Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

Published by เมตตา ชาญฉลาด, 2022-08-29 14:59:32

Description: ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

Search

Read the Text Version

ระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลการเรียน โรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

๑ ก คำนำ โรงเรียนบา้ นแกง้ ไดจ้ ัดทำหลักสตู รสถานศกึ ษาฉบบั ปรับปรงุ แก้ไขขึ้นใช้ในปีการศึกษา ๒๕๖3 โดย ยึดตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมนิ ผล การเรียนรู้ของสถานศึกษา เป็นเอกสารประกอบตามหลักสูตรฯ ที่จะช่วยขับเคลื่อนกระบวนการนำหลักสูตร ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังนน้ั โรงเรยี นบ้านแก้ง จงึ ไดจ้ ดั ทำระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมินผลการเรียน เพอ่ื อธบิ ายความ ให้ทุกฝ่ายตั้งแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีความเข้าใจที่ชัดเจนตรงกัน และทำงานร่วมกัน อย่างเป็นระบบ เอกสารประกอบด้วย ๒ ตอน ดงั น้ี ตอนที่ ๑ ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วย การวัดและประเมินผลการเรียนโรงเรียนบ้านแก้ง พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตอนที่ ๒ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนบ้านแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนโรงเรียน บ้านแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ท่ีเกีย่ วข้องทุกฝ่ายที่จะชว่ ยสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ ปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนเป็นแนวทางเดียวกันและเป็นมาตรฐานเดยี วกัน ส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ ตามหลักการ เจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ตอ่ ไป คณะผูจ้ ัดทำ ข ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๒ ข สารบญั หน้า คำนำ....................................................................................................................................................... ก สารบญั .................................................................................................................................................... ข ตอนที่ ๑ ระเบียบโรงเรียนว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนโรงเรียนบา้ นแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑…………. 1 ตอนท่ี ๒ แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นโรงเรยี นบ้านแก้ง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ............................................ 17 บรรณานุกรม.......................................................................................................................................... 42 คณะผจู้ ัดทำ............................................................................................................................................ 43 ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๑ ตอนท่ี ๑ ระเบียบโรงเรยี นวา่ ดว้ ย การวัดและประเมนิ ผลการเรียนโรงเรียนบ้านแกง้ พุทธศักราช ๒๕๖5 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๒ ประกาศโรงเรียนบ้านแกง้ เรื่อง ให้ใช้ระเบยี บการวดั และประเมินผลการเรียนโรงเรียนบา้ นแก้ง พทุ ธศักราช ๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ............................................................................ ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนโรงเรียนบ้านแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 เป็นระเบียบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแกง พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ดำเนินการตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เรื่องให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยระเบียบนี้กำหนดให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน โรงเรียนบ้านแก้ง พุทธศักราช ๒๕๖5 ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยเริ่มใช้ในปีการศึกษา ๒๕๖5 เม่ือ วนั ท่ี 17 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5 จึงประกาศให้ใช้ระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้โรงเรียนบ้าน แกง้ พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ประกาศ ณ วันท่ี วนั ท่ี 17 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ……………………………………… ……………………………………… ( นายพัสกร บญุ เฮา้ ) ( นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน ) ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน โรงเรยี นบ้านแกง้ โรงเรียนบา้ นแก้ง ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๓ ระเบียบโรงเรยี นบา้ นแก้ง วา่ ดว้ ยการวดั ผลและประเมินผลการเรยี น ระดับประถมศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ------------------------------------------------------------------- ตามที่โรงเรยี นบ้านแก้ง ได้ประกาศใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖3 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๘ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เรือ่ งใหใ้ ช้หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงเป็นการสมควร ที่กำหนดระเบียบโรงเรียนบ้านแก้ง ว่าด้วยการวัดผลและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพอ่ื ใหส้ ามารถดำเนินการได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และสอดคลอ้ งกบั คำสง่ั ดงั กลา่ ว ฉะนั้นอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงาน วิชาการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานโดยความเหน็ ขอบของคระกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน จงึ วางระเบียบไวด้ ังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนบ้านแก้ง ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนระดับ ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ขอ้ ๒ ระเบียบน้ีให้ใช้บังคบั ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5 เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลิกระเบยี บ ข้อบังคับ ที่ขดั แย้งกับระเบยี บน้ี ให้ใชร้ ะเบยี บนีแ้ ทน ข้อ ๔ ใหใ้ ช้ระเบียบน้ีควบคูก่ ับหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช ๒๕๖3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้อ ๕ ใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศึกษารกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้ ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๔ หมวดที่ ๑ หลักการวดั และประเมินผลการเรียน ขอ้ ๖ การประเมินผลการเรียนให้เปน็ ไปตามหลักการในต่อไปน้ี ๖.๑ สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบประเมินผลการเรียนของผู้เรียนโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ๖.๒ การวดั และประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชวี้ ดั ทีก่ ำหนดในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๖.๓ การประเมินผลการเรียนต้องประกอบด้วย การประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน การจดั การเรียนการสอน และการประเมนิ ผลเพื่อตัดสนิ ผลการเรยี น ๖.๔ การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดำเนินการ ด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย เหมาะสมกับสงิ่ ทต่ี อ้ งการวัด ธรรมชาติของรายวิชา และระดับช้นั ๖.๕ ให้มกี ารประเมินความสามารถของผูเ้ รียนในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ เขยี นในแต่ละชนั้ ๖.๖ ใหม้ กี ารประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี นในแต่ละช้นั ๖.๗ ใหม้ กี ารประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียนในระดับชาติในแต่ละช่วงชั้น ๖.๘ เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นได้ ๖.๙ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและรปู แบบการศกึ ษาตา่ ง ๆ ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๕ หมวดท่ี ๒ วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี น ข้อ ๗ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่ให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ให้เปน็ การประเมินเพื่อปรับปรงุ การเรียนมากกวา่ การตัดสินผลการเรยี น ประกอบดว้ ย ๗.๑ การประเมินผลระดับช้ันเรยี นเปน็ การวัดความกา้ วหน้าท้ังดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ ๗.๒ การประเมนิ ผลระดับสถานศึกษาเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า การเรียนรเู้ ปน็ รายปี และ ช่วงชั้น สำหรบั สถานศึกษานำข้อมลู ท่ีได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและการพัฒนาการเรียนการสอนและ คณุ ภาพของผู้เรยี นใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ รวมทง้ั พจิ ารณาตัดสินการเลือ่ นช่วงชั้น ๗.๓ การประเมินผลระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษา ของชาติ สำหรับนำผลการประเมินไปวางแผนดำเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอน และ พฒั นาการผู้เรยี นใหไ้ ดม้ าตรฐาน ๗.๔ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ เป็นการประเมินด้วยแบบประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐานระดับชาติ เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและ คุณภาพการศึกษาของชาติ สำหรับนำผลการประเมินไปวางแผนดำเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียน การสอน และพฒั นาการผู้เรียนใหไ้ ดม้ าตรฐาน ๗.๕ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินเพื่อสรุปความสำเร็จในการเรียนรู้ ของผู้เรียนในการจบช่วงชั้นและจบหลักสูตรการศึกษาในระดับต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้รับการรับรอง ความรแู้ ละวุฒิการศึกษาจากสถานศกึ ษา ข้อ ๘ แนวดำเนนิ การประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษา เพื่อให้การวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีการดำเนินการตามหลักการกระจายอำนาจมีการประเมินผู้เรียนตาม หลักการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกำกับติดตามประเมินคุณภาพการประเมินผลการ เรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดแนวดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนของ สถานศกึ ษา ดงั นี้ ๘.๑ สถานศกึ ษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดรูปแบบ ระบบและ ระเบยี บประเมนิ ผลของสถานศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นแนวปฏบิ ตั ใิ นการประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษา ๘.๒ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละรายวิชา และแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์และมาตรฐานการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนและหลักสูตรระดับท้องถิ่น เพื่อใช้เป็น เปา้ หมายในการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้รายภาค ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๖ ๘.๓ คณะอนุกรรมการระดับกลุ่มวิชาให้ความเห็นชอบของรูปแบบ วิธีการ เครื่องมือสำหรับ การประเมนิ และผลการตดั สินการประเมินผลการเรยี นรายวิชาของผู้สอน ๘.๔ ผสู้ อนจดั การเรยี นการสอน ตรวจสอบพฒั นาการของผเู้ รียน และประเมนิ สรุปผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยนำตัวชี้วัด ไปใช้เป็นข้อมูลรวมกับการประเมิน ปลายภาค/ปลายปี ๘.๕ หัวหน้าสถานศึกษาอนุมตั ิผลการเรียนปลายภาค/ปลายปี และการผา่ น จบการศกึ ษา ๘.๖ สถานศึกษาจัดทำรายงานผลการดำเนินการประเมินผลการเรียนประจำปี โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน ข้อ ๙ ให้มีการประเมนิ ผลการเรยี นในดา้ นต่าง ๆ ประกอบด้วย ๙.๑ การประเมินผลการเรียนในแต่ละรายวิชาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ซึ่งสถานศึกษา วิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด การประเมินรายวิชาให้ตัดสินผลการประเมินเป็นระดับ ผลการเรยี น ๘ ระดบั ดงั นี้ “๔” หมายถงึ ผลการเรยี นดีเยีย่ ม “๓.๕” หมายถึง ผลการเรยี นดีมาก “๓” หมายถงึ ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรียนค่อนข้างดี “๒” หมายถึง ผลการเรยี นนา่ พอใจ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถึง ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์ข้นั ต่ำท่ีกำหนด “๐” หมายถงึ ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด ๙.๒ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประกอบด้วย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมบำเพ็ญเพื่อสาธารณประโยชน์ การร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการประเมินความสามา รถ และพัฒนาการของผู้เรียน ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์ของแต่ละ กิจกรรม และตดั สินผลการประเมินเป็น ๒ ระดบั ดังน้ี “ผา่ น” หมายถึง ผา่ นเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด “ไม่ผ่าน” หมายถงึ ไมผ่ ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๙.๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามคุณลักษณะที่สถานศึกษากำหนด การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะประเมินเป็นรายคุณลักษณะทุกภาคเรียน และตัดสิน ผลการประเมนิ เป็น ๔ ระดับ ดังน้ี ดีเยีย่ ม หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตัวบง่ ชี้ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ ๘๐ – ๑๐๐ ของจำนวนตัวบ่งชค้ี ุณลักษณะนัน้ ๆ แสดงว่า ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลักษณะน้ัน ๆ จนสามารถเปน็ แบบอยา่ งแกผ่ ู้อน่ื ได้ ดี หมายถึง ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บ่งชีผ้ ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ ๖๕ – ๗๙ ของจำนวนตวั บ่งชีค้ ุณลกั ษณะนัน้ ๆ แสดงว่า ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะนนั้ ๆ ดว้ ยการปฏบิ ัตดิ ้วยความเต็มใจ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๗ ผ่าน หมายถงึ ผ้เู รียนมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ชผ้ี ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๕๐ – ๖๔ ของจำนวนตวั บ่งชค้ี ุณลกั ษณะน้ัน ๆ ได้ปฏบิ ตั ิตน ดว้ ยความพยายามปฏบิ ัติตนตามคำแนะนำ ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผ้เู รียนมพี ฤติกรรมตามตัวบ่งช้ีผา่ นเกณฑ์ ต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ ของจำนวนตัวบ่งช้ใี นคุณลักษณะนั้น แสดงวา่ ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะนั้น ๆ ต้องมผี ู้อน่ื คอยกระตนุ้ เตือน เมื่อเลื่อนชั้นจะพิจารณาจากผลการประเมิน ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน โดยต้องมีผลการประเมิน อยใู่ นระดบั “ผ่าน” ข้นึ ไป ๙.๔ การประเมนิ ความสามารถอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เป็นการประเมินทักษะ การคดิ และการถ่ายทอดความคิดด้วยทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์ ตามเงื่อนไข และวิธีการที่สถานศึกษา กำหนดและตัดสนิ ผลการประเมนิ เปน็ ๔ ระดบั ดงั นี้ - ดเี ยีย่ ม - ดี - ผ่าน - ไม่ผ่าน เม่ือเลือ่ นชัน้ จะพิจารณาจากผลการประเมิน ดีเยยี่ ม, ด,ี ผ่าน โดยตอ้ งมผี ลการประเมินอยู่ ในระดบั “ผา่ น” ข้นึ ไป ๙.๕ การตัดสนิ ผลการเรยี นเลอ่ื นชน้ั เปน็ การนำผลการประเมนิ ในดา้ นต่าง ๆ มาประมวลสรุป เพือ่ ตดั สินให้ผู้เรยี นผ่านระดับตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียนแต่ละระดับช้นั ข้อ ๑๐ เกณฑ์การตัดสินผลการเรียนจบหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาข้ัน พื้นฐานท่ีผ่านการศึกษาแต่ละชั้น และจบหลักสูตรสถานศึกษาครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตรของ สถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาจึงกำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน การจบหลักสตู ร การศึกษาภาคบงั คบั ไว้ ดังน้ี ๑๐.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/เพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานกำหนด (๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด (๔) ผเู้ รยี นมีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในระดบั ผ่านเกณฑ์ การ ประเมนิ ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ การประเมินตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ๑๐.๒ เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๘ หมวดที่ ๓ เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ ๑๑ การตดั สนิ ผลการเรียนใหถ้ ือปฏบิ ัติดังน้ี ๑๑.๑ พิจารณาตัดสินว่า ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทงั้ ๘ กลุ่ม และได้รับผลการเรียน ๑ ถงึ ๔ ๑๑.๒ การตัดสินพิจารณาว่าผู้เรียนจะนับจำนวนชั่วโมง / จำนวนหน่วยกิตจะต้องได้รับ ผลการเรียน ๑ ถงึ ๔ ๑๑.๓ ได้รับการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เป็นรายภาค และนำไปตัดสิน การเลื่อนชั้น โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดให้ได้ผลการประเมนิ เป็นดเี ยี่ยม ดี และผ่าน ถ้าไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมนิ ให้ได้ผลการประเมนิ “ไม่ผา่ น” ๑๑.๔ ได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นรายภาค และนำไปตัดสิน การเลื่อนชั้น โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดให้ได้ผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน ถา้ ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ให้ได้ผลการประเมนิ เปน็ “ไมผ่ ่าน” ๑๑.๕ ได้รับการตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายภาคโดยถ้าผ่านเกณฑ์ การประเมินให้ได้ผลประเมนิ เป็น “ผ” และถา้ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ใหผ้ ลประเมินได้ “มผ” ๑๑.๖ วัดผลปลายภาค/ปลายปีเฉพาะผู้มีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ เสนอผ่านคณะ กรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการเหน็ ชอบ และเสนอผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิ ๑๑.๗ ผู้เรียนที่มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น และไม่ได้รับการ ผอ่ นผนั ใหเ้ ข้ารับการวดั ผลปลายภาค/ปลายปีเรยี นให้ไดผ้ ลการเรียน “มส” ๑๑.๘ ผู้เรียนทมี่ ีผลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดให้ ได้ระดบั ผลการเรยี น “๐” ๑๑.๙ ผู้เรียนที่ทุจริตในการสอบหรือทุจริตในงานที่มอบหมายให้ทำในรายวิชาใด ครั้งใด ก็ตาม ให้ได้คะแนน “๐” ในคร้งั นัน้ ๑๑.๑๐ ผู้เรียนทีไ่ ม่ได้วัดผลรายภาค ไม่ได้ส่งงานที่ได้รบั มอบหมายให้ทำ หรือมีเหตุสุดวิสยั ท่ี ทำใหป้ ระเมินผลการเรยี นไม่ได้ ใหไ้ ด้ผลการเรยี น “ร” กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะไม่ส่งงานนั้นจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ขอ้ ๑๒ การเปล่ียนผลการเรียนใหถ้ อื ปฏบิ ัติ ดงั นี้ ๑๒.๑ การเปล่ียนผลการเรยี น “๐” ควรจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในตัวชี้วัดที่ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวให้และให้ สอบแก้ตัวได้ไมเ่ กนิ ๒ ครงั้ ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศกึ ษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กำหนดไว้น้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๙ ถ้าสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “๐” อีกให้แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนนิ การเกีย่ วกบั การแก้ผลการเรยี นของผเู้ รยี นโดยปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑) ใหเ้ รียนซำ้ รายวิชาถ้าเปน็ รายวิชาพนื้ ฐาน ๒) ใหเ้ รยี นซำ้ หรอื เปลีย่ นรายวิชาเรยี นใหม่ ถ้าเปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ โดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจ ของสถานศกึ ษา ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่า เรียนแทน รายวชิ าใด ๑๒.๒ การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” การเปลย่ี นผลการเรยี น “ร” มี ๒ กรณี ดังนี้ ๑) มีเหตุสุดวิสัย ทำให้ ประเมินผลการเรียนไม่ได้ เช่น เจ็บป่วย เมื่อผู้เรียนได้เข้าสอบ หรอื ส่งผลงานที่ติดค้างอยเู่ สร็จเรยี บร้อย หรือแกป้ ญั หาเสร็จสิ้นแล้ว ให้ได้ระดับผลการเรียนตามปกติ (ตั้งแต่ ๐ – ๔) ๒) ถา้ สถานศึกษาพิจารณาแล้วเหน็ วา่ ไม่ใชเ่ หตสุ ุดวิสยั เมือ่ ผ้เู รียนได้เข้าสอบ หรอื ส่งผล งานทีต่ ิดค้างอยู่เสรจ็ เรยี บร้อย หรอื แก้ปญั หาเสร็จสน้ิ แลว้ ให้ไดร้ ะดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถา้ ผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “ร” ตามระยะเวลาทกี่ ำหนดไว้ให้เรียนซ้ำรายวิชา ยกเวน้ มีเหตสุ ดุ วสิ ัย ให้อยู่ ในดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน แตเ่ ม่ือพ้นกำหนดน้ี แลว้ ใหป้ ฏิบตั ิ ดงั นี้ (๑) ใหเ้ รียนซ้ำรายวิชา ถ้าเป็นรายวชิ าพ้นื ฐาน (๒) ให้เรยี นซำ้ หรอื เปล่ียนรายวชิ าเรยี นใหม่ ถา้ เปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ โดยให้อย่ใู นดุลย พนิ ิจของสถานศกึ ษา ในกรณีท่ีเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรียนว่า เรยี นแทน รายวิชาใด ๑๒.๓ การเปล่ยี นผลการเรียน “มส” การเปล่ียนผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั น้ี ๑) กรณผี ู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมด ให้สถานศึกษาจัดใหเ้ รียนเพิ่มเติมโดยใชช้ ว่ั โมงสอนซ่อมเสริม หรือเวลาว่าง หรือวันหยดุ หรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามท่ีกำหนดไว้สำหรับรายวิชานนั้ แล้วจึงให้สอบเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีนี้ให้กระทำให้เสร็จสิ้นในปกี ารศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนด ไว้นี้ให้เรียนซ้ำ ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน แต่เมื่อพน้ กำหนดนแ้ี ล้ว ให้ปฏบิ ัตดิ ังน้ี - ใหเ้ รียนซ้ำรายวชิ า ถ้าเป็นรายวชิ าพื้นฐาน - ใหเ้ รียนซ้ำหรือเปลีย่ นรายวิชาเรียนใหม่ ถา้ เปน็ รายวชิ าเพิม่ เติมโดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจ ของสถานศึกษา ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๑๐ ๒) กรณีผเู้ รียนได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ำในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนร ายวิชาใหม่ได้ สำหรบั รายวชิ าเพมิ่ เตมิ เท่าน้ัน ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน รายวิชาใด ในกรณภี าคเรยี นที่ ๒ หากผู้เรยี นยงั มีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ให้ดำเนนิ การให้เสรจ็ สิ้น ก่อนเปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศกึ ษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรยี น ของผเู้ รยี นได้ ทั้งน้ี โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ตน้ สงั กดั ควรเป็นผู้พจิ ารณาประสานใหม้ ีการ ดำเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแกไ้ ขผลการเรียนของผ้เู รยี น ๑๒.๔ การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓ กิจกรรม คือ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ หรือกิจกรรมชมรม โดยผู้เรียนเลือกอย่างใด อย่างหนึ่ง ๑ กิจกรรมและเลือกเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม หรือชมรมอีก ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมจน ครบตามเวลาที่กำหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ต้องปรับปรุง แก้ไข แล้วจึงเปลี่ยนผล การเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ทั้งนี้ดำเนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปีการศึกษานั้ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ ในดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษา ๑๒.๕ การเปลี่ยนแปลงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ไม่ผ่าน” ให้คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดำเนินการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข หรือ ตามวิธกี ารท่คี ณะกรรมการกำหนด เพื่อใหผ้ เู้ รียนผา่ นเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ข้อ ๑๓ การตดั สินใหผ้ เู้ รียนเล่ือนช้นั / ซ้ำชน้ั ๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวิชานนั้ ๆ ๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด คือ ตวั ช้ีวดั ทต่ี ้องผ่าน ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของแต่ละรายวิชา ๓) ผู้เรยี นต้องได้รบั การตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า ๔) ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการประเมิน และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ถ้าผู้เรียนไม่ผ่านให้ดำเนินการสอนซ่อมเสริม แล้วทำการประเมินจนผู้เรียนสามารถผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ๑๓.๑ การเลื่อนช้ัน ผูเ้ รยี นจะได้รับการตดั สนิ ผลการเรียนทุกภาคเรยี นและได้รับการเล่อื นชั้นเมื่อส้ินปีการศึกษาโดย มีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั นี้ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๑๑ ๑) รายวิชาพื้นฐาน ได้รบั การตดั สนิ ผลการเรียนผา่ นทุกรายวิชา ๒) รายวชิ าเพ่มิ เติม ได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นผา่ นตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด ๓) ผู้เรียนต้องรับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔) ระดับผลการเรยี นเฉลย่ี ในปกี ารศกึ ษาน้นั ควรไดไ้ มต่ ำ่ กว่า ๑.๐๐ ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับ การ แกไ้ ขในภาคเรียน/ปกี ารศกึ ษา ถดั ไป ๑๓.๒ การเรียนซำ้ สถานศึกษาจะจดั ให้ผเู้ รยี นเรียนซ้ำใน ๒ กรณี ดงั น้ี กรณีที่ ๑ เรียนซ้ำรายวิชา หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ คร้ัง แล้วไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดให้ เรียนซ้ำในชว่ งใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เชน่ พักกลางวัน วนั หยุด ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดรู ้อน เป็นต้น กรณที ี่ ๒ เรยี นซ้ำชน้ั มี ๒ ลกั ษณะ คือ - ผเู้ รียนมีระดับผลการเรยี นเฉลี่ยในปกี ารศึกษานัน้ ตำ่ กว่า ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ วา่ จะเป็น ปญั หาต่อการเรยี นในระดับชน้ั ทสี่ งู ขึน้ - ผเู้ รียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครง่ึ หนง่ึ ของวิชาทีล่ งทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ทัง้ น้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหนงึ่ หรอื ทัง้ ๒ ลักษณะให้สถานศึกษาแต่งตง้ั คณะกรรมการ การพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียน ใหมแ่ ทน หากพจิ ารณาแลว้ ไมต่ ้องเรียนซ้ำช้ัน ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการเรยี น ๑๓.๓ การสอนซอ่ มเสรมิ การสอนซ่อมเสริม เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเปน็ การใหโ้ อกาสแก่ผู้เรียน ให้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติเพ่ื อแก้ไข ข้อบกพร่องที่พบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ของผู้เรยี น การสอนซ่อมเสรมิ สามารถดำเนินการไดใ้ นกรณี ดงั ต่อไปน้ี ๑) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการ ซอ่ มเสริม ปรบั ความรู้/ทักษะพืน้ ฐาน ๒) การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการหรือ เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะท่ีกำหนดไว้ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด ๓) ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับผล การเรียน “๐” ตอ้ งจัดการสอนซอ่ มเสรมิ กอ่ นจะให้ผเู้ รียนสอบแก้ตวั ๔) ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ให้อยู่ใน ดุลยพนิ ิจของสถานศึกษา ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศักราช 2565

๑๒ หมวดที่ ๔ การเทียบโอนผลการเรียน ข้อ ๑๔ การเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนำผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย มาประเมนิ เป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สูตรใดหลักสูตรหนง่ึ แนวการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี นใหเ้ ป็นไปตามระเบียบสถานศึกษาวา่ ด้วยการเทียบโอน ผลการเรียน ดังนี้ ๑๔.๑ ผู้ขอเทียบโอนต้องขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษา ทั้งนี้โดยผู้ขอเทียบโอน จะต้องไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในระบบโดยสถานศึกษาดังกล่าวดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ในภาคเรียนแรกท่ีขนึ้ ทะเบียนเป็นนักเรยี น ยกเว้นกรณีมีเหตจุ ำเปน็ ๑๔.๒ จำนวนสาระการเรียนรู้ รายวิชา จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอน และอายุของ ผลการเรียนที่จะนำมาเทียบโอน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ สถานศกึ ษา ท้ังนเ้ี มื่อเทยี บโอนแลว้ ต้องมีเวลาเรยี นอย่ใู นสถานศึกษาที่จะรบั เทยี บโอนไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคเรียน ๑๔.๓ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน ผลการเรียนจำนวนไม่นอ้ ยกว่า ๓ คนแตไ่ ม่เกิน ๕ คน ข้อ ๑๕ การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดงั นี้ ๑๕.๑ การเทียบระดับการศึกษา หมายถึงการนำผลการเรียน ความรู้และประสบการณ์ที่ได้ จากการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ไม่แบ่งระดับมาประเมนิ เพื่อเทียบเท่าการศึกษาระดับ ใดระดับหน่ึง มี แนวทางการเทยี บระดับการศึกษาดงั น้ี ๑) ผู้ขอเทียบระดับการศึกษาจะต้องไม่เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาในระบบ หรือ สถานศกึ ษานอกระบบท่จี ดั การศึกษาเปน็ ระบบเดยี วกนั กบั การศึกษาในระบบ และเปน็ ผ้สู ำเร็จการศึกษาตาม หลักสตู รของกระทรวงศกึ ษาธิการ ในระดบั ทต่ี ำ่ กว่าระดับการศึกษาท่ขี อเทียบ ๑ ระดับ ผูไ้ ม่เคยมีวฒุ ิการศึกษาใด ๆ จะขอเทียบระดับการศึกษาได้ไมเ่ กนิ ระดับประถมศกึ ษา ๒) ให้สถานศึกษาซึ่งเป็นที่ทำการเทียบระดับการศึกษา ดำเนินการเทียบระดับด้วย การประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ขอเทียบระดับ ด้วยวิธีการที่หลากหลายทั้งด้วย การทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ให้ครอบคลุมคุณลักษณะของผู้เรียน ทง้ั ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย จติ พสิ ัย และทักษะพิสัย ตามเกณฑ์มาตรฐานของหลกั สูตรท่ขี อเทยี บระดับ ๓) ผู้ผ่านการประเมินจะได้รับหลักฐานแสดงผลการประเมินเทียบระดับความรู้และ ใบประกาศนียบตั รรบั รองระดบั ความรู้ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๕.๒ การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนำผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ทักษะ และ ประสบการณ์ของผู้เรยี นทีเ่ กิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และผล การศึกษา จากต่างสถานศึกษามาประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งที่กำลัง ศกึ ษา มีแนวการดำเนินการดังน้ี ๑) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษากำหนดจำนวนรายวิชา จำนวนหน่วยกิต ที่สถานศึกษาจำกัดให้ผู้เรียนสามารถขอเทียบโอนได้ในการศึกษาตามหลักสูตรของ สถานศึกษาแต่ละช่วงชั้น ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องเหลือรายวิชาที่จะต้องศึกษาในสถานศึกษาอีกอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น พรอ้ มกบั การกำหนดแนวทางและวิธีการเทียบโอนท้ังกรณีเทียบโอนผลการเรียนเดิมท่ีผู้เรียนศึกษา ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๑๓ ก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา และกรณีเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนขออนุญาตไปศึกษาต่างสถานศึกษา จะต้องจัดทำเป็นระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงว่าด้วย การเทยี บโอนผลการเรียนด้วย ๒) สถานศกึ ษาแต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี นของสถานศึกษาให้ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีกำหนดสาระ จัดสร้างเคร่อื งมอื สำหรับการเทยี บโอนผลการเรยี น และดำเนินการเทียบโอนผล การเรยี น ๓) คณะกรรมการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ทำการเทียบโอนผลการเรียนให้ผเู้ รียน ในกรณี ต่อไปน้ี กรณีการเทียบโอนผลการเรียนเดิม ที่เรียนศึกษามาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา ใหด้ ำเนินการ ดงั นี้ (๑) ให้ดำเนนิ การให้เสร็จในภาคเรยี นแรกที่ผู้เรยี นเข้าศึกษาในสถานศกึ ษา (๒) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรยี นเป็นรายวิชา (๓) ผู้เรียนยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษรขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตรของ สถานศกึ ษา ตามจำนวนรายวิชาทส่ี ถานศึกษากำหนดไวใ้ นระเบียบการเทียบโอนผลการเรยี นของสถานศึกษา ให้ผเู้ รียนย่นื คำรอ้ ง พรอ้ มเอกสารหลักสูตรที่นำมาขอเทียบ และเอกสารการศึกษาทไ่ี ด้รับมา (ถา้ ผู้เรยี นมี) (๔) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนพิจารณาหลักสูตรและหลักฐาน เอกสารเดิมของผู้เรียน เพื่อเปรียบเทียบหลักสูตรที่เรียนมากบั หลกั สตู รของสถานศึกษาในรายวิชาที่ขอเทยี บ ถ้ามีจุดประสงค์และเนื้อหาสาระตรงกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ให้รับเทียบโอนได้ และให้ได้ระดับผลการ เรียนตามที่ได้มาในกรณีที่ผู้เรียนย้ายสถานศึกษา แต่ถ้าเป็นกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาต่าง ระบบ ให้คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนพิจารณาว่าควรยอมรับผลการเรียนเดิมหรือไม่ ถ้าไม่ยอมรับก็ ตอ้ งประเมนิ ให้ใหม่ด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ท่เี หมาะสม (๕) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดให้มีการประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณข์ องผเู้ รียนใหม่ ตามตวั ชว้ี ดั ของรายวิชาท่ีผู้เรียนขอเทียบในกรณีที่ผู้เรียนไม่ มีเอกสาร หลักฐานการศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรที่ผู้เรียนนำมาขอเทียบโอนมีความสอดคล้องกับ ตวั ช้ีวดั และเนื้อหาสาระของหลักสตู รที่ขอเทียบไม่ถึงร้อยละ ๖๐ ผ้เู รยี นท่ผี า่ นการประเมินจะได้รับการเทียบ โอนผลการเรียนได้ โดยได้ระดับผลการเรียนตามที่ประเมินได้ ส่วนผู้ที่ไม่ผ่านการประเมินจะไม่ได้รับการ เทยี บโอนผลการเรยี น กรณีผู้เรียนขออนุญาตไปศกึ ษารายวชิ าใดรายวิชาหน่งึ ต่างสถานศึกษาหรือขอศึกษา ด้วยตนเองใหด้ ำเนนิ การดังน้ี (๑) ให้ดำเนินการโดยผู้เรียนยื่นคำร้องไปศึกษาต่างสถานที่หรือต่างรูปแบบต่อ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซึ่งจะพิจารณาผลการเรียนและความจำเป็นของผู้เรียนตามระเบียบ การจัดการศกึ ษา ๓ รูปแบบ ของสถานศกึ ษาทจ่ี ะจัดการศึกษาในระบบ (๒) รายวิชาที่ผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานที่ หรือต่างรูปแบบต้องมีจุดประสงค์และ เนื้อหาสาระสอดคล้องกับรายวชิ าในหลักสูตรของสถานศกึ ษาท่ีจะนำมาเทยี บโอนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ (๓) กรณีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานศึกษาหรือระบบที่มีสถานศึกษาจัดการเรียน การสอนแน่นอน ถ้าเห็นควรอนุญาตให้ไปเรียนได้ให้มีการประสานงาน เรื่องการจัดการเรียนการสอน ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศักราช 2565

๑๔ การประเมินผล และการรับโอนผลการเรียนก่อน เมื่อได้ตกลงร่วมกันเรียบร้อยแล้วจึงจะอนุญาตเมื่อศึกษา สำเร็จ ให้รบั โอนผลการเรยี นไดท้ นั ที (๔) กรณีผู้เรียนขออนุญาตศึกษาด้วยตนเอง หรือศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่สามารถ ติดต่อประสานได้ ถ้าคณะกรรมการพิจารณาความจำเป็นแล้ว เห็นควรอนุญาต เมื่อผู้เรียนมารายงานผล การเรียน ให้คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนทำการเทียบโอนผลการเรียนให้ผู้เรียน เช่นเดียวกันกรณกี ารเทียบโอนผลการเรยี นเดิมที่ผูเ้ รียนศึกษามาก่อนเข้าศกึ ษาในสถานศึกษา (๕) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศกึ ษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษา อนมุ ตั ผิ ลการเทียบโอนผลการเรียน ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๑๕ หมวดที่ ๕ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา ขอ้ ๑๖ ให้สถานศึกษาจดั ให้มีเอกสารหลักฐานการประเมินผลการเรียนต่าง ๆ ดงั น้ี ๑๖.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ. ๑) เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียน ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้เรียนในแต่ละชั้นของหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อให้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสำเร็จในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนใช้เป็น หลักฐานในการสมัครเขา้ ศึกษาต่อทำงานหรือดำเนินการในเร่ืองอ่นื ท่ีเกยี่ วข้อง ๑๖.๒ หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ. ๒) เป็นเอกสารทีส่ ถานศึกษา ออกให้กับผู้สำเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนำไปใช้เป็นหลักฐานแสดงระดับ วุฒิการศึกษาของตน ๑๖.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นแบบรายงานรายชื่อข้อมูลของผู้สำเร็จ การศึกษาภาคบังคับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบยืนยันและรับรอง ความสำเรจ็ และวุฒิการศึกษาของผสู้ ำเรจ็ การศึกษาแต่ละคน ตอ่ เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาและกระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๖.๔ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.๔) เป็นเอกสารรายงาน พัฒนาการด้านคุณลักษณะของผู้เรียนเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สถานศึกษากำหนดขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นพิเศษ เพื่อการแก้ปัญหาหรือสร้างเอกลักษณ์ให้ผู้เรียนตาม วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการประเมินที่แสดงถึงสภาพหรือระดับคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม หรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละชั้น สถานศึกษาต้องจัดทำเอกสารนี้ให้ผู้เรียน ทุก ๆ คน ควบคู่กับระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียน เพื่อนำไปใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณลักษณะของ ผ้เู รียนเพ่อื ประกอบในการสมัครศึกษาตอ่ หรือสมัครทำงาน ๑๖.๕ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ. ๕) เป็นเอกสารสำหรับผู้สอนใช้ บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนแต่ละคนที่เรียนในห้องเรียนกลุ่มเดียวกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปรบั ปรุง แก้ไข สง่ เสริม และตดั สินผลการเรยี นของผูเ้ รียน รวมทั้งใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสำหรบั ตรวจสอบ ยนื ยัน สภาพการเรียน การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ และผลสมั ฤทธิข์ องผเู้ รียนแตล่ ะคน ๑๖.๖ แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ. ๖) เปน็ เอกสารสำหรับบันทึก ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลการเรยี น พฒั นาการในด้านต่าง ๆ และขอ้ มูลอ่นื ๆ ของผเู้ รยี น ๑๖.๗ ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. ๗) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการเฉพาะ กิจเพื่อรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว ทั้งกรณีผู้เรียนยังไม่สำเร็จการศึกษาและ สำเร็จการศกึ ษาแลว้ ๑๖.๘ ระเบียนสะสม (ปพ. ๘) เป็นเอกสารสำหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและผลงาน ด้านตา่ ง ๆ ของผู้เรียนท้งั ทส่ี ถานศกึ ษาและทีบ่ ้าน เพอ่ื ประโยชน์ในการแนะแนวผู้เรยี นในทุก ๆ ดา้ น ๑๖.๙ สมุดบันทึกผลการเรยี น (ปพ. ๙) เปน็ สมุดบันทึกผลการเรียนร้ทู ส่ี ถานศึกษาจดั ทำขึ้นเพื่อ บันทึกรายการรายวิชาต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะต้องเรียนในแต่ละชั้น ตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา พร้อมด้วยผลการประเมินการเรียนของแต่ละรายวิชา และสถานศึกษาออกให้ผู้เรียนสำหรับใช้ศึกษาและนำ แสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานที่สนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของรายวิชาต่าง ๆ ของ สถานศกึ ษา พร้อมด้วยผลการเรียนของผู้เรียนจากการเรยี นแต่ละรายวชิ า กรณีทผ่ี ู้เรียนยา้ ยสถานศกึ ษา ข้อมูลในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นข้อมูลในการเทียบโอนผลการเรียน จากสถานศกึ ษาเดิมไปเปน็ ผลการเรียนตามหลกั สตู รของสถราะนเบศยี บึกวษดั ผาลใแหละมก่ารประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๑๖ หมวดท่ี ๖ บทเฉพาะกาล ขอ้ ๑๗ ใหป้ ระธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการของสถานศึกษารักษาการให้เป็นไป ตามระเบียบน้ี ข้อ ๑๘ กรณีมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ให้เสนอคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอนุมัติและ ให้ความเห็นชอบก่อนนำไปใช้ ประกาศ ณ วนั ที่ 17 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ....................................................... ( นายวสกุ ฤต สวุ รรณเทน ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านแกง้ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๑๗ ตอนท่ี ๒ แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านแกง้ พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สว่ นที่ ๑ การประเมินผลการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ สว่ นท่ี ๒ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ส่วนท่ี ๓ การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ส่วนที่ ๔ การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน สว่ นท่ี ๕ เกณฑก์ ารตดั สนิ การเลอ่ื นช้ัน และจบหลักสตู ร ส่วนที่ ๖ การประเมนิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดับชาติ ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๑๘ แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เป้าหมายสำคัญของการประเมินผลการเรียนหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ เพื่อนำผลการประเมินไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐาน การเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการนำผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูล ในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนโดยตรง นำผลไปปรับปรุงแก้ไขผล การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น รวมทั้งนำไปใช้ในการพิจารณาตดั สินความสำเรจ็ ทางการ ศึกษาของผูเ้ รยี น ตลอดจนความสำเรจ็ ของผู้สอนอกี ด้วย การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสตู รการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดหนองดนิ แดง (ประชารฐั อุทิศ) ประกอบดว้ ย ส่วนท่ี ๑ การประเมินผลการเรียนรตู้ ามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ การประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้งั ๘ กลมุ่ โรงเรียนได้ดำเนินการประเมินผล ในลักษณะต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น การประเมินผลก่อนเรียน กำหนดให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้อง ประเมินผลก่อนเรียน เพื่อหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบื้องต้น สำหรับนำไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับพื้นฐานของผูเ้ รียน ตามแนวทางการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ แต่จะไม่นำ ผลการประเมินนี้ไปใช้ในการพิจารณาตดั สินผลการเรียน การประเมินผลก่อนเรยี นประกอบด้วยการประเมิน ดังตอ่ ไปนี้ ๑.๑ การประเมนิ ความพรอ้ มและพน้ื ฐานของผู้เรียน เป็นการตรวจสอบความรู้ ทักษะ และความพร้อมต่าง ๆ ของผู้เรียนที่เป็นพื้นฐานของเรื่อง ใหม่ๆ ที่ผู้เรียนต้องเรียนโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม เพื่อจะได้ทราบว่าผู้เรียนมีความพร้อมและพื้นฐาน ทจี่ ะเรียนทุกคนหรอื ไม่ แลว้ นำผลการประเมินมาปรับปรุง ซอ่ มเสริม หรือเตรยี มผูเ้ รียนใหม้ ีความพร้อมและ พื้นฐานพอเพียงทุกคนซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี การประเมินพื้นฐาน และความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน จึงมีความสำคัญและจำเป็นที่ผู้สอนทุกคนจะต้องดำเนินการ เพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนทุกครั้งจะทำให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถคาดหวังความสำเรจ็ ได้อย่างแนน่ อน การประเมินความพร้อมและพ้ืนฐานของผูเ้ รยี นก่อนเรียนมีแนวปฏิบตั ิดังนี้ ๑) วิเคราะหค์ วามรแู้ ละทักษะทีเ่ ป็นพื้นฐานก่อนเรียน ๒) เลอื กวธิ กี ารและจัดทำเคร่ืองมือสำหรับประเมินความรู้ และทกั ษะพื้นฐานอยา่ ง เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ ๓) ดำเนนิ การประเมินความรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐานของผู้เรียน ๔) นำผลการประเมินไปดำเนนิ การปรบั ปรุงผ้เู รียนให้มีความรแู้ ละทักษะพื้นฐานอยา่ ง พอเพียงก่อนดำเนนิ การสอน ๕) จัดการเรยี นการสอนในเร่ืองทจี่ ัดเตรยี มไว้ ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๑๙ ๑.๒ การประเมินความรอบรใู้ นเรือ่ งทจี่ ะเรียนกอ่ นการเรียน เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องที่จะทำการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะใน เรื่องที่จะเรียนนั้นมากน้อยเพียงไร เพื่อนำไปเป็นข้อมูลเบื้องต้นของผู้เรียนแต่ละคนว่า เริ่มต้นเรียน เรื่องนั้น ๆ โดยมีความรู้เดิมอยู่เท่าไรเพื่อจะได้นำไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนภายหลัง การเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนตามแผนการเรียนรู้แล้ว ว่าเกิดพัฒนาการหรือเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่เพียงไร ซึ่งจะ ทำให้ทราบถึงศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน และประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่งจะใช้เป็น ประโยชน์ในการสนองตอบการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มต่อไป แต่ประโยชน์ที่เกิดขึ้นในเบื้องต้น ของการประเมินผลก่อนเรียน ก็คือผู้สอนสามารถนำผลการประเมินไปใช้เปน็ ข้อมูลในการจัดเตรยี ม วิธีการ จัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกับความรู้เดิมของผู้เรียนว่าต้องจัดอย่างเขม้ ข้นหรือมากน้อยเพียงไร จึงจะ ทำให้แผนการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ สามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ตามตัวชี้วัด ด้วยกนั ทกุ คน ในขณะท่ีไมท่ ำให้ผู้เรียนมีพน้ื ความรู้เดิมอยู่แล้วเกิดความรู้สึกเบ่ือหน่าย และเสียเวลาเรียนใน สิ่งที่ตนรู้แล้ว การประเมินความรอบรู้ก่อนเรียนมีขั้นตอนการปฏิบัติเหมือนกับการประเมินความพร้อมและ พื้นฐานของผ้เู รียนต่างกนั เฉพาะความรู้ ทักษะทีจ่ ะประเมนิ เทา่ นัน้ ๒. การประเมนิ ระหว่างเรียน การประเมินระหว่างเรียนเป็นการประเมินที่มุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนวา่ บรรลุจุดประสงค์ การเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่คี รไู ดว้ างแผนไว้หรือไม่ เพื่อนำสารสนเทศท่ีได้จากการประเมินไปสู่การ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและเกิดพัฒนาการสูงสุด ตามศกั ยภาพ การประเมินผลระหวา่ งเรยี นมีแนวทางในการปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอน ดังนี้ ๒.๑ วางแผนการเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผลระหว่างเรยี น ผสู้ อนจัดทำแผนการเรยี นรู้ กำหนดแนวทางการประเมินผลใหส้ อดคลอ้ งกบั ตัวชี้วดั ซ่งึ ในแผนการเรยี นรู้จะระบภุ าระงานทจ่ี ะทำให้ผ้เู รยี น บรรลุตามตัวชี้วัดอย่างเหมาะสม ๒.๒ เลอื กวธิ ีการประเมนิ ที่สอดคล้องกับภาระงานหรือกิจกรรมหลักที่กำหนดใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติ ทั้งนี้วิธีการประเมินที่เหมาะสมอย่างยิง่ สำหรับการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากสิ่งที่ผูเ้ รยี น ได้แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันเป็นผลจาก การเรียนรู้ตามที่ผู้สอนได้จัดกระบวนการเรียนรู้ ให้วิธีการประเมินที่ผู้สอนสามารถเลือกใช้ในการประเมิน ระหวา่ งเรียน มดี งั นี้ ๑) การประเมนิ ด้วยการส่ือสารสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ (๑) การถามตอบระหวา่ งทำกิจกรรมการเรียน (๒) การพบปะสนทนาพูดคยุ กบั ผเู้ รียน (๓) การพบปะสนทนาพูดคุยกับผูเ้ กี่ยวข้องกบั ผ้เู รยี น (๔) การสอบปากเปล่าเพ่ือประเมินความรู้ ความเข้าใจ และทศั นคติ (๕) การอ่านบนั ทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ของผเู้ รียน (๖) การตรวจแบบฝกึ หดั และการบ้าน พรอ้ มใหข้ ้อมลู ป้อนกลับ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๐ ๒) การประเมนิ จากการปฏิบตั ิ (Performance Assessment) เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติเพื่อให้ได้ข้อมูล สารสนเทศว่า ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด การประเมินการปฏบิ ตั ิผูส้ อนตอ้ งเตรยี มการในสิง่ สำคัญ ๒ ประการ คอื (๑) ภาระงานหรอื กิจกรรมทีจ่ ะใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ตั ิ (Tasks) (๒) เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics) วธิ กี ารประเมนิ การปฏบิ ัติจะเปน็ ไปตามลกั ษณะงาน ดังนี้ ก. ภาระงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนกำหนดให้ผู้เรียนทำเป็นรายบุคคล/กลุ่ม จะประเมิน วิธีการทำงานตามขัน้ ตอนและผลงานของผู้เรยี น ข. ภาระงานหรือกิจกรรมที่ผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจำวันจะประเมินด้วย วธิ ีการสังเกต จดบันทึกเหตุการณเ์ ก่ียวกับผู้เรยี น ค. การสาธติ ได้แก่ การใหผ้ ้เู รยี นแสดงหรือปฏิบัตกิ ิจกรรมตามท่ีกำหนด เชน่ การใช้ เครอ่ื งมอื ปฏบิ ัติงาน การทำกายบริหาร การเล่นดนตรี จะประเมนิ วิธีการและข้ันตอนในการสาธติ ของผู้เรียน ด้วยวิธกี ารสังเกต ง. การทำโครงงาน การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดให้ ผู้สอนต้องมอบหมายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติโครงงานอย่างน้อย ๑ โครงงานในทุกช่วงชั้น ดังนั้นผู้สอนจึงต้อง กำหนดภาระงานในลกั ษณะของโครงงานใหผ้ ูเ้ รยี นปฏบิ ตั ิในรปู แบบหนึ่ง ใน ๔ รูปแบบต่อไปน้ี (๑) โครงงานสำรวจ (๒) โครงงานส่ิงประดิษฐ์ (๓) โครงงานแก้ปัญหาหรือการทดลองศึกษาคน้ คว้า (๔) โครงงานอาชีพ วิธีการประเมนิ ผลโครงงาน ใชก้ ารประเมนิ ๓ ระยะ คือ (๑) ระยะกอ่ นทำโครงงาน โดยประเมนิ ความพร้อมด้านการเตรียมการ และ ความเป็นไปไดใ้ นการปฏิบัติงาน (๒) ระยะทำโครงงาน โดยประเมินการปฏบิ ัตจิ รงิ ตามแผน วิธกี ารและ ขั้นตอนกำหนดไว้ และการปรบั ปรงุ งานระหวา่ งปฏิบัตงิ าน (๓) ระยะสิน้ สดุ การทำโครงงาน โดยประเมินผลงานและวิธกี ารนำเสนอผล การดำเนนิ โครงงาน การกำหนดให้ผเู้ รียนทำโครงงาน สามารถทำได้ ๓ แบบ คือ ๑) โครงงานรายบุคคล เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้เลอื กปฏิบตั ิงานตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ๒) โครงงานกลุม่ เป็นการทำโครงงานขนาดใหญ่และซบั ซ้อนตอ้ งให้ผเู้ รียนที่ มคี วามสามารถตา่ งกันหลายด้านชว่ ยกนั ทำ การประเมินโครงงานควรเน้นการประเมินกระบวนการกลุ่ม ๓) โครงงานผสมระหวา่ งรายบคุ คลกบั กล่มุ เป็นโครงงานทผ่ี ู้เรยี นทำร่วมกนั แตเ่ มือ่ เสร็จงานแล้วใหแ้ ต่ละคนรายงานผลด้วยตนเอง โดยไม่ต้องได้รบั การชว่ ยเหลอื จากสมาชกิ ในกลมุ่ ในการประเมินการปฏิบัติงานดังกล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจำเป็นต้องสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ ประกอบการประเมนิ การปฏิบตั ิ เช่น ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๑ - แบบวัดภาคปฏิบตั ิ - แบบสงั เกตพฤติกรรม - แบบตรวจสอบรายการ - เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Rubrics) เปน็ ต้น ๓) การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) การประเมินสภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใด อย่างหนึ่ง โดยงานหรือกิจกรรมที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณ์ท่ีเป็นจริง (Real life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็นงานที่มีสถานการณ์ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic) มากกว่างานปฏิบตั ิในกจิ กรรมการเรยี นทวั่ ไป วิธกี ารประเมินสภาพจริงไม่มีความแตกต่างจากการปฏิบตั ิ (Performance assessment) เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเปน็ สถานการณ์จริง หรือต้องจัดสถานการณ์ให้ ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทำให้ทราบความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนว่า มีจุดเด่นและข้อบกพรอ่ งในเร่ืองใด อนั จะนำไปสู่การแก้ไขทีต่ รงประเดน็ ทีส่ ดุ ๔) การประเมนิ ด้วยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment) การประเมินดว้ ยแฟ้มสะสมงาน เปน็ วิธกี ารประเมินท่ีช่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพ จริงมีความสมบูรณ์สะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนมากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม (Collect) ผลงานจากการปฏิบัติจริงทั้งในชั้นเรียนหรือในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มาจัดแสดงอย่างเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงค์เพื่อสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความพยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธิ์ผล (Achievement) ของการเรียนรู้ของผู้เรียน การวางแผนดำเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานที่สมบูรณ์จะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมินจากแฟ้ม สะสมงานแทนการประเมินจากการปฏบิ ัติจริง การประเมนิ ด้วยแฟม้ สะสมงานมีแนวทางในการดำเนนิ งานดังนี้ (๑) กำหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่า ตอ้ งการสะทอ้ นส่งิ ใดเก่ียวกบั ความสามารถและพัฒนาการของผู้เรยี น ทั้งนอี้ าจพจิ ารณาจากตัวชวี้ ัดตามสาระ การเรยี นร้ทู สี่ ะทอ้ นไดจ้ ากการใหผ้ ู้เรยี นจัดทำแฟ้มสะสมงาน (๒) กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้ทำแฟ้มสะสมงาน (๓) กำหนดให้วิธีการประเมินงานเพื่อพัฒนาชิ้นงาน ซ่ึงส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มี ความสามารถสูงสดุ ทั้งนี้ครูควรจัดทำเกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics) สำหรับให้ผูเ้ รียนนำไปใช้เป็นข้อชีน้ ำ ในการพฒั นางาน (๔) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนร่วมในการประเมินจากทุก ฝา่ ย แลว้ นำข้อมูลทีส่ อดคล้องกนั ไปเปน็ สารสนเทศหลัก ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สำหรับให้ ผูเ้ รียนใช้ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง (๕) จัดให้มีการนำเสนอผลงานที่ได้สะสมไว้ โดยใช้วิธีการที่เหมาะสม ซึ่งผู้สอนและ ผเู้ รยี นควรวางแผนรว่ มกันในการคัดเลือกช้นิ งานที่ดที ่ีสดุ ทั้งนีก้ ารนำเสนอชน้ิ งานแต่ละชนิ้ ควรมีหลักฐานการ พัฒนางานและการประเมินผลงานด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมินผลงานประกอบไว้ด้วย ในการใช้วิธีการ ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๒๒ ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน ผู้สอนควรคำนึงด้วยว่าแฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลือกใช้แฟ้มสะสม งานประเภทใด ควรคำนึงถงึ รูปแบบและแนวทางในการพฒั นาแฟ้มสะสมงานใหเ้ หมาะสม เพือ่ ให้แฟ้มสะสม งานช่วยพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ของผเู้ รยี นดว้ ย ๒.