Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Communication And computer networks

Communication And computer networks

Published by mamagujabin56, 2017-07-11 23:37:42

Description: Communication And computer networks

Search

Read the Text Version

12 กรกฎาคม 2560การส่ือสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ นางสาว กลั ยาณี นักรบไทย วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครราชสีมา

การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยกี ารส่ือสารมีส่วนช่วยใหก้ ารดาเนินงานธุรกิจในปัจจบุ นั เป็นไปอยา่ งราบร่ืน ช่วยใหก้ ารส่งขอ้ มูลในรูปแบบตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็ นทางโทรสาร โทรศพั ท์ อีเมล์ โทรทศั น์ และอื่นๆ ไปยงั จุดหมายที่อยหู่ ่างไกลเป็ นไปอยา่ งสะดวกและรวดเร็ว เทคโนโลยคี มนาคมและการสื่อสารนามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื พฒั นาและปรับปรุงการดาเนินงานทางธุรกิจโดยมีวตั ถุประสงคห์ ลกั 4 ประการดงั น้ี 1. เพ่อื การส่ือสารทางธุรกิจท่ีดีข้ึน ช่องทางการสื่อสารระหวา่ งบุคคลมีหลายรูปแบบ เทคโนโลยคี มนาคมช่วยใหก้ าร ติดตอ่ สื่อสารรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และไดร้ ับขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั อยา่ งทนั ที 2. เพอื่ ใหก้ ารดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงข้ึน โดยปกติการดาเนินงานทางธุรกิจมกั จะมีการใชง้ าน ขอ้ มลูร่วมกนั ในแตล่ ะแผนก ซ่ึงเทคโนโลยโี ทรคมนาคมช่วยอานวยความสะดวกในการสื่อสารใชง้ านขอ้ มูลร่วมกนั ใหค้ วามสะดวกในการบนั ทึกขอ้ มูลและประมวลผลขอ้ มลู ลดความซ้าซอ้ น การทางานที่ผิดพลาด ส่งผลใหก้ ารดาเนินธุรกิจมีความถกู ตอ้ งและมีประสิทธ์ิภาพสูงข้ึน 3. เพอื่ การกระจายขอ้ มลู ท่ีดีข้ึน ช่วยใหก้ ารรับส่งขอ้ มูลระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์กระทาไดอ้ ยา่ งสะดวก เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ ปลายทางสามารถเรียกใชฐ้ านขอ้ มลู กลางดว้ ยความเร็วรวด 4. เพ่อื การจดั การกระบวนการธุรกิจท่ีสะดวกข้ึน พฒั นาการทางอินเตอร์เน็ตช่วยใหก้ ารดาเนินธุรกิจ ออนไลน์พฒั นามะ หยดุ ย้งั ตามไปดว้ ย กระบวนการทางธุรกิจอตั โนมตั ิกระทาดว้ ยการสนบั สนุน ของเทคโนโลยี คมนาคมที่ทนั สมยั องค์ประกอบของการสื่อสาร 1. ผสู้ ่งขอ้ มลู (Sender) ทาหนา้ ที่ส่งขอ้ มลู 2. ผรู้ ับขอ้ มลู (Receiver) ทาหนา้ ท่ีรับขอ้ มลู 3. ขอ้ มูล (Data) ขอ้ มูลท่ีผสู้ ่งขอ้ มูลตอ้ งการส่งไปยงั ผรู้ บั ขอ้ มูล อาจอยใู่ นรูปของขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว 4. ส่ือนาขอ้ มูล (Medium) ทาหนา้ ที่เป็ นตวั กลางในการขนถ่ายขอ้ มูล เช่น สายเคเบิล ใยแกว้ นาแสง อากาศ 5. โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวธิ ีที่ถูกกาหนดข้ึนเพอื่ การสื่อสารขอ้ มลู ในรูปแบบตามวธิ ีการส่ือสารท่ีตกลง กนั ระหวา่ ง ผสู้ ่งขอ้ มลู กบั ผรู้ บั ขอ้ มลู

การใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสาร การสื่อสารขอ้ มลู ในยคุ ปัจจุบนั ไดต้ ะหนกั ถึง ความสาคญั ในการนาเทคโนโลยคี มนาคมและการส่ือสารมาช่วยงานเพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ซ้ึงการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยกี ารสื่อสารในองคก์ ารมีดงั น้ีไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail) การใชอ้ ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ คอมพวิ เตอร์ และพดี ีเอ ส่งขอ้ ความอิเลก็ ทรอนิกส์ไปยงั บุคคลอื่น โดยการส่ือสารน้ีบุคคลท่ีทาการส่ือสารจะตอ้ งมีช่ือและท่ีอยใู่ นรูปแบบอีเมลแ์ อดเดรสโทรสาร (Facsimile หรือ Fax) เป็ นการส่งขอ้ มูล ซ่ึงอาจเป็ นขอ้ ความท่ีเขียนข้ึนดว้ ยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครื่องคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ท่ีเรียกวา่ แฟกซ์-โมเดม็ ไปยงั เคร่ืองรับโทรสาร การส่งขอ้ ความในลกั ษณะน้ีช่วยประหยดั ค่าใชจ้ ่ายและมีประสิทธิภาพสูงกวา่ การส่งขอ้ มลู ผา่ นเครื่องโทรสารธรรมดาวอยซเ์ มล์ (Voice Mail) เป็นการส่งขอ้ ความเป็ นเสียงพดู ใหก้ ลายเป็ นขอ้ ความอิเลก็ ทรอนิกส์ผา่ นระบบเครือข่ายการส่ือสารขอ้ ความจะถกูบนั ทึกไวใ้ นอปุ กรณ์บนั ทึกเสียงที่เรียกวา่ วอยซเ์ มลบ์ ลอ็ ก เมื่อผรู้ บั เปิ ดฟังขอ้ ความดงั กลา่ วกจ็ ะถูกแปลงกลบั ไปอยใู่ นรูปแบบของเสียงพดู ตามเดิมการประชุมทางไกลอิเลก็ ทรอนิกส์ (Video Conferencing) เป็ นการสื่อสารขอ้ มลู โดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ ายหน่ึงไปยงั อีกฝ่ ายหน่ึง ในการใช้ Video Conferencing จะตอ้ งมีอุปกรณ์สาหรับการบนั ทึกภาพและอุปกรณ์บนั ทึกเสียง โดยที่ภาพและเสียงท่ีส่งไปน้นั อาจเป็ นภาพเคล่ือนไหวท่ีมีเสียงประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเลก็ ทรอนิกส์ช่วยประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปประชุม

การระบุตาแหน่งดว้ ยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs) เป็ นระบบที่ใชว้ เิ คราะห์และระบุตาแหน่งของคน สตั ว์ หรือส่ิงของที่เป็นเป้ าหมายของระบบ การวเิ คราะห์ตาแหน่งทาไดโ้ ดยใชด้ าวเทียมระบตุ าแหน่ง ปัจจุบนั มีการนาไปใชใ้ นระบบการเดินเรือ เครื่องบินและเริมพฒั นามาใชเ้ พ่ือระบุตาแหน่งของรถยนตด์ ว้ ยกรุ๊ปแวร์(groupware) เป็ นโปรแกรมประยกุ ตท์ ี่ช่วยสนบั สนุนการทางานของกลมุ่ บุคคลใหส้ ามารถทางานร่วมกนั การใชท้ รัพยากรและสารสนเทศร่วมกนั โดยผา่ นระบบเครือข่ายการโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT) ปัจจุบนั ผใู้ ชส้ ามารถชาระค่าสินคา้ และบริการโดยการโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์จากบญั ชีธนาคารท่ีใหบ้ ริการโอนเงินอตั โนมตั ิดว้ ยเทคโนโลยกี ารส่ือสารที่ทนั สมยั กิจกรรมท่ีประยกุ ตใ์ ชก้ นั เป็ นประจา ไดแ้ ก่ การโอนเงินผา่ นทางตู้ ATMการแลกเปล่ียนขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI) เป็ นระบบแลกเปล่ียนขอ้ มลู เชิงทางอิเลก็ ทรอนิกส์ระหวา่ งองคก์ าร โดยใชแ้ บบฟอร์มของเองกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสงั่ สินคา้ ใบส่งของ ใบเรียกเก็บเงิน

การระบุลกั ษณะของวตั ถุดว้ ยคล่ืนความถี่วทิ ย(ุ RFID) เป็ นระบบระบุลกั ษณะของวตั ถุดว้ ยคล่ืนความถี่วทิ ยุ ปัจจบุ นั มีการนา RFID ไปประยกุ ตใ์ ชง้ านหลากหลายประเภทเช่น ห่วงโซ่อปุ ทาน ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใชใ้ นฟาร์มเล้ียงสุกร บตั รทางด่วน บตั รรถไฟฟ้ าใตด้ ินระบบหนงั สือเดินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ชนิดของสัญญาณขอ้ มูล 1. สญั ญาณแอนะลอ็ ก(Analog Signal) เป็ นสญั ญาณแบบต่อเน่ือง มีลกั ษณะเป็ นคลื่นไซน์ (Sine Wave) โดยท่ีแต่ละคล่ืนจะมีความถ่ีและความเขม้ ของ สญั ญาณที่ต่างกนั เม่ือนาสญั ญาณขอ้ มูลเหลา่ น้ีมาผา่ นอปุ กรณ์รับสญั ญาณและแปลงสญั ญาณและแปลงสญั ญาณก็ จะไดข้ อ้ มูลที่ตอ้ งการ เฮิรตซ์ (Hertz) คือหน่วยวดั ความถ่ึของสญั ญาณขอ้ มลู แบบแอนะลอ็ ก วธี ีวดั ความถ่ึจะนบั จานวนรอบของสญั ญาณที่เกิดข้ึนภายใน 1 วนิ าที เช่น ความถ่ึ 60 Hz หมายถึง ใน 1 วนิ าที สญั ญาณมีการเปล่ียนแปลงระดบั สญั ญาณ 60 รอบ2.สญั ญาณดิจิทลั (Digital Signal)สญั ญาณดิจิทลั เป็ นสญั ญาณแบบไม่ตอ่ เนื่อง รูปสญั ญาณของสญั ญาณมีความเปลี่ยนแปลงท่ีไมป่ ะติดปะตอ่ อยา่ งสญั ญาณแอนะลอ็ ก ในการส่ือสารดว้ ยสญั ญาณดิจิทลั ขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์ซ่ึงเป็ นเลขฐานสอง (0และ1) จะถกู แทนดว้ ยสญั ญาณดิจิทลั

Bit Rate เป็นอตั ราความเร็วในการส่งขอ้ มูลแบบดิจิทลั วธิ ีวดั ความเร็วจะนบั จานวนบิตขอ้ มลู ท่ีส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วนิ าที เช่น 14,400 bps หมายถึง มีความเร็วในการส่งขอ้ มลู จานวน 14,4001 บิตในระยะเวลา 1 วนิ าทีโมเดม็ (Modulator DEModulator หรือ Modem) โมเด็ม(Modem) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่แปลงสญั ญาณดิจิทลั จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใหเ้ ป็ นสญั ญาณแอนะลอ็ ก ความเร็วในการส่ือสารขอ้ มูลของโมเดม็ วนั เป็ นบิตต่อวนิ าที (bit per second หรือ bps) ความเร็วของโมเด็มโดยทวั่ ไปมีความเร็วเป็ น 56 กิโลบิตต่อวนิ าที

ทิศทางการส่งขอ้ มูล(Transmission Mode) สามารถจาแนกทิศทางการส่งขอ้ มลู ได้ 3 รูปแบบ1. การส่งขอ้ มูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission)2. การส่งขอ้ มลู แบบสองทิศทางสลบั กนั (Half-Duplex Transmission)3. การส่งขอ้ มูลแบบสองทิศทางพรอ้ มกนั (Full-Duplex Transmission)

ทิศทางการส่งขอ้ มูลตวั กลางการส่ือสาร1. สื่อนาขอ้ มลู แบบมีสาย(Wired Media) สื่อขอ้ มูลแบบมีสายท่ีนิยมใชม้ ี 3 ชนิดดงั น้ี สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable) สายคู่บิดเกลียว เป็นสายสญั ญาณนาขอ้ มลู ไฟฟ้ า สายแตล่ ะเสน้ มีลกั ษณะคลา้ ยสายไฟทวั่ ไป จานวนสายจะมีเป็ นคู่ เช่น 2 , 4 หรือ 6 เสน้ แต่ละคูจ่ ะมีพนั บิดเกลียว การบิดเกลียวน้ีจะชว่ ยลดสญั ญาณรบกวนที่เกิดข้นึ ในการส่งขอ้ มลู ทาใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ไดไ้ กลกวา่ ปกติ

 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาขอ้ มูลไฟฟ้ า มคี วามถี่ในการส่งขอ้ มลู ประมาณ 100 MHz ถึง500 MHz สายโคแอกเชียลมีความมเร็วในการส่งขอ้ มลู และราคาสูงกวา่ สายบิด เกลียว สายใยแกว้ นาแสง(Optical Fiber Cable) สายสญั ญาณทาจากใยแกว้ หรอื สารนาแสงหมุ ้ ดว้ ยวสั ดุ ป้องกนั แสง มคี วามเร็วในการสง่ สงู กบั ความเร็วแสง สามารถใชใ้ นการสง่ ขอ้ มลู ทม่ี คี วามถสี่ งู ได ้ สญั ญาณที่ สง่ ผา่ นสายใยแกว้ นาแสง คอื แสง และ สญั ญาณรบกวน จากภายนอกมเี พยี งอยา่ งเดยี ว คอื แสงจากภายนอก

2. ส่ือนาขอ้ มูลแบบไร้สาย(Wireless Media) การส่ือสารขอ้ มูลแบบไร้สาย จะใชอ้ ากาศเป็นตวั กลางของการสื่อสาร เช่น  แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็ นการสื่อสารขอ้ มลู โดยใชแ้ สงอินฟราเรดเป็ นสื่อกลาง การส่ือสารประเภทน้ีนิยมใช้ สาหรับการสื่อสารขอ้ มูลระยะใกล้ เช่น การส่ือการจากรีโมทคอนโทรลไปยงั เคร่ืองรับวทิ ยหุ รือโทรทศั น์  สญั ญาณวทิ ยุ (Radio Wave) เป็ นส่ือนาขอ้ มูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ท่ีมีการส่งขอ้ มูลเป็ นสญั ญาณคลื่อน วทิ ยไุ ปในอากาศไปยงั ตวั รับสญั ญาณ  ไมโครเวฟภาคพ้ืนดิน (Terrestrial Microwave) เป็ นการส่ือสารไรสายอีกประเภทหน่ึง การส่ือสารประเภทน้ีจะมี เสาส่งสญั ญาณไมโครเวฟท่ีอยหู่ ่างๆ กนั ทาการส่งขอ้ มลู ไปในอากาศไปยงั เสารับขอ้ มลู  การสื่อสารผา่ นดาวเทียม (Satellite Communication) เป็นการสื่อสารจากพ้นื โลกท่ีมีการส่งสญั ญาณขอ้ มูลไปยงั ดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทาหนา้ ท่ีเป็นสถานีทวนสญั ญาณ เพอื่ จดั ส่งสญั ญาณต่อไปยงั สถานีภาพพ้ืนดินอื่นๆ ระยะทางจะโลกถึงดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์

หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาเลือกส่ือนาขอ้ มูล 1. ราคา 2. ความเร็ว 3. ระยะทาง 4. สญั ญาณรบกวนที่อาจจะเกิดข้ึน 5. ความปลอดภยั ของขอ้ มลู 6.มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Protocols)  บลูทูธ (Bluetooth) บลูทธเป็ นชื่อท่ีนิยมเรียกสาหรับมาตรฐานเครือข่ายแบบ 802.15 บลูทูธเป็ นเทคโนโลยไี ร้สาย ที่ใชก้ ารส่งขอ้ มลู ทางคลื่น วทิ ยุ

 ไว-ไฟ (Wi-Fi) Wi-Fi หรือ Wireless Fidelity คือ เทคโนโลยกี ารเชื่อมคอมพิวเตอร์หรือPDA ต่อเขา้ กบัเครือขา่ ย LAN (Local Area Network) โดยการใชค้ ล่ืนวทิ ยเุ ป็นตวั ส่งสญั ญาณเพ่อื ใชใ้ นการรับส่งขอ้ มลู จึงเป็นลกั ษณะของ wireless ไมใ่ ช่ wire line การเชื่อมต่อลกั ษณะน้ีโดยมากในปัจจุบนั จะใชเ้ ทคโนโลยี Wireless LAN802.11b ซ่ึงสามารถรับส่งขอ้ มูลดว้ ยความเร็วสูงสุด 11 Mbps ซ่ึงนบั วา่ สูงมาก สูงกวา่ การตอ่ อินเตอร์เน็ทตามบา้ นแบบเทียบกนั ไม่ได้ และนอกจากน้นั การพฒั นามาใช้ 802.11g ยงั จะเพมิ่ ความเร็วไปถึง 54 Mbps (แต่ราคาคา่ ติดต้งักส็ ูงตามไปดว้ ยนะครับ) อยา่ งไรก็ตาม ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู แบบWi-Fi จะเป็ นการแชร์สญั ญาณกนัระหวา่ งผใู้ ช้ ดงั น้นั ถา้ หากมีจานวนผใู้ ชม้ ากข้ึน ความเร็วกจ็ ะลดลงตามไปดว้ ย ลกั ษณะการใชง้ านเพอ่ื ต่อเขา้กบั เนทเวริ ์คของระบบ Wi-Fi จะใชอ้ ปุ กรณ์หลกั ท่ีเรียกวา่ Access Point ซ่ึงสามารถใหบ้ ริการที่รัศมีประมาณ 50 ถึง 100 เมตรส่งสญั ญาณดว้ ยคลื่นความถ่ีท่ี 2.4 GHz (คลา้ ยๆ กบั Bluetooth แตใ่ นรัศมีท่ีกวา้ งกวา่มาก) แต่ก็อีกเช่นกนั ประสิทธิภาพในการส่งสญั ญาณจะดีหรือไมก่ ข็ ้ึนอยกู่ บั ระยะทางระหวา่ งโนต้ บุคของคุณกบัตวั Access Point ยงิ่ ไกลกนั ความเร็วก็จะลดลง หรือถา้ มีสิ่งกีดขวางมากๆ เช่น กาแพง ก็จะทาใหป้ ระสิทธิภาพของการรับส่งขอ้ มลู ลดลงไปดว้ ยเช่นกนั ส่วนโนต้ บคุ หรือPDA ของคณุ ท่ีใช้ ก็จะตอ้ งมี Wireless Access card ท่ีเป็ นมาตรฐานของ Wi-Fi เพอ่ื เขา้ ไปใชก้ บั เนทเวริ ์คน้นั ซ่ึงอปุ กรณ์รุ่นใหมๆ่ มกั จะมีตวั Wireless card น้ีติดมาเป็ นมาตรฐานของเคร่ืองอยแู่ ลว้ เทคโนโลยี Wi-Fi กาลงั เป็ นที่นิยมมากข้ึนเร่ือยๆ เช่นในสหรัฐอเมริกา ร้านMcDonalds ไดเ้ ร่ิมตดิ ต้งั ระบบ Wi-Fi ในบางสาขาแลว้ เช่นเดียวกบั ร้านกาแฟ Starbucks ดงั น้นั ลูกคา้ ท่ีเขา้ มานงั่รับประทานอาหารหรือนงั่ ดื่มกาแฟ กจ็ ะสามารถทางานไปดว้ ยได้ โดยการเช่ือมต่อเขา้ กบั ระบบเนทเวริ ์คความเร็วสูงที่ทางร้านจดั หาให้ นอกจากน้นั โรงพยาบาลในหลายๆ รัฐยงั ติดต้งั ระบบน้ีเพอื่ อานวยความสะดวกใหก้ บั แพทย์และนางพยาบาล ในการเขา้ ไปตรวจสอบขอ้ มลู ของคนไขเ้ พ่อื ตรวจ และสงั่ ยา เพอ่ื ความรวดเร็วและเพิม่ประสิทธิภาพในการทางาน และท่ีหรูหราไปกวา่ น้นั บริษทั ผลิตเคร่ืองบินโบอิ้งยงั ไดเ้ ริ่มท่ีจะติดต้งั ระบบ Wi-Fi น้ีในเครื่องโบอิ้งกวา่ 100 ลา ตอ่ ไปผโู้ ดยสารก็จะสามารถใชอ้ ินเตอร์เนท หรือใชโ้ ทรศพั ทร์ ะหวา่ งการเดินทางได้อยา่ งสะดวกสบาย ในประเทศไทย บริษทั หลายบริษทั ไดใ้ หค้ วามสนใจในการติด Wi-Fi ในอาคารสานกั งานเพือ่ ใหพ้ นกั งานสามารถเช่ือมต่อเขา้ กบั ระบบเนทเวริ ์คหรือแหล่งขอ้ มูลของบริษทั จากท่ีใดกไ็ ดใ้ นบริเวณอาคารส่วนผใู้ หบ้ ริการอินเตอร์เนท (ISP) กไ็ ดเ้ ร่ิมจบั มือกบั บริษทั ตา่ งๆ ในการติดต้งั Access Pointหรือท่ีเราเรียกวา่ Hotspot เพือ่ ใหบ้ ริการ Wi-Fi ตามสถานที่ต่างๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และไม่ใช่แต่เฉพาะในกรุงเทพฯบริการ Hot spot น้ียงั สามารถหาไดต้ ามโรงแรมในเมืองท่องเท่ียวใหญๆ่ อยา่ งเช่น หวั หิน เชียงใหม่ ภเู ก็ต หรือท่ีสมยุ ไดอ้ ีกดว้ ย ในดา้ นของการศึกษา มหาวทิ ยาลยั บางแห่ง เริ่มที่จะติดต้งั Access Point เพอื่ ใหน้ ิสิตนกั ศึกษาสามารถใชโ้ นต้ บุคส่วนตวั เขา้ มาใชใ้ นมหาวทิ ยาลยั เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพในการเรียนและการคน้ ควา้ หาขอ้ มลูต่างๆ และที่เห็นประโยชนอ์ ยา่ งชดั เจนของการใชร้ ะบบ Wi-Fi คือการติดต้งั Access Point ไวต้ ามที่ต่างๆ ในการประชุมผนู้ าเอเปคในคร้ังท่ีเพง่ิ ผา่ นมา เพราะนอกจากผนู้ าจากประเทศตา่ งๆ จะสามารถเชื่อมต่อกบั เนทเวริ ์คความเร็วสูง จากอุปกรณ์ของท่านเหลา่ น้นั เองแลว้ ประเทศไทยเรายงั ไดร้ ับการกล่าวถึงในเร่ืองของการใช้เทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการประชุมอีกดว้ ย

 ไว-แมกซ์ (Wi-MAX) ไว-แมกซ์ ยอ่ มาจาก Worldwide InterOperability for Microwave Access เป็ นเทคโนโลยี การสื่อสารไร้สายระดบั บรอดแบรนดบ์ นมาตรฐาน IEEE 802.16โดยสามารถส่งขอ้ มูลกระจายสญั ญาณจากจุด หน่ึงไปยงั หลายจดุ ไดพ้ ร้อมๆกนั

เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์เกิดจากการสื่อสารขอ้ มูลของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้งั แต่ 2 เคร่ืองข้ึนไป โดยใชว้ ธิ ีการส่ือสารขอ้ มลู ทว่ั ไปในการเชื่อมต่อส่ือสาร ระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยในการเชื่อมต่อน้นั ประสิทธิภาพของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ข้นึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบตา่ งๆ ดงั น้ีจานวนของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ภายในเครือข่าย ประสิทธิภาพของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ข้ึนอยกู่ บั จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตอ่ พว่ งภายในเครือข่าย กลา่ วคือ ถา้จานวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ท่ีตอ่ พว่ งมีจานวนมาก จะทาใหป้ ระสิทธิภาพของการสื่อสารต่า เน่ืองจากตอ้ งมีการแบ่งการใช้สื่อนาขอ้ มลู โดยคอมพวิ เตอร์หลายเครื่อง ในทางกลบั กนั ถา้ จานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมีจานวนเหมาะสมกบัอปุ กรณ์สื่อสาร จะทาใหร้ ะบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพสูงสื่อนาข้อมูล (transmission medium) เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ีใชส้ ื่อนาขอ้ มูลท่ีเหมาะสมกบั ระบบ จะเป็ นเครือข่ายที่สามารถสื่อสารขอ้ มูลกนั ไดอ้ ยา่ งดี แตถ่ า้มีการนาสื่อนาขอ้ มูล ท่ีมีความเร็วต่าหรือไม่ เหมาะกบั การใชง้ านมาใชใ้ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะทาใหเ้ ครือข่ายคอมพวิ เตอร์น้นั จะมปี ระสิทธิภาพต่า นอกจากการเลือก สื่อนาขอ้ มูลท่ีเหมาะสมแลว้ จะตอ้ งคานึงถึงวธิ ีการจดั วางสื่อนาขอ้ มูลเหล่าน้นั โดยการจดั วางสื่อนาขอ้ มูลจะตอ้ งจดั วางตาแหน่งใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน และสภาพแวดลอ้ มเครื่องคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ (hardware) การส่ือสารขอ้ มลู ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะตอ้ งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทาหนา้ ที่ต่างกนั ไป เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่าน้นั จะมีผล ตอ่ ประสิทธิภาพของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์อยา่ งยงิ่ ถา้ เครื่องคอมพวิ เตอร์เหลา่ น้นั มีประสิทธิภาพต่าจะทาใหเ้ ครือข่ายคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพต่าดว้ ย นอกจากเครื่องคอมพิวเตอร์แลว้ อุปกรณ์อื่นๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การส่ือสารขอ้ มลู ระหวา่ งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เช่น โมเด็ม ก็ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ต่อระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เช่นกนั 1. จานวนของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ภายในเครือข่าย ประสิทธิภาพของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ข้ึนอยกู่ บั จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อพว่ งภายในเครือข่าย กลา่ วคือ ถา้ จานวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ท่ีตอ่ พว่ งมจี านวนมาก จะทาใหป้ ระสิทธิภาพของการส่ือสารต่า เนื่องจาก ตอ้ งมีการแบ่งการใชส้ ื่อนาขอ้ มูลโดยคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ในทางกลบั กนั ถา้ จานวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ใน เครือขา่ ยมีจานวนเหมาะสมกบั อปุ กรณ์ส่ือสาร จะทาใหร้ ะบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพสูง 2. สื่อนาข้อมูล (transmission medium) เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่ใชส้ ่ือนาขอ้ มลู ท่ีเหมาะสมกบั ระบบ จะเป็ นเครือขา่ ยท่ีสามารถส่ือสารขอ้ มลู กนั ได้ อยา่ งดี แต่ถา้ มีการนาสื่อนาขอ้ มลู ที่มีความเร็วต่าหรือไม่ เหมาะกบั การใชง้ านมาใชใ้ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะทา

ใหเ้ ครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์น้นั จะมปี ระสิทธิภาพต่า นอกจากการเลือก ส่ือนาขอ้ มูลที่เหมาะสมแลว้ จะตอ้ งคานึงถึง วธิ ีการจดั วางสื่อนาขอ้ มูลเหลา่ น้นั โดยการจดั วางส่ือนาขอ้ มลู จะตอ้ งจดั วางตาแหน่งใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน และสภาพแวดลอ้ ม 3. เครื่องคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ (hardware) การส่ือสารขอ้ มลู ภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะตอ้ งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทาหนา้ ท่ีตา่ งกนั ไป เครื่อง คอมพวิ เตอร์เหล่าน้นั จะมีผล ตอ่ ประสิทธิภาพของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์อยา่ งยงิ่ ถา้ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เหล่าน้นั มี ประสิทธิภาพต่าจะทาใหเ้ ครือขา่ ยคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพต่าดว้ ย นอกจากเครื่องคอมพิวเตอร์แลว้ อปุ กรณ์ อ่ืนๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การส่ือสารขอ้ มูลระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่น โมเด็ม ก็ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ตอ่ ระบบ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เช่นกนั 4. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ช้ในการส่ือสารข้อมูล (software) โปรแกรมคอมพวิ เตอร์จะทาหนา้ ท่ีประมวลผลขอ้ มลู ท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ทาหนา้ ท่ีส่ง ขอ้ มลู รับขอ้ มลู หรือเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเป็นตวั กลางใน การติดต่อส่ือสารโปรกแรมคอมพวิ เตอร์ที่ใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มลู ที่ดี สามารถทาใหส้ ื่อสารขอ้ มูลได้โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (TOPOLOGY) การนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อกนั เพื่อประโยชนข์ องการสื่อสารน้นั สามารถกระทาไดห้ ลายรูปแบบ ซ่ึงแตล่ ะแบบกม็ จี ุดเด่นท่ีแตกตา่ งกนั ไป โดยทวั่ ไปแลว้ โครงสร้างของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลกั ษณะของการเช่ือมต่อดงั ตอ่ ไปน้ี

1. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบบสั (bus topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบสั จะประกอบดว้ ย สายส่งขอ้ มลู หลกั ที่ใชส้ ่งขอ้ มลู ภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมตอ่ เขา้ กบั สายขอ้ มูลผา่ นจดุ เชื่อมต่อ เม่ือมีการส่งขอ้ มลู ระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกนั จะมีสญั ญาณขอ้ มลู ส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใชส้ ายเคเบิ้ลแตล่ ะเคร่ือง ขอ้ ดีของการเช่ือมต่อแบบบสั คือ ใชส้ ื่อนาขอ้ มูลนอ้ ย ช่วยใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ ่าย และถา้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเครื่องหน่ึงเสียก็จะไม่ส่งผลตอ่ การทางานของระบบโดยรวม แต่มีขอ้ เสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาไดค้ ่อนขา้ งยาก และถา้ มีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือขา่ ยมากเกินไป จะมีการส่งขอ้ มลู ชนกนั มากจนเป็นปัญหา2. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน (ring topology) โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แตล่ ะการเช่ือมต่อจะมีลกั ษณะเป็ นวงกลม การส่งขอ้ มูลภายในเครือขา่ ยน้ีก็จะเป็นวงกลมดว้ ยเช่นกนั ทิศทางการส่งขอ้ มูลจะเป็ นทิศทางเดียวกนัเสมอ จากเคร่ืองหน่ึงจนถึงปลายทาง ในกรณีท่ีมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหน่ึงขดั ขอ้ ง การส่งขอ้ มูลภายในเครือข่ายชนิดน้ีจะไมส่ ามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใชส้ ายเคเบิ้ลนอ้ ย และถา้ ตดัเครื่องคอมพวิ เตอร์ที่เสียออกจากระบบ กจ็ ะไม่ส่งผลตอ่ การทางานของระบบเครือข่ายน้ี และจะไมม่ ีการชนกนั ของขอ้ มลู ที่แตล่ ะเครื่อง

3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว (star topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะตอ้ งมีจุกศูนยก์ ลางในการควบคุมการเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์ หรือ ฮบั (hub) การส่ือสารระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ จะส่ือสารผา่ นฮบั ก่อนที่จะส่งขอ้ มลู ไปสู่เครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่ืองอื่นๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีขอ้ ดี คือ ถา้ ตอ้ งการเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์เครื่องใหม่กส็ ามารถทาไดง้ ่ายและไม่กระทบต่อเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อ่ืนๆ ในระบบ ส่วนขอ้ เสีย คือ ค่าใชจ้ ่ายในการใชส้ ายเคเบิ้ลจะค่อนขา้ งสูง และเม่ือฮบั ไมท่ างาน การสื่อสารของคอมพวิ เตอร์ท้งั ระบบกจ็ ะหยดุ ตามไปดว้ ย4. โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบเมช (mesh topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเครื่องคอมพวิ เตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสญั ญาณจานวนมากเพอ่ื ท่ีจะเชื่อมตอ่ กบั เครื่องคอมพวิ เตอร์เครื่องอื่นๆทุกเคร่ือง โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์น้ีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แต่ละเครื่องจะส่งขอ้ มูล ไดอ้ ิสระไมต่ อ้ งรอการส่งขอ้ มลู ระหวา่ งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เครื่องอ่ืนๆ ทาใหก้ ารส่งขอ้ มูลมีความรวดเร็วแตค่ ่าใชจ้ ่ายสายเคเบิ้ลกส็ ูงดว้ ยเชน่ กนั

5. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบผสม (hybrid topology) เป็ นโครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ท่ีผสมผสานความสามารถของโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบรวมกนั ประกอบดว้ ยเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ยอ่ ยๆ หลายเครือขา่ ยท่ีมีโครงสร้างแตกต่างกนั มาเชื่อมต่อกนั ตามความเหมาะสม ทาใหเ้ กิดเครือข่ายท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการส่ือสารขอ้ มูลประเภทของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์  เซิร์ฟเวอร์(Server) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการต่างๆโดยแต่ละเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถมี เคร่ืองคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ไดห้ ลายเคร่ืองตามความตอ้ งการชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์มีดงั น้ี  ไฟลเ์ ซิฟเวอร์ (File Server) ทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการแฟ้ มขอ้ มูลแก่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์อื่นๆ ซ่ึงสามารถเรียกใชแ้ ฟ้ มงาน ตา่ งๆ จากเซิร์ฟเวอร์ได้  ดาตา้ เบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ทาหนา้ ที่ใหบ้ ริการฐานขอ้ มลู แก่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ภายในเครือขา่ ย  พรินตเ์ ซิร์ฟเวอร์ (Print Server) ทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการเครื่องพมิ พใ์ นการพิมพเ์ อกสารต่างๆ

 อินเทอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดตอ่ กบั เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตไดแ้ ละ ทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการแก่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์อื่นๆ ในการใชอ้ ินเตอร์เน็ต เวป็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) ทาหนา้ ที่เกบ็ ขอ้ มูลเวบ็ ไซต์ และเมือ่ เครื่องคอมพวิ เตอร์อื่นตอ้ งการเรียกดูขอ้ มลู จาก เวบ็ ไซตเ์ หล่าน้นั เวบ็ เซิร์ฟจะทาหนา้ ที่ส่งขอ้ มูลเหลา่ น้นั ไปให้ เมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) ทาหนา้ ที่เก็บจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Mails หรือ E-Mail) ระบบโดเมนเนม (Domain Name System Server) ทาหนา้ ท่ีเก็บชื่อโดเมน และแปลช่ือโดเมนใหเ้ ป็นอีแอดเดรส (IP Address) เวริ ์กสเตชนั่ (Workstation) เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทว่ั ๆ ไปที่สามารถทาการประมวลผลขอ้ มลู ต่างๆ ไคลเอนต์ (Client) เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีมีการเรียกใชข้ อ้ มูลจากเซิร์ฟเวอร์ เทอร์มินลั (Terminal) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีประกอบดว้ ยจอภาพ แป้ นพิมพ์ และอปุ กรณ์อ่ืนๆ เทอร์มนิ ลั ไมส่ ามารถ ประมวลผลขอ้ มูลไดด้ ว้ ยตนเองแต่ใชก้ ารสื่อสารขอ้ มูลกบั เซิร์ฟเวอร์และใหเ้ ซิร์ฟเวอร์ทาการประมวลผลขอ้ มลู พร้อมท้งั ส่งขอ้ มูลมาปรากฏบนจอภาพ

รูปแบบการประมวลผลขอ้ มลู ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computing Architecture)- การประมวลผลขอ้ มูลท่ีศูนยก์ ลาง (Centralized Processing)- การประมวลผลขอ้ มลู แบบไคลเอนต/์ เซิร์ฟเวอร์

ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์  Personal Area Network (PAN) เครือขา่ ยส่วนบคุ คล เป็ นเครือข่ายสาหรับการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและบริการ ตลอดจนการใชง้ านอปุ กรณ์ร่วมกนั เช่น เทคโนโลยี บลทู ูธ  Local Area Network (LAN) เครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบทอ้ งถิ่น ระยะทางการเช่ือมตอ่ ประมาณไม่ เกิน 10 กิโลเมตร มีความเร็วในการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ประมาณ 10-100 Mbps

 Metropolitan Area Network (MAN) เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ อาจครอบคุมพ้นื ที่ท้งั ตาบลหรืออาเภอ Wide Area Network (WAN) เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่มาก ภายในเครือข่ายประกอบไปดว้ ยเครือข่าย แลล Lan และ Man พ้ืนที่ของเครือข่ายแบบน้ี สามารถครอบคลุมไดท้ ้งั ประเทศ หรือทวั่ โลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook