Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563

รายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563

Published by เมตตา ชาญฉลาด, 2022-08-28 14:16:07

Description: รายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

รายงานการใช้หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นแกง้ พุทธศักราช 25๖๑ (ฉบบั ปรับปรงุ 256๓) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปีการศกึ ษา 256๓ ................................................. 1. ข้อมูลพนื้ ฐานของครู 1.1 ชอื่ – สกลุ นางสาวเมตตา ชาญฉลาด อายุ 3๒ ปี ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.2 ระดับช้ันทีส่ อน ภาคเรยี นที่ 1 -2 ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ท่ี รายวชิ า/ชน้ั ห้อง จำนวนนกั เรยี น จำนวนชั่วโมง/ สปั ดาห์ 1 วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 9 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2 วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 1 11 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 3 วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 1 13 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 4 วิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 1 13 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 5 วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 1 13 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 6 วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 1 13 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ 7 เทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 1 13 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 8 เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 1 13 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 9 เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 1 13 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ 10 กจิ กรรมแนะแนว ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 1 13 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 11 Big cleaning day ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 1 13 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 12 กจิ กรรมลูกเสือ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 1 13 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ รวมทัง้ สิ้น 5 72 21 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 1.3 การนเิ ทศการสอน  ได้รบั การนเิ ทศจากนักวิชาการหรือศึกษานเิ ทศก์ ไมไ่ ดร้ ับ การนิเทศจากนกั วชิ าการหรือศกึ ษานเิ ทศก์  ไดร้ ับ การนเิ ทศจากท่านผูอ้ ำนวยการรงเรียน และเพ่ือนครูในโรงเรียน  ไมไ่ ด้รบั การนิเทศจากเพื่อนครูและหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ....................................... 1.4 ขา้ พเจ้าไดป้ ฏิบัตกิ ารสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซึ่งเป็นรายวิชาที่ตรงกับวิชาเอกและความถนัดของข้าพเจ้า ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในด้าน การเรียนการสอนในรูปแบบของการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงาน การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและจากการ ค้นคว้าเอกสาร ตำรา อินเตอร์เน็ต และแหล่งความรู้อื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีประสบการณ์ในการสอน เป็นเวลา 7 ปี

1.5 ผลงานทภี่ าคภมู ิใจ ได้ร่วมกบั คณะครใู นองคก์ รและนอกองคก์ รในการร่วมพฒั นา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ังร่วมพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เพื่อยกระดับให้สูงขึ้น ในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี - ไดร้ บั รางวัล 1. ไดผ้ า่ นการอบรมครูการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19) ผา่ นระบบการประชุมทางไกล 2. วิธกี ารจัดทำและการใชห้ น่วยการเรียนรู้ 2.1 ผสู้ อนได้ทำการแบง่ หนว่ ยการเรยี นรู้ ในแตล่ ะรายวิชา ดังนี้ ๑) รายวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ได้จัดทำหน่วยการเรียนรู้ ท้งั หมด 3 หน่วยการเรียนรู้ เวลา 80 ชัว่ โมง จำนวน 2 หนว่ ยกติ ไดแ้ ก่ หน่วยที่ 1 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง หนว่ ยที่ 2 วสั ดุและสสาร หนว่ ยท่ี 3 ดวงจันทรแ์ ละระบบสรุ ยิ ะของเรา ๒) รายวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ได้จัดทำหน่วยการเรียนรู้ ทงั้ หมด 5 หน่วยการเรยี นรู้ เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2 หนว่ ยกิต ไดแ้ ก่ หนว่ ยท่ี 1 การดำรงพันธุข์ องสิ่งมีชวี ติ หน่วยที่ 2 แรงและความดนั หน่วยที่ 3 เสยี งกับการไดย้ ิน หนว่ ยท่ี 4 ลม ฟ้า อากาศ หน่วยท่ี 5 ปรากฏการณจ์ ากการหมนุ รอบตัวเองของโลก ๓) รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ไดจ้ ดั ทำหน่วยการเรียนรู้ ทั้งหมด 8 หน่วยการเรยี นรู้ เวลา 80 ชว่ั โมง จำนวน 2 หน่วยกิต ไดแ้ ก่ หนว่ ยที่ 1 การเจรญิ เตบิ โตและอวัยวะของมนษุ ย์ หน่วยที่ 2 อาหารและสารอาหาร หน่วยที่ 3 สิง่ มีชวี ติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม หน่วยที่ 4 ปรากฏการณข์ องโลก หน่วยที่ 5 สารในชีวิตประจำวัน หนว่ ยท่ี 6 หินและการเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลก หนว่ ยที่ 7 ไฟฟ้า หนว่ ยท่ี 8 เทคโนโลยีอวกาศ ๓) รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ไดจ้ ัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้ ท้ังหมด 8 หนว่ ยการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ได้แก่

หน่วยที่ 1 หน่วยของส่งิ มชี ีวิต หน่วยที่ 2 การดำรงชวี ติ ของพชื 1 หน่วยท่ี 3 การดำรงชีวติ ของพืช 2 หนว่ ยที่ 4 สมบัตขิ องสารและการจำแนก หน่วยที่ 5 สารละลาย ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ไดแ้ ก่ หน่วยท่ี 1 แรงและการเคลื่อนที่ หน่วยท่ี 2 พลงั งานความร้อน หนว่ ยท่ี 3 บรรยากาศ หนว่ ยท่ี 4 ลมฟา้ อากาศ 4) รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ไดจ้ ัดทำหน่วยการเรยี นรู้ ทง้ั หมด 8 หน่วยการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ไดแ้ ก่ หนว่ ยท่ี 1 ระบบต่าง ๆ ในรา่ งกาย หนว่ ยท่ี 2 อาหารและสารเสพติด หนว่ ยท่ี 3 สารและการเปล่ยี นแปลง หนว่ ยที่ 4 ปฎกิ รยิ าเคมีและผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ไดแ้ ก่ หนว่ ยที่ 1 สารและสมบตั ิของสาร หนว่ ยที่ 2 แรงและการเคลื่อนท่ี หน่วยที่ 3 แสงและการเกิดภาพ หน่วยที่ 4 โลกและการเปล่ียนแปลง 5) รายวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ไดจ้ ดั ทำหน่วยการเรียนรู้ ทั้งหมด 8 หนว่ ยการเรยี นรู้ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ได้แก่ หนว่ ยที่ 1 พันธุกรรมและความหลานหลายของส่งิ มชี วี ิต หนว่ ยที่ 2 ชวี ติ และส่งิ แวดล้อม ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ได้แก่ หนว่ ยท่ี 3 ไฟฟ้า หน่วยที่ 4 อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หน่วยท่ี 5 เอกภพ ขั้นตอนและวิธกี ารจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ ในการออกหน่วยการเรียนรู้ ได้ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้ง ในการบูรณาการให้สอดคล้องกับท้องถ่ิน โดยจัดทำหน่วยการเรียนรู้เป็นลำดบั ขนั้ ตอน ดงั นี้ - วิเคราะหต์ วั ช้ีวดั ส่มู าตรฐานการเรียนรู้ - กำหนดสาระสำคญั วา่ ผู้เรียนรอู้ ะไร ทำอะไรได้

- จดั ทำโครงสรา้ งรายวชิ า - วิเคราะห์มาตรฐานสสู่ มรรถนะและคณุ ลกั ษณะ - วเิ คราะหห์ ลักฐานการเรยี นรู้ - วางแผนกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ - ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ - ตรวจสอบกจิ กรรมการเรยี นรู้ - ศึกษาองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ 2.2 ความสำเร็จและหรือปัญหาของการนำไปใช้ ความสำเรจ็ มีการนำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้งที่มีการบูรณาการให้สอดคล้องกับความ ต้องการของชุมชนและท้องถิ่น โดยใช้แนวคิดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการเข้าสู่การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการจัดทำหน่วย การเรียนรู้ในรายวิชาที่สอน และมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ชัดเจน โดยมีการกำหนด สาระ สำคัญ ว่าผู้เรียนรูอ้ ะไร ทำอะไรได้ จัดทำโครงสร้างรายวชิ า วิเคราะห์ มาตรฐานสูสมรรถนะและคุณลักษณะ ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ อย่างครบถ้วน ปัญหา องค์ประกอบของหลักสูตรมีไม่ครบถ้วนและไม่ตรงตามสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 การ จัดทำหลกั สตู รขาดการวิเคราะห์ ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ไม่มีสว่ นในการจัดการจดั ทำหลักสูตร 2.3 วิธีการแก้ปญั หา ด้านการเรียนการสอน ครูต้องมีความตระหนัก เจตคติ ทำความเข้าใจเก่ียวกับจุดมุ่งหมายและโครงสร้างของหลักสูตร พัฒนา สื่อเทคโนโลยที ่ใี ช้ในการเรียนการสอนท่ีน่าสนใจ เกิดความเหมาะสมกบั ช่วงวัย ดา้ นการวเิ คราะหห์ ลักสูตร ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้มากขึ้น เพื่อเป็นการระดมสมอง ระหว่างผู้บริหาร ครู และชุมชน ในการจัดทำหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผล และควรมีการติดตาม ประเมินผลการจดั ทำหลักสูตรอย่างเปน็ ระบบ วธิ กี ารเรียนรขู้ องนักเรยี น จากการสงั เกตของครผู ู้สอนในการนำหนว่ ยการเรียนรทู้ จี่ ดั ทำมาใช้สอนนักเรียน ผลปรากฏวา่ ผู้เรยี น มคี วามกระตือรอื ร้นต่อกิจกรรมการเรยี นการสอน การปฏบิ ัติจากสถานการณ์จรงิ และให้ ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ โดยการอภิปรายในกิจกรรมกลุ่ม การแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี การใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น รักในการทำงาน การสืบคน้ ข้อมลู จากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ได้ดีอยใู่ นระดับมากถึงมากทส่ี ุด ผลการเรยี นรู้/ผลสมั ฤทธิข์ องนักเรียน จากการสังเกตของครูผู้สอนในการนำหน่วยการเรียนรู้ที่จัดทำมาใช้สอนนักเรียน ผลปรากฏว่า โดย ภาพรวมนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด แตจ่ ะเกดิ ปญั หาเรื่องของการลืมเน้ือหาในส่ิงที่เรียนผ่าน ไปแล้ว เม่ือจะต้องนำไปใช้ในการทดสอบกลางภาคหรือปลายภาคเรียนนักเรียนก็จะไม่สามารถนำความรู้ที่ได้ เรียนไปใช้ในการทดสอบได้เท่าที่ควร จึงต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้แบบเน้น ย้ำ ซ้ำ ทวน เพื่อให้จดจำความรู้ และมีทักษะด้านการแก้ปัญหา การให้เหตผุ ล และการคำนวณได้อย่างถูกต้อง และมีการจัดกิจกรรมให้นักเรยี น

เป็นผู้ปฏิบตั กิ ิจกรรม (Active Learning) มากยิง่ ขนึ้ เนน้ การทบทวน และทดสอบความรจู้ บในแต่ละเรื่องทุก ๆ ครั้ง เพื่อสร้างความคงทนในการเรียนรู้ และเพิ่มเติมสื่อการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ใหห้ ลากหลายมากย่งิ ขน้ึ เพ่ือใหน้ กั เรยี นเกดิ ความสนุกกับการเรียนรู้ และได้พฒั นาสมรรถนะและทักษะทีส่ ำคญั ดา้ นต่าง ๆ ใหก้ ับนกั เรียน ด้วย เช่น ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม การเป็นผู้นำผู้ตาม ทักษะการคิดแก้ปัญหา ทักษะในการสื่อสารและ นำเสนอ ผลการเรียนรู/้ ผลสมั ฤทธ์ิของนกั เรียน จากการประเมนิ ผลการเรยี นของนักเรยี น ปีการศึกษา 256๒ 1. สรุปผลการตดั สินผลการเรยี น รายวชิ า(พ้ืนฐาน) ระดบั ชั้น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประ ัวติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพฯ ป.1 10 11 10 9 7 9 11 11 10 ป.2 8 10 12 7 6 8 17 6 10 ป.3 8 6 10 11 7 10 15 15 15 ป.4 9 5 7 9 9 4 9 9 9 ป.5 10 1 9 10 10 8 10 10 10 ป.6 7 7 9 14 13 8 13 14 14 ม.1 5 7 2 2 8 9 10 10 10 ม.2 6 4 4 13 13 5 13 13 10 ม.3 8 6 7 11 14 11 14 14 14 รวม 71 57 70 86 87 77 99 102 102 ร้อยละ 61.74 44.35 60.87 74.78 75.65 66.96 86.09 88.70 88.70 2. สรุปผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ เขยี น ระดบั ชั้น จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี ร้อยละ นักเรียน ผา่ น ดี ดีเยยี่ ม ขน้ึ ไป ไม่ผา่ น 76.92 8 10 64.71 ป.1 13 0 3 2 3 11 100 100 ป.2 17 0 6 8 15 15 59 ป.3 15 0 0 0 ป.4 9 0 0 4

ป.5 10 0055 10 100 ป.6 14 0734 7 50 ม.1 10 0253 8 80 ม.2 13 0 0 0 13 13 100 ม.3 14 0059 14 100 รวม 115 0 18 32 75 97 0 15.65 27.83 65.22 84.35 ร้อยละ รอ้ ยละ ระดับดี 100 ๓. สรุปผลการประเมินคุณลักณะอนั พงึ ประสงค์ ข้นึ ไป 94.1 100 ระดบั ช้นั จำนวน ผลการประเมนิ 13 100 นักเรียน 16 100 ไม่ผา่ น ผ่าน ดี ดีเย่ยี ม 15 85.71 ป.1 13 0 00 13 9 80 ป.2 17 0 10 16 10 100 ป.3 15 0 00 15 12 100 ป.4 9 0 05 4 8 ป.5 10 0 00 10 13 ป.6 14 0 2 10 2 14 ม.1 10 0 23 5 110 ม.2 13 0 00 13 95.66 ม.3 14 0 04 10 รวม 115 0 5 22 88 0 4.34 19.13 76.53 ร้อยละ

3. ผลการประเมินตนเอง ทเี่ ชื่อมโยงหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ( โปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในรายการที่ทา่ นปฏบิ ัตจิ รงิ ) ประเดน็ ทำได้บ้าง ไม่ได้ทำหรอื ทำได้ดีมาก ทำได้ดี แต่ต้อง ตอ้ งการ 1. การศึกษาหลกั สตู ร 2. โครงสรา้ งรายวิชา พัฒนาเพม่ิ พัฒนามาก 3. หนว่ ยการเรยี นรู้ ✓ 4. แผนการจัดการเรยี นรู้ ✓ 5. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ✓ 6. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ✓ 7. การใช้คำถาม ✓ 8. การวัด ประเมนิ ผล ✓ 9. การพัฒนาทักษะการคดิ ✓ 10. การดูแลนักเรยี นเป็นรายบุคคล ✓ 11. การมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครอง ✓ 12. วจิ ยั ปฏบิ ัติการ ✓ 13. การสอดแทรกคุณลกั ษณะอันพึง ✓ ประสงค์ ✓ ✓ รวม(ประเดน็ ) 76 จากตาราง พบวา่ ประเด็นท่ที ำไดใ้ นระดับดีมาก มอี ยู่ …๗….. ประเด็น ดังน้ี การจัดทำโครงสร้างรายวิชา การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การ ดูแลนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และการสอดแทรกคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเดน็ ทีท่ ำได้ในระดับดี มีอยู่ …๖.. ประเด็น ดังน้ี การศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาและหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การผลิต สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ การใช้คำถาม การวดั และประเมินผล การพฒั นาทักษะการคดิ และการวจิ ยั เชิงปฏิบัติการ ประเด็นทท่ี ำไดใ้ นระดบั ทำได้บา้ งแต่ต้องพัฒนาเพิ่ม มอี ยู่ …0….. ประเด็น การมสี ่วนร่วมของผปู้ กครอง ประเด็นท่ที ำได้ในระดับไม่ได้ทำหรือตอ้ งการพัฒนามากมีอยู่ …0….. ประเด็น

ตอนที่ 1 องคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศกึ ษา รายการ ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข 4321 1 สว่ นนำ 1.1 ความนำ แสดงความเช่ือมโยงระหวา่ งหลักสูตรแกนกลาง ✓ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กรอบหลกั สูตร ระดับท้องถนิ่ จดุ เนน้ และความต้องการของโรงเรยี น 1.2 วสิ ัยทศั น์ แสดงภาพอนาคตท่ีพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี นที่ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างชดั เจน สอดคล้องกับ ✓ กรอบหลักสตู รระดับท้องถนิ่ ครอบคลมุ สภาพความตอ้ งการของ โรงเรยี น ชมุ ชน ท้องถิ่น มคี วามชัดเจนสามารถปฏบิ ตั ิได้ 1.3 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น มคี วามสอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ✓ ข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.4 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มคี วามสอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สอดคล้องกับเปา้ หมาย ✓ จดุ เน้น กรอบหลกั สูตรระดับท้องถิน่ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของโรงเรียน 2. โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา 2.1 โครงสรา้ งเวลาเรยี น มีการระบเุ วลาเรยี นตลอดหลักสูตร จำนวน 8 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ท่เี ป็นเวลาเรียนพืน้ ฐาน และเพ่ิมเติมจำแนก ✓ แต่ละชนั้ ปีอยา่ งชัดเจน ระบุเวลาการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน จำแนกแต่ละชัน้ ปีอย่างชัดเจน เวลาเรยี นรวมของหลักสูตร สถานศึกษาสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลาเรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.2 โครงสร้างหลกั สตู รชน้ั ปี มกี ารระบุรายวิชาพ้ืนฐาน รายวชิ าเพิ่มเติม ระบุรหัส วิชา ชื่อรายวิชา พร้อมท้ังระบุเวลาเรียน และ/หรือหนว่ ยกิต มี การระบุกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน พร้อมท้งั ระบเุ วลาเรียนไวอ้ ย่าง ✓ ถูกต้อง ชดั เจน รายวชิ าเพ่ิมเติม / กิจกรรมเพิ่มเติมท่ีกำหนด สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียน

รายการ ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรงุ /แกไ้ ข 432 1 3. คำอธบิ ายรายวิชา มีการระบุรหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า และชือ่ กล่มุ สาระการ ✓ เรียนรู้ ช้ันปีทสี่ อน จำนวนเวลาเรียน และ/หรือหน่วยกติ ไว้อยา่ งถกู ต้องชดั เจน การเขียนคำอธบิ ายรายวิชาได้เขียนเป็นความเรียงโดย ระบุ องคค์ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะ หรอื เจตคติ ทต่ี อ้ งการและครอบคลุมตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ระบุรหสั ตัวชี้วัด ในรายวิชาพ้ืนฐานและจำนวนรวม ของตวั ชีว้ ัดและระบผุ ลการเรียนรู้ ในรายวชิ าเพิม่ เติมและ จำนวนรวมของผลการเรียนรู้ถูกต้อง มกี ารกำหนดสาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ สอดแทรกอยู่ ในคำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐานหรอื รายวชิ าเพม่ิ เติม 4. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ในโครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาและโครงสรา้ ง หลกั สูตรช้ันปี ได้ระบกุ ิจกรรม และจัดเวลา สอน ตามที่ กำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานและ ✓ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ในสว่ นท่ี 4 ของหลักสตู รสถานศึกษามีการจัดทำ โครงสร้างและแนวการจัดกิจกรรม แนวทางการวดั และ ประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นทัง้ 3 กิจกรรมท่ชี ัดเจน 5. เกณฑ์การจบการศึกษา ระบุเวลาเรยี น/หนว่ ยกติ ท้งั รายวชิ าพ้นื ฐานและ รายวชิ าเพ่ิมเติมตามเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียน ชดั เจน ✓ ระบเุ กณฑก์ ารประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และ เขียนไว้อย่างชดั เจน ระบเุ กณฑก์ ารประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ไว้ อย่างชดั เจน ระบเุ กณฑ์การผา่ นกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นไว้อยา่ งชดั เจน

ตอนที่ 2 การนำหลกั สตู รสถานสถานศกึ ษาสู่การจดั การเรียนรู้ (หลกั สูตรระดบั ชน้ั เรียน) รายการ ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรงุ /แกไ้ ข 432 1 1 โครงสร้างรายวิชา 1.1 การจดั กลมุ่ มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วดั ✓ จดั กล่มุ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัดท่ีมี ความสมั พันธ์กนั และเวลา ในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ เหมาะสม ทุกกลุม่ สาระฯ 1.2 การจดั ทำสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ไดว้ ิเคราะหแ์ ก่นความรขู้ องทุกตัวช้ีวัดในแตล่ ะ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาจัดทำสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ✓ ชัดเจนเหมาะสมและครบทุกหน่วยการเรียนรูท้ ุกกลุ่มสาระฯ 1.3 การตง้ั ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ของแต่ละหนว่ ยการ ✓ เรียนรู้ ✓ ✓ สะทอ้ นให้เหน็ สาระสำคัญ หรอื ประเด็นหลักใน หนว่ ยการเรียนรนู้ น้ั ๆ น่าสนใจเหมาะสมกบั วัย ความสนใจ ความสามารถของผู้เรยี น ทุกกลมุ่ สาระฯ 1.4 การกำหนดสัดส่วนเวลาเรยี น กำหนดสดั ส่วนเวลาเรียนแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ เหมาะสม และรวมทุกหน่วยต้องเท่ากับเวลาเรยี นตามหลักสูตรทุกกลุ่ม สาระฯ 1.5 การกำหนดสดั ส่วนนำ้ หนกั คะแนน กำหนดสัดสว่ นนำ้ หนกั คะแนนแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ เหมาะสมและรวมตลอดป/ี ภาคเรยี นเท่ากบั 100 คะแนน ทุกกลุม่ สาระฯ 2. หนว่ ยการเรียนรู้ ✓ 2.1 การวางแผนจดั ทำหน่วยการเรียนรู้ มีการวางแผนออกแบบหนว่ ยการเรียนรคู้ รบทุก หนว่ ยการเรียนรู้ และทกุ กลุ่มสาระฯ -

รายการ ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรงุ /แกไ้ ข 4321 2.2 การจัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้ : การกำหนด ✓ เป้าหมาย ✓ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วัด สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ถกู ต้อง เหมาะสมมีความ สอดคล้องกนั ทุกกล่มุ สาระฯ 2.3 การจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ : การกำหนด หลกั ฐานการเรียนรู้ กำหนดชน้ิ งาน /ภาระงาน การวัดและประเมนิ ผล สอดคล้องกบั ตัวชวี้ ดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ทกุ กลมุ่ สาระฯ 2.4 การจดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ : ออกแบบกจิ กรรม ✓ การเรยี นรู้ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกบั ตัวชว้ี ดั /มาตรฐานและเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญทุกกล่มุ สาระฯ 3. แผนการจัดการเรียนรู้ ✓ 3.1 เขยี นแผนการจัดการเรยี นรทู้ ค่ี รบตาม ✓ องคป์ ระกอบท่สี ำคญั แผนการจดั การเรียนรู้สมบูรณ์ มีองค์ประกอบสำคัญ ครบทุกหน่วยและกลุ่มสาระฯ 3.2 มีการใช้เทคโนโลยีทางการศกึ ษาในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 3.3 ใชก้ ระบวนการวิจยั ในชั้นเรียนมาใชใ้ นการจัด ✓ กระบวนการเรียนรูข้ องครู แกไ้ ขปัญหาและพัฒนาผ้เู รียน ✓ 3.4 การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ✓ มกี ารประเมนิ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ุกแผนก่อนการนำไปใช้ จริงทกุ กลมุ่ สาระฯ 3.3 มกี ารนำเอาแผนที่ปรบั ปรงุ แล้วไปใช้ในการจดั การ เรยี นรูจ้ รงิ ทุกกลุม่ สาระฯ 4. พฒั นาหลักสูตรการศึกษาอยา่ งยั่งยืน 4.1 มีการนิเทศการใช้หลกั สตู รสถานศึกษาอยา่ ง ✓ ตอ่ เนื่อง 4.2 มกี ารประเมนิ การใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาอย่าง ✓ ต่อเนอื่ ง 4.3 นำผลการประเมินการใช้หลกั สตู รสถานศึกษา ✓ มาวางแผนในการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง

4. การร่วมมือพัฒนางาน มีการประชุมปรึกษาหารือกับคณะครู ระดับชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษา เพื่อหาข้อตกลง ร่วมกันในด้านการเรียนการสอน การดูแลช่วยเหลือ นักเรียนที่มีปัญหา เพื่อระดมพลังสมองในการร่วมกันพัฒนา หลักสูตรและพฒั นาผู้เรยี น ใหม้ ผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ีสูงขน้ึ และอยรู่ ่วมกับ ผ้อู น่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสขุ 5. การสนับสนุนชว่ ยเหลือจากผู้ท่เี ก่ียวขอ้ ง ไดร้ บั การสนับสนนุ จากผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้ากล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการในการอำนวยความ สะดวก ในการประชมุ เพือ่ จดั ทำหลกั สตู ร สอ่ื อุปกรณ์ เครื่องมืออำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ตลอดจนสนับสนนุ เรอ่ื ง ของงบประมาณด้านต่าง ๆ ในการจดั ประชุมเพ่ือเปน็ แนวทางในการทบทวนการจดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหม้ ี ความถูกต้องเหมาะสม และทางตน้ สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ได้กำกบั ติดตาม ให้โรงเรียนได้จดั ทำ ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรได้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ในการขบั เคล่อื น การศกึ ษา 6. ตอ้ งการได้รับความช่วยเหลอื - ลงชือ่ ...................................................ผูร้ ายงาน ลงชอื่ ................................................... (นางสาวเมตตา ชาญฉลาด) (นางสาวชไมพร เหาะเหนิ ) ตำแหน่งครู หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ลงชอ่ื ................................................... (นายวสกุ ฤต สุวรรณเทน) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านแก้ง

คำนำ โรงเรียนบ้านแก้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ได้จัดทำหลักสูตร สถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมใน บางส่วน ตามนโยบายการจัดการศึกษาทุกระดับและสภาพบริบทที่เปลี่ยนแปลงทุกปี เพื่อความเหมาะสมกับ ผู้เรียนใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนตามศักยภาพและมีคุณภาพบรรลตุ ามเป้าหมายของการจัดการศึกษา โรงเรียนจึงเห็นว่า ควรมีการตรวจสอบโดยภาพรวมของการบริหารและพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ จึงจัดการประเมินหลักสูตร สถานศกึ ษาขึ้น เพอื่ เปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สมบูรณ์ย่ิงขนึ้ ต่อไป

รายงานการใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านแกง้ พทุ ธศกั ราช 256๑ (ฉบบั ปรับปรุง 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปกี ารศกึ ษา 2563 นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการ โรงเรียนบ้านแกง้ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานการใช้หลกั สูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 256๓