๓ กำหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินผลปลายภาค/ปลายปีเรียน หรือปลายปี การประเมินระหว่างเรียนมีวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อมุ่งนำสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและ ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนของผู้เรียน การประเมินระหว่างเรียนที่ดำเนินการอย่างถูกต้อง เข้มงวด และจริงจัง จะให้ผลการประเมินที่สะท้อนภาพความสำเร็จ และศักยภาพของผู้เรียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ และน่าเชื่อถือ ดังนั้น ควรให้น้ำหนักความสำคัญของการประเมินระหว่างเรียนในสัดส่วนที่มากกว่าการ ประเมินตอนปลายภาค/ปลายปีเรียนหรือปลายปี ทั้งนี้โดยคำนึงถึงธรรมชาติของรายวิชาและตัวชี้วัดเป็น สำคัญ แต่อย่างไรก็ตามในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรายวิชาปลายภาค/ปลายปีเรียนหรือปลายปี ต้องนำผลการประเมินระหว่างเรียนไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนด้วย ทั้งนี้ให้เป็นไปตามสัดส่วนและแนว ดำเนินการในระเบียบทส่ี ถานศกึ ษาผู้กำหนด ๒.๔ จัดทำเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผู้เรยี น ผู้สอนต้องจัดทำเอกสารบันทึกข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกบั การประเมนิ ผลระหว่างเรยี นอยา่ งเป็นระบบชัดเจน เพ่ือใชเ้ ป็นแหล่งขอ้ มูลในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมผู้เรยี น ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั การส่ือสารกับผู้เกี่ยวข้องและใช้เปน็ หลักฐานสำหรับตรวจสอบ การปฏิบัติงานของผู้สอน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและความยุติธรรมในการประเมิน ทั้งนี้ให้เป็นไป ตามระเบยี บทีส่ ถานศึกษากำหนด ขอ้ มูลหลกั ฐานการประเมินระหว่างทพ่ี งึ แสดง ได้แก่ ๑) วิธีการและเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล ๒) ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามวิธีการประเมิน เช่น บันทึกการสังเกต พฤติกรรม บันทึกคะแนนจากผลการประเมินชิ้นงาน บันทึกคะแนนการประเมินโครงงาน บันทึกเกี่ยวกับ การประเมนิ แฟม้ สะสมงาน เปน็ ต้น ๓. การประเมินเพอื่ สรุปผลการเรียน การประเมนิ เพือ่ สรุปผลการเรยี นเป็นการประเมนิ เพ่ือมงุ่ ตรวจสอบความสำเรจ็ ของผู้เรียนเม่ือผ่าน การเรยี นรู้ในช่วงเวลาหนงึ่ หรือสิ้นสดุ การเรยี นรายวิชาปลายปี/ปลายภาค/ปลายปีประกอบดว้ ย ๓.๑ การประเมนิ หลงั เรยี น เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องที่ได้เรียนจบแล้ว เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม ตัวชี้วัดที่คาดหวังหรือไม่ เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนว่าผู้เรียนเกิดพัฒนาการขึ้นมาก น้อยเพียงไร ทำให้สามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงไร และกิจกรรมการเรียนที่จัด ขึ้นมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการเรียน สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้มากมาย ได้แก่ ๑) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขซอ่ มเสรมิ ผู้เรียนให้บรรลุตวั ชว้ี ัด หรอื จุดประสงค์ของการเรยี น ๒) ปรับปรุงแกไ้ ขวธิ เี รยี นของผเู้ รยี นใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้ ๓) ปรับปรงุ แก้ไขและพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียน การประเมินหลังเรียนนี้ ถ้าจะให้สอดคล้องกับการประเมินก่อนเรียนเพื่อการเปรียบเทียบ พัฒนาการของผเู้ รยี นสำหรบั การวิจยั ในชน้ั เรียน ควรใชว้ ิธีการและเครื่องมอื ประเมินชุดเดยี วกันหรอื คู่ขนานกัน ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๓ ๓.๒ การประเมินผลการเรยี นปลายภาค/ปลายปี เป็นการประเมินผลเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในการเรยี นรายวิชาตา่ ง ๆ ตามตัวชี้วดั การประเมินผลนน้ี อกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อการสรปุ ตัดสนิ ความสำเรจ็ ของผู้เรยี นในแต่ละรายวชิ า รายภาค เปน็ สำคญั แล้ว ยงั ใชเ้ ป็นข้อมูลสำหรบั ปรบั ปรุงแก้ไข ซอ่ มเสริมผเู้ รยี นท่ีไมผ่ ่านการประเมนิ ตัวชี้วัดของแต่ละ รายวชิ า ใหเ้ กดิ พัฒนาการและมีผลการเรียนตามตวั ชวี้ ดั อยา่ งครบถว้ นสมบรู ณด์ ว้ ย การประเมนิ ผลการเรียนปลายภาค/ปลายปี สามารถใชว้ ิธกี ารและเครื่องมือการประเมินได้ อย่างหลากหลาย ใหส้ อดคล้องกับตัวชีว้ ัด เนอ้ื หาสาระ กิจกรรมและชว่ งเวลาในการประเมิน อย่างไรก็ดี เพอ่ื ใหก้ ารประเมินผลการเรียนดังกล่าวมีส่วนทีเ่ กยี่ วข้องสัมพนั ธ์และสนับสนนุ การเรยี นการสอน จงึ ให้นำผล การประเมินผลระหวา่ งเรียนไปใชเ้ ป็นข้อมลู ในการประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาค/ปลายปี โดยสัดส่วนการ ประเมนิ ผลระหว่างเรียนมากกวา่ การประเมินผลปลายภาค/ปลายปีเรยี น วิธีการปฏบิ ัติการประเมนิ ผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ การดำเนินการประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม โรงเรียนกำหนดวิธีการปฏิบัติ โดยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการร่วมกันกำหนดหลกั การประเมินผล ๘ กลุม่ สาระ ดงั น้ี ๑. ทุกกลุ่มสาระให้มีการประเมินผลทุกรายวชิ าให้ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลกั ษณะ โดยมีการประเมินผล ดงั นี้ ๑.๑ การประเมนิ ผลก่อนเรียน ๑.๑.๑ ประเมินผลก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐานของผู้เรียนและจัด กิจกรรมซอ่ มเสรมิ เพอ่ื ให้มคี วามร้พู น้ื ฐานเพยี งพอท่จี ะเรียน ๑.๑.๒ ประเมินก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรอบรู้ในเนื้อหา และทักษะที่จะเริ่มเรียน เพอ่ื เป็นขอ้ มลู เปรยี บเทยี บผลการเรียนหลงั เรยี น แสดงการพัฒนาการของผู้เรยี น ๑.๑.๓ การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลเป็นระยะ ๆ และสอดคล้องกับ ตัวชี้วัด โดยใช้การประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายทั้งวิธีการวัด เครื่องมือ และ แหล่งข้อมูล เพื่อมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน และนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขจนผู้เรียน สามารถบรรลุตามเกณฑ์ขัน้ ต่ำที่กำหนดไว้ โดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายเหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละบคุ คล ในกรณีที่ผูเ้ รียนต้องการพัฒนาปรับปรุงผลการเรียนให้สูงขึ้น ให้ผู้สอนเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ัฒนาปรับปรุง แกไ้ ขผลงาน/ช้นิ งานตนเองจนเตม็ ศกั ยภาพของผ้เู รยี นภายในเวลาท่ีกำหนดให้ ๑.๑.๔ การประเมินรายภาค ในการประเมินผลปลายภาค/ปลายปีสามารถประเมินจาก การปฏิบัติ การสื่อสาร เช่น การสัมภาษณ์จากผลงาน / ชิ้นงาน โครงงานหรือแบบทดสอบ ทั้งนี้ให้ สอดคลอ้ งกับตวั ชวี้ ัด ๒. การกำหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับการประเมินปลายภาค/ปลายปี/ปลายปี ให้กลุ่มสาระ การเรยี นรู้แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั กำหนดตามหลกั การที่คณะกรรมการการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ ดงั นี้ ๒.๑ การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของการ ประเมนิ ผลทง้ั หมด ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ และกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ใหม้ กี ารประเมินผลไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๐ ๒.๒ การประเมินผลระหวา่ งเรียนและการประเมนิ ผลปลายภาค/ปลายปี ให้มกี ารประเมิน ทง้ั ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะ ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๔ ๒.๓ ในรายวิชาเดียวกันให้มีการกำหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับปลายภาค/ปลายปี และ วางแผนประเมนิ ผลตลอดภาคเรยี นร่วมกนั ๒.๔ ในกรณีที่มีการประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ให้มีการประเมินโดยใช้วิธีการให้ผู้เรียน ตอบแบบทดสอบอตั นยั โดยมีการให้คะแนนคดิ เป็นร้อยละ ๗๐ ของการทดสอบคร้ังนนั้ ๓. การจัดทำเอกสารบันทึกข้อมลู สารสนเทศของผ้เู รยี น ประกอบดว้ ย ๓.๑ ผูส้ อนแต่ละรายวิชาจัดทำแผนการประเมนิ ผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาคเรียน โดยมี หวั ขอ้ ดงั นี้ ๑) การประเมนิ ผลก่อนเรยี น ๒) การประเมนิ ระหว่างเรยี น ๓) การประเมินปลายภาค/ปลายปี ๔) อัตราส่วนนำ้ หนักคะแนนระหวา่ งความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และคุณลักษณะ (A) และรายละเอยี ดน้ำหนักคะแนนของแต่ละตัวชวี้ ดั พรอ้ มท้ังระบุวิธีการวัด เคร่อื งมือวัด และประเมินผล ในแต่ละตัวช้วี ัด ๕) กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประกอบด้วยคุณลักษณะตามธรรมชาติวิชา และ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศกึ ษาทัง้ น้ีให้ใช้แบบสรปุ ผลการประเมนิ ตามแบบบันทึกที่แนบทา้ ยคู่มือน้ี ๓.๒ จัดทำแบบบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่แสดงสารสนเทศของผู้เรียน ทั้งนี้เพื่อใช้เป็น แหล่งข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน และใช้เป็นหลักฐานสำหรับสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง และใช้ เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบการปฏบิ ัติงานของผู้สอน ดังนั้นข้อมูลควรแสดงถึงร่องรอยการพัฒนา พร้อม ระบุข้อสังเกตที่เน้นข้อค้นพบที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งระหว่างเรียนและปลาย ภาค/ปลายปี ๓.๓ จัดทำแบบบันทึกการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เพื่อแสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน และสรุปผล การประเมนิ ตามแบบสรปุ ผลการประเมนิ แนบท้ายคมู่ ือน้ี ๓.๔ จัดทำแบบบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อแสดงร่องรอยหลักฐาน การพฒั นาคุณลกั ษณะผูเ้ รยี น และสรุปผลการประเมนิ ตามแบบสรุปผลการประเมินแนบทา้ ยค่มู ือนี้ ๓.๕ นำผลการประเมนิ จากข้อ ๓.๒, ๓.๓ และ ๓.๔ มาสรุปและบนั ทึกลงในแบบ ปพ.๕ ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๒๕ ๔. การตดั สินผลการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม ๔.๑ การตดั สินผลการเรียนใหน้ ำผลการประเมินระหวา่ งเรียนรวมกับผลการประเมนิ ปลายภาค/ปลายปี โดยใช้เกณฑ์ ดงั นี้ ตารางแสดงคะแนน และระดบั ผลการเรยี น ชว่ งคะแนนเปน็ ร้อยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรียน ๘๐ - ๑๐๐ ผลการเรียนดีเยยี่ ม ๔ ๗๕ - ๗๙ ผลการเรยี นดีมาก ๓.๕ ๗๐ - ๗๔ ผลการเรียนดี ๓ ๖๕ - ๖๙ ผลการเรยี นค่อนข้างดี ๒.๕ ๖๐ - ๖๔ ผลการเรยี นน่าพอใจ ๒ ๕๕ - ๕๙ ผลการเรียนพอใช้ ๑.๕ ๕๐ - ๕๔ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ ทีก่ ำหนด ๑ ๐ - ๔๙ ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ขน้ั ต่ำท่ีกำหนด ๐ เม่อื ครผู ู้สอนตดั สนิ ผลการเรียนแล้วใหด้ ำเนินการ ดังนี้ (1) ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่ง ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพื่อนำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติ ผลการเรียน (2) ส่งผลการเรยี นให้ ครูท่ปี รกึ ษากรอกผลการเรยี นลงในแบบ ปพ.๖ และนายทะเบียน วดั ผลกรอกในแบบ ปพ.๑ ๕. การให้ผลการเรยี น “ร” ๕.๑ การใหผ้ ลการเรยี น “ร” หมายถงึ ผู้เรียนท่ีมีลักษณะ ดังนี้ ๑) ผู้เรียนไม่ได้รบั การประเมิน หรือประเมินแล้วไม่ผา่ นเกณฑ์ระหวา่ งเรยี น ๒) ผูเ้ รียนไม่ไดร้ ับการประเมินปลายภาค/ปลายปี ๕.๒ วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เมื่อผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผลระหว่าง เรียนหรือปลายภาค/ปลายปี ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพื่ออนุมตั ิ ผลการเรยี น “ร” แลว้ ประกาศผลให้นกั เรยี นทราบ ๖. การให้ผลการเรียน “มส” ๖.๑ การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลา ท้งั หมด ๖.๒ วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน เสนอผูบ้ รหิ ารเพื่ออนมุ ัติผลการเรียน “มส” ก่อนประเมนิ ผลปลายภาค/ปลายปี ๒ สัปดาห์ ๗. การแกไ้ ข “๐” ๗.๑ ผู้เรียนนำใบแจ้งความจำนงการแกไ้ ข “๐” พบครผู ู้สอนประจำวชิ า ๗.๒ ผู้สอนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถบรรลุ ผลตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไม่เกนิ “๑” ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๖ ๗.๓ ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “๐” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพื่อเสนอต่อ ผูบ้ รหิ ารอนุมัติ และแจ้งผเู้ ก่ียวข้อง ๘. การแก้ไข “ร” ๘.๑ ผเู้ รยี นนำใบแจง้ ความจำนงการแก้ไข “ร” พบครผู สู้ อนประจำวชิ า ๘.๒ ผู้สอนดำเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” นั้น ๆ โดยให้ผลการเรียนตามเกณฑ์ ขอ้ ๔ ๘.๓ ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเหน็ ชอบ เพื่อเสนอต่อผบู้ รหิ ารอนุมตั ิ แลว้ แจง้ ผ้เู กยี่ วขอ้ ง ๙. การแก้ไข “มส” ๙.๑ ผูเ้ รียนนำใบแจ้งความจำนงไปพบครผู ูส้ อนประจำวชิ า ๙.๒ ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดำเนินการพัฒนาแก้ไขในสิ่งนั้นจนบรรลุ เกณฑข์ นั้ ต่ำทก่ี ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไมเ่ กนิ “๑” ๙.๓ ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการเห็นชอบ เพื่อเสนอผ้บู ริหารอนุมัติ แลว้ แจ้งผู้เกยี่ วขอ้ ง ๑๐. การแก้ไข “๐” “ร” และ “มส” ให้ดำเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นภายใน ๒ สัปดาห์ หลังจากได้รับแจ้งประกาศของงานวัดผลโรงเรยี น ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๒๗ ส่วนที่ ๒ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นการศึกษาได้พัฒนา ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของ ความเป็นมนุษย์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของ สถานศกึ ษา มกี ารดำเนนิ การอยา่ งมเี ป้าหมายชัดเจน มีรปู แบบ และวิธกี ารทีค่ รูท่ปี รึกษากจิ กรรมและผู้เรียน ร่วมกันกำหนด ผ้เู รียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตามที่สถานศึกษากำหนด จึง จะผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดบั ชน้ั ๑. ลกั ษณะกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน แบ่งเป็น ๓ ลกั ษณะ คอื ๑.๑ กิจกรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมที่ส่งเสริมและพฒั นาความสามารถของผู้เรยี นให้เหมาะสม ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะ ทางอารมณ์ การเรียนรใู้ นเชิงพหปุ ญั ญา และการสร้างสัมพันธภาพทีด่ ี ซ่งึ ครูทุกคนต้องทำหนา้ ท่ีแนะแนวให้ คำปรึกษาดา้ นชีวติ การศกึ ษาตอ่ และการพัฒนาตนเองสู่โลกอาชพี และการมงี านทำ ๑.๒ กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมทีผ่ ู้เรียนเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเองอย่างครบวงจรต้ังแต่ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมิน และปรบั ปรงุ การทำงาน โดยเน้นการทำงานรว่ มกนั อย่างเป็น กลุ่ม ได้แก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวิชาการ กิจกรรมพัฒนานิสัยรักการอ่าน การคิด วิเคราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผู้บำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น ๑.๓ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมให้ผเู้ รยี นบำเพ็ญตนให้ เป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพ่อื แสดงถงึ ความ รับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สังคม มีจติ สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาต่าง ๆ กจิ กรรม สร้างสรรคส์ งั คม ๒. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม ๑) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจุดประสงค์ของแต่ละ กิจกรรม โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพจรงิ ๒) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนว่าเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี สถานศึกษากำหนดไวห้ รอื ไม่ ๓) ตดั สนิ ใหผ้ เู้ รยี นท่ผี ่านจุดประสงค์สำคัญของกจิ กรรม มีผลงานช้นิ งานหรือหลักฐานประกอบ และมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผู้ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม ผู้เรียนที่มีผลการ ประเมินบกพร่องในเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้องซ่อมเสริม ข้อบกพร่องให้ผ่านเกณฑก์ ่อน จงึ จะได้รับการตัดสินให้ผา่ นกิจกรรม ๓. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนเลอื่ นช้ัน/จบหลกั สตู ร เป็นการประเมินสรุปผลการผ่านกิจกรรมตลอดปีการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนเพื่อนำผล ไปพิจารณาตดั สินการเล่ือนชัน้ โดยมขี น้ั ตอนปฏบิ ัติ ดังน้ี ๓.๑ คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งรวบรวมผลการประเมินแต่ละกิจกรรมมาตัดสินตามเกณฑ์ การตดั สนิ การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน และรายงานผลต่อผปู้ กครอง ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๘ ๓.๒ คณะกรรมการสรุปผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คณะกรรมการบริหาร หลกั สตู รและวชิ าการเพ่ือพจิ ารณาเห็นชอบ ๓.๓ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาพจิ ารณาตดั สนิ อนมุ ัตผิ ลการประเมินรายภาค ๓.๔ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสินผล การเล่ือนชั้น/จบหลักสตู ร เสนอผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิ ๔. เกณฑ์ตดั สนิ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๔.๑ เกณฑ์การตัดสินรายกิจกรรมพจิ ารณาจาก ๑) เข้าร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาทัง้ หมด ๒) ผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมดา้ นการเรยี นร้ไู ม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๓) ผ้เู รียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและผ่านจดุ ประสงคส์ ำคัญของแตล่ ะกิจกรรมกำหนดทุกข้อ ๔.๒ ผู้เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์ ขอ้ ๔.๑ ถอื วา่ ผา่ นรายกจิ กรรม ๔.๓ เกณฑ์การตัดสินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมินผ่านทั้งกจิ กรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรยี นทุกกิจกรรมและกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ถือว่าผา่ นกจิ กรรมพฒั นา ผู้เรียน ๔.๔ เกณฑก์ ารผ่านเลือ่ นช้นั / จบหลกั สตู ร ผู้เรียนตอ้ งได้รับผลการประเมิน ผ่าน ทุกกิจกรรม รายภาค ๕. แนวทางการซ่อมเสรมิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๕.๑ กรณีไม่ผ่านเน่ืองจากเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไม่ครบ คณะกรรมการพัฒนาและการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนไปปฏิบัติตามเวลาที่กำหนด ภายใต้การควบคุมดูแลของท่ี ปรึกษากิจกรรมนั้น ๆ จนกว่าผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมนั้นได้ อาจารย์ประจำกิจกรรม สรุปรายงานผลการ ปฏิบัติกิจกรรมให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อตัดสินผลการผ่าน กิจกรรมรายภาค ๕.๒ กรณีไม่ผ่านจุดประสงค์สำคัญของกิจกรรมให้คณะกรรมการมอบหมายภาระงานท่ี ผเู้ รียนไมผ่ า่ นไปปฏบิ ัติภายใตก้ ารดูแลของอาจารย์ท่ปี รกึ ษากิจกรรม จนกว่าผ้เู รยี นจะปฏิบัติตามภาระงานนั้น ได้ ให้ที่ปรึกษาสรุปผลการปฏิบัติส่งให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินการซ่อมเสริม เพื่อตัดสินผล การผา่ นกจิ กรรมเป็นรายภาค ๕.๓ คณะกรรมการสรปุ ผลการประเมนิ ทัง้ กรณีใน ขอ้ ๕.๑ และ ข้อ ๕.๒ สง่ คณะกรรมการ บริหารหลกั สตู รและวชิ าการ เหน็ ชอบและเสนอผบู้ รหิ ารอนุมตั ิต่อไป ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๒๙ ส่วนที่ ๓ การพัฒนาและประเมินผลคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ความสำคญั ของคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่มีการจัดการศึกษา เป็นวิธีการหลักที่สำคัญที่สุด การจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีการพัฒนาการทั้งด้านปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม การพัฒนาจิตใจจึงถือเป็นสิ่งที่ สำคัญอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตราที่ ๒๓ “การจัด การศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ” มาตรา ๒๔ วรรค ๔ “จัดการ เรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ สัดสว่ นสมดุลกัน รวมทง้ั ปลกู ฝังคุณธรรม ค่านิยม ทด่ี ีงาม และคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ไวใ้ นทุกวชิ า ดว้ ยเหตุดังกลา่ วข้างต้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จงึ กำหนด ไว้ใน จุดหมายของหลักสูตรเป็นข้อแรก คือ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่า ของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และกำหนดให้สถานศึกษาได้สร้างหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง ทั้งนี้เพื่อให้เป็น หลักสูตรที่ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นไปตามความต้องการจำเป็นของ ชุมชนท้องถิ่นของตนอง โดยที่สถานศึกษาจะต้องร่วมกับชุมชนกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ด้านคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจำเป็นของชุมชน และท้องถิ่น และ กำหนด เป็นเกณฑ์การจบหลักสูตรข้อหนึ่ง ในแต่ละระดับ คือ ผู้เรียนต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนด ๒. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้กำหนดให้ สถานศึกษาทุกแหง่ พัฒนาผู้เรยี น ดงั นี้ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒) ซ่ือสัตย์สจุ ริต ๓) มีวนิ ยั ๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๕) อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖) มงุ่ ม่ันในการทำงาน ๗) รกั ความเปน็ ไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ ความหมายและตัวบง่ ชีค้ ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒.๑ คุณลักษณะ : รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ความหมาย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออก ด้วย กาย วาจา และใจ ตัวบง่ ช้ีคุณลักษณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒.๑.๑ มคี วามจงรักดภี กั ดใี นสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๓๐ ๒.๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมศาสนา ๒.๒ คณุ ลักษณะ : ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ ความหมาย ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกด้วยกาย วาจา และใจ ตวั บ่งชค้ี ณุ ลกั ษณะ ซ่ือสตั ย์สจุ ริต ๒.๒.๑ ไม่นำส่ิงของผู้อ่นื มาเป็นของตน ๒.๒.๒ ไมพ่ ดู เทจ็ ทง้ั ต่อหน้าและลบั หลงั ๒.๓ คณุ ลกั ษณะ : มีวินัย ความหมาย มีวินัย หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อ ตัง้ ใจ มงุ่ มนั่ ตอ่ หนา้ ทีก่ ารงาน การศกึ ษาเล่าเรยี น และการเปน็ อยู่ของตนเอง และผู้อยู่ในความดูแล ตลอดจนสังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่ กำหนด ยอมรับผลการกระทำทัง้ ผลดแี ละผลเสียที่เกดิ ขนึ้ รวมท้งั ปรับปรงุ การปฏบิ ตั ิใหด้ ีขึน้ ดว้ ย ตัวบง่ ช้ีคณุ ลักษณะ มีวนิ ัย ๒.๓.๑ มีความพยายามปฏิบัติภารกิจ หน้าที่การงาน การศึกษา หรือหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ ๒.๓.๒ ตรงต่อเวลา ๒.๓.๓ ทำงานโดยคำนงึ ถึงคุณภาพของงาน ๒.๓.๔ ดแู ลรักษาสาธารณสมบตั ิ ๒.๔ คุณลกั ษณะ : ใฝเ่ รยี นรู้ ความหมาย ใฝเ่ รียนรู้ หมายถงึ ลกั ษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ตัวบ่งชี้คุณลกั ษณะ ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๔.๑ มกี ารซกั ถามปัญหาในและนอกบทเรียนสมำ่ เสมอ ๒.๔.๒ รจู้ กั ใชแ้ หล่งเรยี นรภู้ ายในและนอกโรงเรยี นประกอบการเรยี นรู้ ๒.๕ คุณลกั ษณะ : อยู่อยา่ งพอเพียง ความหมาย อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการประพฤติตน เปน็ ผูป้ ระหยัดเวลา ทรพั ย์ และแรงงาน ทง้ั ของตนเองและส่วนรวม ตลอดจนวางแผนออมเพอ่ื อนาคต ตัวบง่ ชคี้ ณุ ลักษณะ อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๒.๕.๑ เลอื กใช้สง่ิ ของท่เี หมาะสมกบั สถานภาพของตนและการใชง้ าน ๒.๕.๒ ใช้นำ้ ใชไ้ ฟ อยา่ งระมัดระวัง และเฉพาะส่วนทจ่ี ำเป็น ๒.๖ คณุ ลักษณะ : ม่งุ มั่นในการทำงาน ความหมาย มุง่ มนั่ ในการทำงาน หมายถงึ ความสามารถทางรา่ งกาย ความคิด จิตใจ ทจ่ี ะปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้สำเรจ็ ลุลว่ งตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด ไมย่ ่อทอ้ ต่อปัญหาอปุ สรรค ตวั บง่ ชีค้ ณุ ลกั ษณะ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน ๒.๖.๑ มีความเขม้ แข็ง พยายามเอาชนะปัญหาอปุ สรรคโดยไม่ย่อท้อ ๒.๖.๒ มีจิตใจหนักแน่น สามารถควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมให้เป็นปกติเมื่อพบกับ ปญั หาหรือส่งิ ยวั่ ยุตา่ ง ๆ ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๓๑ ๒.๗ คุณลักษณะ : รักความเปน็ ไทย ความหมาย รักความเป็นไทย หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถงึ การปฏบิ ัติตนทั้ง กาย ใจ และความคดิ ทค่ี ำนงึ ถงึ ความเปน็ ไทย ตัวบง่ ชีค้ ุณลักษณะ รกั ความเป็นไทย ๒.๗.๑ ใชส้ ง่ิ ของที่ผลิตในประเทศ ๒.๗.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั วฒั นธรรม ประเพณีไทย และแต่งกายแบบไทย ๒.๗.๓ ใชภ้ าษาไทยได้ถกู ต้อง ๒.๘ คณุ ลักษณะ : มจี ติ สาธารณะ ความหมาย มีจิตสาธารณะ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการใช้วาจา ใจ และกาย ต่อบคุ คลอื่น ดว้ ยความเมตตา ให้ความชว่ ยเหลอื โดยไม่หวงั ส่ิงตอบแทน ตวั บ่งชีค้ ุณลกั ษณะ มจี ติ สาธารณะ ๒.๘.๑ รว่ มกิจกรรมการบำเพญ็ ประโยชน์สาธารณะ เชน่ วดั , โบราณสถาน ๒.๘.๒ อาสาปฏิบตั ิกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ๓. เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๓.๑ เกณฑก์ ารประเมนิ ตวั บ่งชี้ ๑) เกณฑร์ ะดับคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ดีเยีย่ ม หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐ ของจำนวนครง้ั ของการประเมนิ ทง้ั หมด ดี หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ี รอ้ ยละ ๖๕ – ๗๙ ของจำนวนคร้ังของการประเมนิ ท้ังหมด ผ่าน หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ี ร้อยละ ๕๐ – ๖๔ ของจำนวนครง้ั ของการประเมนิ ท้ังหมด ไม่ผ่าน หมายถงึ ผูเ้ รียนมพี ฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละต่ำ ๕๐ ของจำนวนครง้ั ของการประเมินทงั้ หมด ๒) เกณฑ์การตดั สนิ การผ่านแต่ละตัวบง่ ช้ี ผ้เู รียนต้องมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ชอ้ี ย่ใู นระดับผ่านข้นึ ไป ถือว่าผา่ นแต่ละตวั บ่งช้ี ๓.๒ เกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๓.๒.๑ ให้คิดคา่ ฐานนยิ ม (Mode) จากเกณฑ์การประเมนิ ตวั บง่ ช้ีมาเปน็ ระดบั คณุ ภาพของ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละข้อ ๓.๒.๒ ใหค้ ิดค่าฐานนิยม จากเกณฑก์ ารประเมินคณุ ลักษณะ ๘ ขอ้ สรปุ เปน็ คณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ของรายวิชานนั้ ๆ ๓.๒.๓ ใหค้ ดิ คา่ ฐานนิยม จากคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์รายวิชา สรปุ เปน็ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียนรายบคุ คล ๓.๓ เกณฑ์การตัดสนิ แตล่ ะคุณลกั ษณะ ผ้เู รียนต้องได้รับการประเมนิ อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ผา่ นขน้ึ ไป ถอื ว่า ผ่าน ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๓๒ แนวการพฒั นาและประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ระดบั ผปู้ ฏิบตั ิ ในการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น โรงเรียนกำหนดให้ผู้สอนทุกรายวิชา ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่นอกเหนือจากครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ ได้ดำเนินการ ดังนี้ ๑.๑ ครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ ทุกรายวิชา ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตนโดย สอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาในคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งที่เหมาะสม และ สอดคลอ้ งกบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูน้ น้ั ๆ โดยใหร้ ะบไุ ว้ในแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ กุ แผน ๑.๒ ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้งกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่นอกเหนือจากรายวิชาต่าง ๆ ให้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยระบุไว้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๑.๓ ผู้รับผิดชอบทั้ง ข้อ ๑.๑ และ ๑.๒ ดำเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและปรับปรุง ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ เพื่อแสดงพัฒนาการของผู้เรียน บันทึกร่องรอยหลักฐานการประเมินและปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง เมื่อเสร็จสิ้นภาคเรียน / ปลายปี หรือสิ้นโครงการ / กิจกรรม ให้มีการประเมินและสรุปผลบันทกึ ลงใน แบบ ปพ. ๕ และระบุ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ พร้อมแนบ ข้อมูลบันทึกหลักฐานรอ่ งรอยการประเมนิ และปรบั ปรุงประกอบส่งให้คณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ของตนเอง ไดต้ รวจสอบความถูกตอ้ งสมบูรณ์ ๑.๔ คณะกรรมการแต่ละกลุ่มสาระรวบรวมผลการประเมินทั้งหมด และสรุปผลการประเมิน ลงในใบ แบบ ปพ. ๕ ส่งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะของสถานศึกษาที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อ ดำเนินการต่อไป ๒. ระดับคณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษา ให้มีการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกภาคเรียน / ปี โดยสถานศกึ ษาแตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินและตัดสนิ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคร์ ะดับช้ันละ ๓ – ๕ คน ดำเนนิ การดงั น้ี ๒.๑ คณะกรรมการทุกระดับชั้น ศึกษาและทำความเข้าใจร่วมกันในเรื่องของเกณฑ์การ ประเมนิ ระดับคุณภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมนิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดไว้ ๒.๒ คณะกรรมการประเมินแต่ละระดบั ชนั้ นำผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์จากผู้ ปฏิบัติใน ข้อ ๑ มารว่ มกนั พจิ ารณาผลการประเมิน และข้อมลู จากการบันทกึ ร่องรอยหลักฐานที่แนบมาเป็น รายบุคคลเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ แล้วตัดสินผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน บันทึกลงใน แบบ ปพ. ๕ ระบุจุดเด่นจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ เห็นชอบ และเสนอผ้บู รหิ ารอนมุ ัตผิ ลการประเมิน ๒.๓ กรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถตัดสินผลการประเมิน เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ ใหค้ ณะกรรมการขอขอ้ มลู เพิม่ เตมิ จากผู้รับผิดชอบ จนสามารถตดั สนิ ผลการประเมนิ ได้ ๒.๔ นายทะเบียนนำผลการตัดสินมาดำเนินการจัดทำ ปพ.๔ และหลักฐานการศึกษาอื่นท่ี เกีย่ วขอ้ ง และประกาศให้ผู้เกย่ี วขอ้ งรบั ทราบต่อไป ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๓๓ ๓. การประเมินการเลือ่ นช้นั / การจบหลักสูตร คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการ นำผลการประเมนิ รายภาค / รายปี มารว่ มพิจารณา และตัดสินผลการเลอื่ นชั้น / จบหลักสูตร แนวทางในการซอ่ มเสรมิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะร่วมกันพิจารณาว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะใดที่ต้องพัฒนา ปรับปรุง ๒. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะกำหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพร้อมระยะเวลาโดย มอบหมาย ให้ที่ปรึกษาในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดำเนินการติดตามช่วยเหลือแนะนำการปฏิบัติงาน ตามแนวทางที่คณะกรรมการกำหนด ๓. กจิ กรรม ในการพฒั นาปรับปรงุ ผูเ้ รยี น ๓.๑ กำหนดภาระงานหรือกจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับตวั บง่ ชีข้ องคุณลกั ษณะท่ตี ้องพัฒนาปรับปรงุ ๓.๒ ผู้เรียนร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องพัฒนาปรับปรุงทั้งในและนอก โรงเรียน ๓.๓ ผู้เรียนเสนอโครงงาน / งาน ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องพัฒนาปรับปรุงให้ คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะเห็นชอบ ๔. ผู้เรียนปฏิบัติตามแนวทางที่คณะกรรมการกำหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผลการปฏิบัติให้ ที่ปรึกษาในระบบดูแลทราบเป็นระยะ ๆ พร้อมกับมีผู้รับรองผลการปฏิบัติโดยที่ปรึกษาบันทึกข้อคิดเห็นใน การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมจนเสร็จสิน้ กจิ กรรม ๕. ที่ปรึกษาในระบบดูแล บันทึกผลแสดงพัฒนาการคุณลักษณะของผู้เรียนที่แสดงร่องรอย หลักฐานการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ รวบรวมผลการปฏิบัตสิ ง่ คณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๖. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะพิจารณาร่องรอยหลักฐานผลการปฏิบัติกิจกรรมเทียบกับ เกณฑ์ที่กำหนด แล้วประเมินและตัดสินผลการซ่อมเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรุปผลเสนอต่อคณะ กรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการเหน็ ชอบ เพื่อเสนอต่อผ้บู ริหารสถานศึกษาอนมุ ัติต่อไป ๗. นายทะเบียนวดั ผลดำเนินการจัดทำ ปพ.๔ และแจ้งแก่ผู้เกี่ยวขอ้ งตอ่ ไป ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๓๔ สว่ นท่ี ๔ การพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน จำนวน ๓ ขอ้ คอื ๑. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลเป็นระบบ และเขียนเสนอ ความคิดได้ ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑ เขียนรายงานเร่อื งที่ศึกษาค้นคว้าได้ ตวั บ่งชี้ที่ ๒ ตอบคำถามจากเรื่องท่ีศึกษาค้นคว้าได้ ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๓ เขยี นแสดงความคดิ เหน็ จากเร่ืองท่อี ่านได้ ตวั บ่งชที้ ี่ ๔ เขยี นสรปุ จากเรอ่ื งท่ีอา่ นได้ ๒. นำความรู้ความเข้าใจทีไ่ ด้จากการอา่ นไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจ คาดคะเนเรื่องราวหรอื เหตุการณ์ และสรุปเป็นแนวปฏบิ ตั ไิ ด้ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑ ทำโครงงาน / รายงานในเรือ่ งทีส่ นใจไดต้ ามศักยภาพ ตวั บ่งชี้ที่ ๒ นำเสนอโครงงาน / รายงานได้ตามศกั ยภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เนือ้ หาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคลอ้ งกับเรอื่ งทเี่ รยี น ตวั บ่งชี้ที่ ๔ เขยี นข้ันตอนในการปฏบิ ัติงานได้ ๓. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขยี นถา่ ยทอดความคดิ เพื่อการสื่อสารได้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑ เขียนเรื่องราวเชิงสร้างสรรคไ์ ด้ตามศักยภาพ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๒ เขียน / วาดภาพจากจนิ ตนาการในเรื่องท่ตี นสนใจได้ แนวทางและวิธกี ารประเมนิ การประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น โรงเรยี นจะใชแ้ นวทางการวัดและ การประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทางและ วธิ กี ารประเมนิ ใหค้ รูผ้สู อนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้นำไปใช้ในการประเมิน ดังนี้ ๑. วธิ กี ารประเมนิ ๑.๑ ความสามารถจริงของผเู้ รียนในการปฏิบตั กิ จิ กรรมทางการเรยี นรายวิชาต่าง ๆ ในส่วนท่ี เกีย่ วกบั การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น โดยการสังเกตของครู ๑.๒ มอบหมายใหผ้ ู้เรียนไปศึกษาคน้ ควา้ แลว้ เขียนเป็นรายงาน ๑.๓ ผลงานเชิงประจกั ษ์ต่าง ๆ เกย่ี วกบั การอ่าน การคดิ การวิเคราะห์ และเขยี นทีร่ วบรวม และนำเสนอในรูปของแฟม้ สะสมงาน ๑.๔ การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรอื เขียนเรียงความ ๑.๕ การเขียนรายงานจากการปฏบิ ตั โิ ครงงาน ๒. เกณฑก์ ารประเมิน ผลงาน : การเขียนจากการอา่ น คิด วิเคราะห์ ๒.๑ การใช้กระบวนการอา่ นอย่างมีประสิทธภิ าพ ๒.๒ การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ๒.๓ ใช้กระบวนการเขียนสอ่ื ความอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๓๕ ๓. เกณฑ์ระดับคุณภาพ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การอา่ น ระดับ ดเี ย่ียม ระบุสาระของเรื่องที่อา่ นได้ถูกตอ้ งครบถ้วน ลำดบั เร่อื งที่อ่านได้ถูกตอ้ ง ระบุประเดน็ สำคัญของเร่ืองท่ีอา่ นได้ถกู ต้อง ระบจุ ุดม่งุ หมาย และเจตคติ ของผเู้ ขียน ดี ระบุสาระของเรื่องที่อา่ นได้ถูกตอ้ งครบถ้วน ลำดบั เรื่องที่อ่านได้ถูกตอ้ ง ระบุประเดน็ สำคัญของเร่ืองที่อ่านได้ถกู ต้อง ระบจุ ุดมุ่งหมาย และเจตคติ ของผู้เขยี นไม่ครบถว้ น ผา่ น ระบสุ าระของเร่ืองท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น ลำดับเร่อื งที่อ่านค่อนขา้ งถูกต้อง ระบุประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านได้ไม่สมบรู ณ์ ระบุจดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ ของผ้เู ขยี นเพยี งเล็กน้อย ไม่ผ่าน ระบสุ าระของเร่ืองที่อา่ นไดไ้ ม่ครบถว้ น ลำดับเร่อื งทีอ่ ่านผิดพลาดเลก็ น้อย ระบุประเด็นสำคญั ของเร่ืองที่อ่านไม่ถูกตอ้ ง ไมร่ ะบจุ ดุ มุง่ หมาย และเจตคติ ของผเู้ ขยี น เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ : การคดิ วเิ คราะห์ ระดับ ดีเยี่ยม แสดงความคิดเหน็ ชัดเจน มีเหตผุ ลระบุข้อมลู สนบั สนุนท่ีน่าเชอื่ ถอื มีความคดิ ทแี่ ปลกใหม่ เปน็ ประโยชนต์ ่อสังคมโดยส่วนรวม ดี แสดงความคิดเหน็ คอ่ นข้างชัดเจน มเี หตุผลระบขุ ้อมลู สนบั สนนุ มีความคดิ ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมโดยสงั คมรอบข้างตนเอง ผา่ น แสดงความคดิ เหน็ ที่มเี หตุผลระบุข้อมลู สนบั สนุนทพ่ี อรับได้มีความคิดทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเอง ไมผ่ ่าน แสดงความคิดเห็นมเี หตุผลไม่ชัดเจน ขาดข้อมลู สนบั สนุน มีความคิดที่ยังมอง ไมเ่ หน็ ประโยชน์ท่ชี ดั เจน เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การเขยี น ระดบั ดีเยี่ยม มจี ดุ ประสงค์ในการเขียนชัดเจนได้เนือ้ หาสาระ รูปแบบการเขยี นถูกต้องมีขน้ั ตอน การเขียนชดั เจนงา่ ยต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำถูกต้อง พฒั นาสำนวนภาษาที่ส่ือความหมายได้ชัดเจนกะทัดรดั ดี มีจดุ ประสงค์ในการเขยี นชัดเจนได้เน้อื หาสาระ รูปแบบการเขียนถูกต้องมขี ั้นตอน การเขียนชดั เจนงา่ ยต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำผดิ พลาด ไม่เกิน ๓ แห่ง พฒั นาสำนวนภาษาที่สื่อความหมายไดช้ ัดเจน ผา่ น มจี ุดประสงค์ในการเขียนชดั เจนและค่อนข้างไดเ้ น้ือหาสาระ รปู แบบการเขยี น ถูกต้อง มขี น้ั ตอนการเขียนชดั เจนง่ายตอ่ การตดิ ตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคำ ผดิ พลาดมากกวา่ ๓ แหง่ ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาทส่ี ื่อความหมายไดช้ ดั เจน ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๓๖ ไมผ่ ่าน ขาดจดุ ประสงคใ์ นการเขยี นและเนอื้ หาสาระนอ้ ย ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคำ ผิดพลาดมาก ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาท่สี อื่ ความหมาย ๔. การสรปุ ผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน ๔.๑ ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน มาเป็นระดับคณุ ภาพของแตล่ ะรายวิชา ๔.๒ ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ของแต่ละ รายวิชา สรปุ เปน็ ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของผูเ้ รียนรายบคุ คล ๕. เกณฑก์ ารตัดสินความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ๕.๑ ระดับรายภาค ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น อยู่ในระดับคุณภาพ ผา่ น ข้ึนไป ถือว่า ผ่าน ๕.๒ การเลอ่ื นช้ัน / จบหลกั สตู ร ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ผา่ นทกุ รายภาค แนวทางการพฒั นาและการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ก ระดบั ผปู้ ฏบิ ตั ิ ๑. กลุ่มครูผู้สอนแตล่ ะกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๑.๑ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันกำหนดแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระ และสอดคล้องกับมาตรฐาน การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ที่สถานศกึ ษากำหนด ๑.๒ ผู้สอนทุกรายวชิ านำแนวทางที่กำหนดไว้ใน ข้อ ๑ วางแผนการจัดกิจกรรมและดำเนินการ จัดกจิ กรรมการเรียนรสู้ อดแทรกในการจัดการเรียนการสอนของตนเอง ๑.๓. ผ้สู อนทกุ รายวิชาดำเนนิ การประเมินและปรับปรุงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เป็นระยะ ๆ เมื่อสิ้นภาคเรียน / ปลายปี ประเมินผลพร้อมบันทึกร่องรอยหลักฐานในการพัฒนา ปรับปรงุ และรวบรวมหลกั ฐานการประเมินไวท้ ห่ี มวดวิชาเพ่ือใชเ้ ป็นหลักฐานสำหรบั ตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของผสู้ อน ซงึ่ จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความโปรง่ ใส และความยตุ ิธรรมในการประเมนิ ๑.๔ บันทึกสรุปผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น ลงใน แบบ ปพ.๕ แบบสรุปผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ๕. ผู้สอนในแตล่ ะกล่มุ สาระร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง สมบูรณ์ของผลการประเมนิ แต่ละ รายวิชา แลว้ สรปุ ผลการประเมินในระดับกลุม่ สาระลงใน แบบ ปพ.๕ แบบสรุปผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน สง่ คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ในระดับโรงเรยี นต่อไป ๒. กล่มุ ผรู้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรมพัฒนาเรียนรู้ และกลุ่มผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรมใน ระดบั โรงเรยี น ๒.๑ วางแผนกำหนดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนท่ี สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมในภาระงานทต่ี นเองรับผดิ ชอบ ๒๒ เนินการจดั กจิ กรรมพฒั นาตามแผนท่วี างไว้ และประเมนิ พฒั นาปรับปรุงผู้เรียนเปน็ ระยะ ๆ พรอ้ มบันทึกรอ่ งรอยหลกั ฐาน ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๓๗ ๒.๓ เมื่อสิ้นภาคเรียน ให้มีการประเมินผล และสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดไว้ พร้อมให้ข้อสังเกตที่เป็นจุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียน บันทึกใน แบบ ปพ. ๕ และรวบรวม หลักฐานร่องรอยการพัฒนาปรับปรุงไว้ที่ผู้ปฏิบัติ เพื่อเป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบการปฏิบั ติงานของผู้ ปฏบิ ัติ สง่ ผลการประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ ระดบั โรงเรยี นต่อไป ข ระดับคณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน ของสถานศกึ ษา ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน จำนวน ๓ – ๕ คน ในแต่ละระดบั ชั้นเปน็ รายภาค ๒. คณะกรรมการประเมนิ ฯ ศึกษาเกณฑ์การประเมนิ เพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจตรงกัน ๓. นำผลการประเมินการอ่านจากระดับผู้ปฏิบัติร่วมกันประเมิน เพ่ือตัดสินความสามารถ ในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ ๔. กรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถตัดสินได้ คณะกรรมการขอข้อมูลจากผู้ปฏิบัติเพิ่มเติม หรือ ทดสอบความสามารถซ้ำ แล้วจงึ ตดั สินผล ๕. คณะกรรมการสรุปผลการประเมนิ เพอ่ื เสนอผบู้ ริหารโรงเรียนอนมุ ตั ผิ ลการประเมิน ๖. นายทะเบียนวัดผลบันทึกลงใน ปพ.๑ แล้วแจ้งผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขยี น ใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษาเพ่ือแจ้งผูป้ กครอง แนวทางในการซอ่ มเสริมและประเมินผลการซอ่ มเสรมิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ๑. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ร่วมกันพิจารณาว่าผู้เรียนมีจุด ที่ต้องพัฒนาปรับปรุงด้านใด แต่งตั้งที่ปรึกษาโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกรรมการดำเนินการ ซอ่ มเสรมิ ๒. กำหนดภาระงานให้ผู้เรยี นพฒั นา ปรับปรงุ ในดา้ นทตี่ อ้ งพฒั นาปรับปรุงโดย ๒.๑ กรณไี ม่ผา่ นการประเมนิ การอา่ น ๒.๑.๑ คณะกรรมการประเมินกำหนดภาระงานให้นักเรียนอ่าน บันทึกการอ่านพร้อมส่ง เอกสารทไ่ี ดอ้ ่านไมน่ อ้ ยกว่า ๕ เร่ือง หรอื กรรมการกำหนดเร่ือง ๕ เร่อื ง ใหอ้ า่ น ภายในเวลาทกี่ ำหนด ๒.๑.๒ คณะกรรมการประเมินผลการอ่านโดยตั้งประเด็นคำถามที่สอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมิน ผเู้ รียนตอบโดยการเขียนตอบหรอื ตอบปญั หาปากเปล่าก็ได้ ๒.๑.๓ หรืออยู่ในดลุ ยพนิ ิจของคณะกรรมการฯ ๒.๑.๔ คณะกรรมการประเมินตดั สนิ ผลการอา่ นใหผ้ า่ น และไดร้ ะดับไม่เกิน “ผ่าน” กรณี ที่ซอ่ มเสรมิ ไม่ผา่ นให้คณะกรรมการประเมนิ กำหนดใหผ้ เู้ รียนพัฒนาตามวิธีการ ข้อ ๒.๑.๑ ถงึ ๒.๑.๓ จนกวา่ ผู้เรยี นจะได้รบั การตัดสนิ ผ่าน ๒.๒ กรณผี ้เู รยี นไมผ่ า่ นการคิด วิเคราะห์ ๒.๒.๑ คณะกรรมการประเมินกำหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกคิด วิเคราะห์ ในเรื่องท่ี สนใจภายใน ๑ สัปดาห์ ๒.๒.๒ คณะกรรมการประเมิน ประเมินการคิด วิเคราะห์ โดยตั้งประเด็นคำถามท่ี สอดคลอ้ งกบั เกณฑ์การประเมนิ ผู้เรยี นตอบโดยการเขียนตอบ หรอื ตอบปากเปล่า ๒.๒.๓ คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการคิด วิเคราะห์ โดยให้ผลการประเมินไม่เกิน “ผ่าน” ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๓๘ ๒.๒.๔ ในกรณีที่ผลการประเมินไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกำหนดให้ผู้เรียนพัฒนา ตามวธิ กี ารใน ขอ้ ๒.๒.๑ – ๒.๒.๓ จนกว่าผ้เู รยี นจะไดร้ บั การตดั สิน ผ่าน ๒.๓ กรณีที่ผู้เรยี นไม่ผา่ นการประเมนิ การเขยี น ๒.๓.๑ คณะกรรมการประเมิน กำหนดภาระงานให้ผู้เรยี นไปฝึกเขียนในเร่ืองท่สี นใจภายใน ๑ สปั ดาห์ ภายใตก้ ารควบคุมดูแลของครทู ป่ี รึกษาในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ๒.๓.๒ ผเู้ รยี นสง่ ผลงานการเขียนท่ีไดพ้ ฒั นาแลว้ แก่คณะกรรมการประเมนิ ๒.๓.๓ คณะกรรมการประเมินทำการประเมินผลงานการเขียนประกอบการสัมภาษณ์ นกั เรยี นเก่ียวกับกระบวนการพฒั นาการเขยี น ๒.๓.๔ คณะกรรมการตดั สนิ ผลการเขียนโดยให้ผลการประเมินไมเ่ กนิ “ผา่ น” ๒.๓.๕ ในกรณีที่ผลการประเมินยัง ไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกำหนดให้ผู้เรียน พัฒนาตามวิธกี าร ข้อ ๒.๓.๑ – ๒.๓.๔ จนกวา่ ผู้เรยี นจะได้รับการตัดสนิ ผ่าน ๓. คณะกรรมการประเมินการอ่านตัดสินผลการประเมินการอ่าน ส่งผลการประเมินเสนอคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่งให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษาอนุมตั ิ นายทะเบยี นวัดผลบันทกึ ลง ปพ.๑ และแจง้ ผู้เกยี่ วข้องต่อไป ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๓๙ สว่ นที่ ๕ เกณฑก์ ารตดั สนิ การเลอ่ื นชนั้ และเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร การตดั สินการเลือ่ นชน้ั ในการตัดสนิ ผลการเรียนของกลุม่ สาระการเรียนรู้ การอา่ น คิด วเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนนั้น ผูส้ อนตอ้ งคำนงึ ถึงการพฒั นาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และ ตอ้ งเก็บข้อมูลของผเู้ รียนทุกด้านอยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเนอื่ งในแตล่ ะภาคเรยี นรวมทงั้ สอนซ่อมเสรมิ ผู้เรยี นให้ พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ ระดบั ประถมศกึ ษา ๑) ตัดสินผลการเรียนเปน็ รายวิชา ผูเ้ รียนต้องมีเวลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ย ละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานัน้ ๆ ๒) ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการประเมนิ ทกุ ตวั ช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด คือ ตัวชว้ี ัดทต่ี ้องผ่าน ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของแตล่ ะรายวิชา ๓) ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทกุ รายวิชา ๔) ผ้เู รียนต้องไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน การพิจารณาเลอ่ื นชั้นในระดับประถมศึกษา ถ้าหากผู้เรียนมีขอ้ บกพร่องเพยี งเล็กน้อย และ สถานศกึ ษาพจิ ารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยใู่ นดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผัน ให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดบั ช้นั ท่สี ูงขึ้น สถานศึกษาจะต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รียนซ้ำชนั้ ได้ โดยท้งั น้ีจะคำนงึ ถงึ วฒุ ภิ าวะและ ความรคู้ วามสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ เกณฑ์การจบระดับประถมศกึ ษา (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/เพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ท่ี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานกำหนด (๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามท่สี ถานศึกษากำหนด (๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่สี ถานศึกษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมดในรายวชิ านัน้ ๆ ๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด คือ ตวั ชว้ี ดั ทตี่ ้องผ่าน ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของแต่ละรายวชิ า ๓) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๔๐ ๔) ผ้เู รียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น การพจิ ารณาเลือ่ นชนั้ ในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ถา้ หากผ้เู รยี นมีข้อบกพรอ่ งเพยี งเล็กนอ้ ย และ สถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยู่ในดลุ พินิจของสถานศกึ ษาที่จะผอ่ นผนั ใหเ้ ล่อื นชน้ั ได้ แตห่ ากผ้เู รียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มวา่ จะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดับช้นั ที่สงู ข้ึน สถานศกึ ษาจะตั้งคณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซำ้ ช้นั ได้ โดยทงั้ น้ีจะคำนึงถงึ วฒุ ิภาวะและ ความรคู้ วามสามารถของผ้เู รียนเปน็ สำคัญ เกณฑ์การจบหลกั สตู รระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๑) ผูเ้ รยี นเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเตมิ ไมเ่ กิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกติ และรายวชิ าเพมิ่ เติมตามท่สี ถานศึกษากำหนด ๒) ผู้เรยี นต้องได้หนว่ ยกิตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกวา่ ๗๗ หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ า พืน้ ฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่มิ เตมิ ไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ หน่วยกิต ๓) ผเู้ รียนมผี ลการประเมิน การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดับผา่ น เกณฑก์ าร ประเมินตามท่สี ถานศึกษากำหนด ๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศึกษากำหนด ๕) ผ้เู รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี สถานศึกษา ระเบียบวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศกั ราช 2565

๔๑ ส่วนท่ี 6 การประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดับชาติ การประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทีเ่ ป็นระดับมาตรฐาน ระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้มีการประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทุกระดับช้ัน เพอ่ื ให้การดำเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โรงเรียนจึงไดก้ ำหนดแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ ดังนี้ ๑. ผ้แู ทนสถานศึกษาเข้ารับการประชุมช้ีแจงวธิ กี ารดำเนินการทดสอบรว่ มกับสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี ๒. จัดส่งรายชื่อคณะกรรมการดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมห้องสอบ คณะกรรมการตรวจค าตอบชนิดเขยี นตอบ และ กรรมการรับ–ส่งขอ้ สอบ สง่ ไปใหส้ านกั งานเขตพื้นท่เี พื่อแตง่ ตัง้ ๓. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินการประเมิน คุณภาพตามคำสั่งจากข้อ 2 ถึงวิธีการดำเนินการสอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติได้ตรงกันตามแนว ปฏิบัติในคู่มือการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและเป็นไปตาม การดำเนินการสอบแบบทดสอบมาตรฐานอย่างเครง่ ครัด ๔. คณะกรรมการกลางจัดพิมพ์รายชื่อพร้อมกำหนดรหัส / เลขที่นักเรียนตามจำนวนนักเรียน / ห้องเรียนที่กำหนดไว้ในคู่มอื นำไปประกาศไว้หน้าห้องสอบแตล่ ะหอ้ งเพื่อให้นักเรียนได้ทราบว่า ตนเองเลขที่ เทา่ ไรสอบหอ้ งท่เี ทา่ ใด พรอ้ มตดิ เลขทีข่ องนกั เรียนไว้บนโต๊ะทน่ี ั่งสอบ ๕. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชุมชี้แจงนักเรียนให้ตระหนักถึงความส ำคัญ ของการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ทั้งในด้านส่วนตัวระดับโรงเรียนระดับเขตและระดับชาติ ควรใหค้ วามรว่ มมือตัง้ ใจในการสอบอยา่ งเต็มความสามารถ ๖. กรณีที่นักเรียนไม่ได้รับการประเมินตามวันเวลาที่กำหนด ให้สถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามและประสานงานกับเขตพื้นที่ดำเนินการประเมินให้เสร็จสิ้นภายใน ๒ สัปดาห์ หลังจากทราบรายชื่อ นกั เรียนทย่ี ังไม่ได้รบั การประเมนิ ๗. เมื่อสำนักงานเขตพื้นที่แจ้งผลการประเมินมายังสถานศึกษา ให้นำผลการประเมินมาทบทวน คุณภาพร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการกบั คณะกรรมการสถานศึกษา และแจ้งผล การประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผล และดำเนินการต่อไปโดยเฉพาะผู้เรียนและครูผู้สอนนำไปพิจารณา ในการพัฒนาปรบั ปรุงตนเองตอ่ ไป ระเบยี บวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พทุ ธศักราช 2565

๔๒ บรรณานกุ รม สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน. (๒๕๕๑). แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนร.ู้ กรงุ เทพฯ : องค์การรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ). ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศกั ราช 2565

๔๓ 1. นายวสุกฤต สุวรรณเทน คณะผจู้ ดั ทำ ประธานกรรมการ 2. นายชาตชิ าย วารยี ์ กรรมการ 3. นางชมภูนชุ นาชยั เวียง ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นแกง้ กรรมการ 4. นางมัลลิกา สุขเกษม ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นางเพชรา เฒ่าอุดม ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ 6. นายสทุ ธพิ งษ์ เวียงพรมมา ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ 7. นางสาวชไมพร เหาะเหนิ ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ 8. นายอฐั พร อบเชย ครูชำนาญการ กรรมการ 9. นางสาวกุลณดา บญุ เฮา้ กรรมการ 10. นายจิระโชติ ยะไชยศรี ครู กรรมการ 11. นางสาวสุปราณี ซูซี ครผู ูช้ ่วย กรรมการ 12. นางสาวจิราพร ทาระกะจดั ครู กรรมการ 13. นายสุนัย ล่ำสนั ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ 14. นางสาวรัตติยา ไชยปญั หา ครูผูช้ ว่ ย 15. นายชติ พล พ่วงทิม ครู กรรมการ 16. นางสาวกานดา จนั ทะวงศ์ ครชู ำนาญการ กรรมการ 17. นายนพรัตน์ เคนสี กรรมการ 18. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ครูผู้ชว่ ย กรรมการ พนกั งานราชการ กรรมการและเลขานกุ าร ครพู ีเ่ ลยี้ งเด็กพิการ ครูธรุ การ ครชู ำนาญการ ระเบยี บวดั ผลและการประเมนิ ผลโรงเรยี นบ้านแกง้ พุทธศักราช 2565

๔๔ โรงเรยี นบา้ นแก้ง อำเภอวานรนิวาส จงั หวัดสกลนคร สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 กระทรวงศกึ ษาธิการ ระเบียบวดั ผลและการประเมินผลโรงเรยี นบา้ นแกง้ พทุ ธศักราช 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook