ตำรวจจะรุท ทำร้ายจำเลย ไม่แน่ใจว่าเป็นตำรวจ ตำรวจแต่งเครื่องแบบปล้นก็มี เป็นการ กล่าวเพราะเชื่อโดยสุจริตว่าจำเลยถูกตำรวจกลั่นแกล้ง เนื่องจากตำรวจ หาเหตุมาหยุดรถและค้นรถของจำเลยโดยเฉพาะ การที่จำเลยกล่าวถ้อยคำ เช่นนั้นจึงเป็นการปกป้องตนเอง มิให้ตำรวจกระทำการดังกล่าว การกระทำ ของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 136 ตำรวจรู้จักชื่อและที่อยู่จำเลยแล้วเพราะเคยไปค้นบ้านจำเลยมาก่อน ไม่มี ความจำเป็นอย่างไรที่จะต้องถามชื่อและที่อยู่จำเลยอีก การที่จำเลยมิได้แจ้ง ชื่อและที่อยู่ตามที่ตำรวจถาม จึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 367 ตัวอย่าง 763

The Criminal code มาตรา 368 . ผู้ใดทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานซึ่ง สั่งการตามอำนาจที่มีกฎหมายให้ไว้ไม่ ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นโดยไม่มีเหตุหรือข้อ แก้ตัวอันสมควรต้องระวังโทษจำคุกไม่ เกิน 10 วันหรือปรับไม่เกิน 5000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าการสั่งเช่นว่านั้นเป็น คำสั่งให้ช่วยทำกิจการในหน้าที่ของเจ้า พนักงานซึ่งกฎหมายกำหนดได้สั่งให้ช่วย ไว้ต้องระหว่างโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำ ทั้งปรับ

องค์ประกอบ THE ภายนอก CRIMINAL 1.ทราบคำสั่งของ ทราบคำสั่งของเจ้า CODE พนั กงาน 2.ซึ่งสั่งการตามอำนาจที่กฎหมายให้ไว้ 3.ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ งนั้ น 4.โดยไม่มีเหตุผลหรื โดยไม่มีเหตุผล หรือข้อแก้ตัวอันสมควร

The องค์ประกอบภายใน Crimina l code 1.คำสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย 2.การไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 เป็นบทลงโทษผู้ที่ขัดคำสั่งของเจ้า ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม คำ สั่ง ข อ ง เ จ้ า พ นั ก ง า น พนักงานซึ่งสั่งการตามอำนาจที่มีกฎหมายให้ไว้ในกรณีทั่วๆ ไปส่วนการที่จำเลย มาตรา ไม่ไปรายงานตนภายใน 24 ชั่วโมง ตามคำสั่งของตำรวจจราจรในกรณีจำเลยทำ ผิดกฎหมายจราจรจะเป็นผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 368 อีกด้วยหรือไม่นั้นต้องระลึกถึงหลักการใช้กฎหมายอาญาว่า กฎหมายจราจรมีความประสงค์จะลงโทษบุคคลผู้ขัดคำสั่งของเจ้าพนักงานหรือ ไม่ ซึ่งจะเห็นได้จากบทบัญญัติของกฎหมายนั้นๆเองเรื่องนี้ ถึงแม้จะมี พระราช บัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2477 มาตรา 64 ให้อำนาจเจ้าพนักงานสั่งเป็นหนังสือ ให้ผู้ละเมิด พระราชบัญญัติจราจรทางบกไปรายงานตนภายใน 24 ชั่วโมง ก็จริง แต่ พระราชบัญญัตินี้ก็ไม่ประสงค์จะให้ลงโทษแก่ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งนั้น เพราะ ข้อความในมาตรา 67 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัตจราจรทางบก พ.ศ.2478 มาตรา 5 แสดงให้เห็นว่า การที่ให้ไปรายงานตนนั้น กฎหมายมีความ ประสงค์เพื่อความสดวกของทั้งสองฝ่ายเท่านั้น คือ ผู้ไปรายงานยอมให้เปรียบ เทียบ ก็ไม่ต้องถูกฟ้องเป็นจำเลย ฝ่ายเจ้าพนักงานก็ไม่ต้องเสียเวลาสอบสวน พยานเพื่อดำเนินคดีต่อศาล แต่ถ้าผู้ได้รับคำสั่งไม่ไปรายงาน ก็เท่ากับผู้นั้น ปฏิเสธความผิดไม่ยอมให้เปรียบเทียบ ซึ่งก็มีทางแก้อยู่แล้ว คือเจ้าพนักงาน ดำเนินคดีฟ้องต่อศาลดุจคดีอื่นๆผู้ไม่ไปรายงานตนหามีความผิดฐานขัดคำสั่ง เจ้าพนักงานซ้ำอีกกระทงหนึ่งไม่ (ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 728/2502 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่เกี่ยวกับปัญหาเช่น เดียวกันนี้ แต่ข้อวินิจฉัยมีต่างกันบ้าง) ตัวอย่าง 863

The มาตรา 369 Criminal ผู้ใดกระทำด้วยประการใดใดให้ code ประกาศภาพโฆษณาหรือเอกสารใดที่ เจ้าพนักงานผู้กระทำการตามหน้าที่ ปิดหรือแสดงไว้หรือสั่งให้ปิดหรือ แสดงไว้หลุดฉีกหรือไร้ประโยชน์ต้อง ระวังโทษปรับไม่เกินห้าพัน บาท

THE องค์ประกอบ CRIMINAL ภายนอก CODE 1.ผู้ใด 2.กระทำด้วยประการใดๆ 3.ให้หลุดฉีกหรือไร้ประโยชน์ 4.ซึ่งประกาศภาพโฆษณาหรือเอกสารใด 5.ที่เจ้าพนักงานผู้กระทำตามหน้าที่ปิดหรือแสดงไว้ หรือสั่งให้ปิดหรือแสดงไว้

การที่ผู้กระทำรู้ว่าสิ่งที่กระทำ องค์ นั้ นเป็นประกาศภาพโฆษณา ประกอบ หรือเอกสารใดที่เจ้าพนั กงาน ภายใน กระทำการตามหน้ าที่ปิดหรือ แสดงไว้หรือสั่งให้ปิดหรือ แสดงไว้และผู้กระทำต้องการ กระทำด้วยประการใดใดให้สิ่ง ดังกล่าวนั้ นฉี กหรือไร้ ประโยชน์

ตัวอย่าง ก็กระทำ 963 บทบัญญัติในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 369 มิได้บัญญัติว่าการ ต่อเอกสารที่เจ้า กระทำผิดตามมาตรานี้ต้องกระทำแก่ประกาศภาพโฆษณาหรือเอกสารใดที่ พนักงานประกาศ ปิดหรือแสดงหรือโฆษณาต่อประชาชนเท่านั้น แม้คำสั่งของ ล.เจ้าอาวาสซึ่ง เป็นเจ้าพนักงานผู้กระทำการตามหน้าที่ได้ออกคำสั่งเฉพาะแก่พระครู ส. มาตรา เพียงรูปเดียว คำสั่งที่ออกไปนั้นถือเป็นเอกสารที่ได้มีการปิดหรือแสดงไว้ ตามที่บัญญัติใน มาตรา 369 แล้ว การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่า ล. ผู้เสียหาย ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดบ. เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายได้ออกคำสั่งเป็น หนังสือโดยนำหนังสือคำสั่งไปปิดและแสดงไว้ที่กุฏิพระครู ส. เพื่อให้พระครู ส.ซึ่งไม่อยู่ในโอวาท ของผู้เสียหายได้รับทราบคำสั่ง และออกไปจากวัด บ. ภายใน 7 วัน อันเป็นการกระทำตามหน้าที่ จำเลยได้บังอาจแกะ ฉีก หนังสือ คำสั่งดังกล่าวทิ้งอันเป็นการทำลายเอกสารซึ่งเจ้าพนักงาน ผู้กระทำการ ตามหน้าที่ปิดแสดงไว้หลุดฉีก เสียหายไร้ประโยชน์ ดังนี้เป็นการบรรยาย ฟ้องที่ครบองค์ประกอบของความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 369 แล้ว ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) โจทก์ไม่ต้องบรรยายฟ้องว่า คำสั่งเป็นหนังสือดังกล่าวนั้นได้ปิดหรือแสดง ไว้ในลักษณะทำนองประกาศหรือโฆษณาต่อประชาชน เพราะประมวล กฎหมายอาญามาตรา 369 ไม่ได้บัญญัติไว้เช่นนั้น

มาตรา ผู้ใดเมื่อเกิดเพลิงไหม้หรือ 383 สาธารณภัยอื่นและเจ้าพนักงาน เรียกให้ช่วยระงับถ้าผู้นั้นสามารถ ช่วยได้แต่ไม่ช่วยต้องระวังโทษจำคุก ไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

องค์ประกอบ ภายนอก 1.ผู้ใด 2.เมื่อเกิดเพลิงไหม้หรือสาธารณภัยอื่น 3.เจ้าพนักงานเรียกให้ช่วยระงับ 4.ผู้นั้นสามารถช่วยได้แต่ไม่ช่วย

องค์ประกอบ ภายใน การที่ผู้กระทำรู้ว่ามีเพลิงไหม้ หรือสาธารณะภัยอันเกิดขึ้น และรู้ว่าเจ้าพนั กงานเรียกให้ ช่วยระงับถึงไม่อยู่สาธารณภัย อื่นนั้ นและผู้กระทำต้องการไม่ ช่วยระงับทั้งทางที่สามารถช่วย ได้

เพิ่มเติม MORE ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ไ ม่ ช่ ว ย ร ะ งับ เ พ ลิ ง ไ ม่ ห รื อ ส า ธ า ร ณ ภั ย อื่ น แ ม้ จ ะ มี คุ ณ ธ ร ร ม ท า ง ก ฎ ห ม า ย ที่ เ ป็ น ส่ ว น ร ว ม คื อ อำ น า จ รั ฐ ใ น ก า ร เ รี ย ก ใ ห้ ช่ ว ย ร ะ งับ ส า ธ า ร ณ ภั ย แ ต่ ก็ ไ ม่ เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ มี โ ค ต ร น่ า ตำ ห นิ ท า ง ศี ล ธ ร ร ม อ ย่ า ง รุ น แ ร ง เ พ ร า ะ เ ป็ น ก า ร ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม ห น้ า ที่ ข อ ง พ ล เ มื อ ง ดี จ น อ า จ เ กิ ด ภั ย อั น ต ร า ย ต่ อ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ สั ง ค ม

บรรณานุกรม ห นั ง สื อ เ น ติ บั ณ ฑิ ต ว่าด้วยเรื่องกระทำความผิดทางอาญา เ อ ก ส า ร พ่ อ ขุ น ร า ม กฎหมายอาญา ป ร ะ ม ว ล ก า ย วิ ภ า ค กฎหมายอาญา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook