Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใช้ชีวิตคู่อย่างไรให้เวิร์ค_ในยุค_Work_from_home

ใช้ชีวิตคู่อย่างไรให้เวิร์ค_ในยุค_Work_from_home

Published by Chanya Chanya, 2021-11-02 03:39:47

Description: ใช้ชีวิตคู่อย่างไรให้เวิร์ค_ในยุค_Work_from_home

Search

Read the Text Version

E-book : WORK from . (ThaiHealth Academy)

WORK from

ชื่อหนังสอื e-book ใชช้ ีวติ คอู่ ย่างไรใหเ้ วริ ์ค ในยคุ Work From Home พมิ พ์คร้งั ท่ี จำ�นวน 1, พ.ศ.2564 สงวนลขิ สทิ ธ ์ิ จัดท�ำ โดย - ตาม พ.ร.บ. ลิขสทิ ธ์ิ (ฉบับเพม่ิ เตมิ ) พ.ศ. 2558 สถาบันการเรียนรูก้ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy) หนว่ ยงาน ลักษณะพเิ ศษภายใตส้ �ำ นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ห้ามมิให้ผู้ใดใช้ประโยชน์ ทำ�ซำ้� ดัดแปลง นำ�ออกแสดง ทำ�ให้ปรากฏหรือเผยแพร่ ต่อสาธารณชน ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ ซ่ึงข้อมูลในเอกสารน้ีไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน เวน้ แต่ไดร้ บั อนญุ าตเปน็ หนังสอื จากเจา้ ของลิขสทิ ธิเ์ ทา่ นนั้ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แห่งชาติ ISBN 978-616-393-285-3 จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรียนรกู้ ารสร้างเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

คำ�นิยม สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy) เป็นหน่วยงานลักษณะ พิเศษภายในสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในปี พ.ศ.2563 โดยมี พันธกิจ คือ การพัฒนาขีดความสามารถและยกระดับคนทำ�งานสร้างสุขและนักสร้างเสริมสุขภาวะ โดยไมม่ งุ่ เนน้ ก�ำ ไร งานบรกิ ารของสถาบนั การเรยี นรกู้ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (ThaiHealth Academy) ไดแ้ ก่ งานพฒั นาหลกั สตู รและจดั ฝกึ อบรม (Training course) งานจดั เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นร/ู้ เวทวี ชิ าการ (Learning forum) งานให้บริการทางวิชาการและสร้างภาคีเครือข่ายเพื่องานพัฒนาศักยภาพแก่ องคก์ รตา่ งๆทงั้ องคก์ รภาครฐั องคก์ รภาคเอกชน องคก์ รภาคประชาสงั คม ประชาชนทว่ั ไปและภาคี เครอื ขา่ ยของ สสส. งานบรกิ ารการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Lifelong learning) ไมว่ า่ จะในรปู แบบ on-line หรอื off-line learning มเี ปา้ หมายเพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ความรู้ ทกั ษะ และทศั นคตทิ จี่ �ำ เปน็ เพอื่ ใชใ้ นงานขบั เคลอ่ื น งานสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะและสามารถน�ำ ไปขยายผลในระดบั พนื้ ท่ี หนว่ ยงาน องคก์ ร และประชาชนทวั่ ไป ทง้ั ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติในท่ีสุด การสัมมนา on-line ในหัวข้อ “ใช้ชีวิตคู่อย่างไรให้เวิร์คในยุค work from home” เป็นการ จัดสัมมนา on-line คร้ังที่ 4 ของสถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy) โดยมีวิทยากร คือ อาจารย์ปิยฉัตร เรืองวิเศษ ฟินนี่ ผู้อำ�นวยการศูนย์ไทรศิลป์และ ผู้เช่ียวชาญด้านการให้คำ�ปรึกษาปัญหาครอบครัว ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ในช่วง ที่มีการล็อกดาวน์เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิค-19 ทางสถาบันการเรียนรู้ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy) คาดหวงั วา่ เน้ือหาไม่วา่ จะเปน็ สว่ นความรู้ ทกั ษะการ ส่อื สารการใชช้ ีวิต มุมมองทัศนคติจากการสมั มนาในหนังสอื เลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์และช่วยเสริมสรา้ ง สขุ ภาวะทด่ี ใี หเ้ กดิ ขน้ึ ในครอบครวั ไมว่ า่ จะเปน็ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควคิ -19 หรอื หลงั การแพร่ระบาดได้ผา่ นพ้นไปแล้ว รศ.ดร.นพ.นนั ทวชั สทิ ธิรกั ษ์ ผ้อู ำ�นวยการสถาบันการเรียนรกู้ ารสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy) สิงหาคม 2564 จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรียนรกู้ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

ค�ำ นำ� “ยคุ วถิ ชี วี ติ ใหม”่ หรอื New Normal เปน็ ยคุ ทหี่ ลายสงิ่ หลายอยา่ งเปลยี่ นไปจากเดมิ โดยสนิ้ เชงิ และ “การปรบั ตัว” ให้เข้ากับการเปลยี่ นแปลงเป็นสิง่ ท่ีเราทกุ คนลว้ นตอ้ งรับมือ “ความสมั พนั ธ”์ ซึ่งเป็นเรอ่ื งเปราะบางของหลายๆ คู่อยูแ่ ลว้ เมอ่ื เจอวถิ ชี วี ติ ใหม่ทต่ี อ้ งท�ำ งานทบี่ ้าน (Work From Home) ลกู เรยี นออนไลน์ เหน็ หน้ากันเกอื บ 24 ชว่ั โมง หรอื บางคู่กอ็ ยู่ไกลกัน ท�ำ ให้เจอ กนั น้อยลงกวา่ เดมิ ล้วนก่อนให้เกดิ การสะสมของปัญหาเล็กๆ ท่ีก�ำ ลังเกาะกมุ หัวใจของครู่ กั เอาไว้ บางคู่ทะเลาะกันมากกว่าเดิม บางคู่มีความอึดอัดใจ มึนตึงใส่กันเกือบตลอดเวลา ปัญหาเรื่องการ เคารพพื้นท่ีส่วนตัวของกันและกันลดลง หรือปัญหาของครอบครัวใหญ่ที่อยู่ร่วมกันในบ้านมากกว่า 5 คนขึ้นไป ทำ�ให้การแบ่งเวลาของตัวเอง คู่ชีวิต และครอบครัวไม่ลงตัว ส่งผลให้เกิดความเครียด และภาวะซึมเศร้า มากไปกว่าน้ันคือการตัดสินใจจบความสัมพันธ์ลง และเหลือไว้เพียงร่องรอยของ บาดแผลในหวั ใจของคนรัก สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy) เห็นความสำ�คัญของปัญหา ดงั กลา่ วทีเ่ กดิ ขึน้ จงึ รวบรวมเทคนคิ และวธิ กี ารต่างๆ ของ อ.ปิยฉตั ร เรืองวเิ ศษ ฟนิ นี่ นกั ครอบครัว บำ�บัด ผู้เช่ียวชาญด้านการให้คำ�ปรึกษาปัญหาครอบครัว ผู้อำ�นวยการศูนย์ไทรศิลป์ เพื่อ “กระชับ ความสมั พนั ธข์ องครู่ กั ” ในยุค Work From Home ใหน้ กึ ถงึ ใจของกนั และกันให้มากข้ึน คอยผลัดกัน เปน็ พลงั บวกใหแ้ ก่กนั ในสถานการณท์ ี่ตึงเครียดเช่นน้ี ขอให้ทุกความสมั พันธ์ด�ำ เนนิ ไปดว้ ยความรกั ความเขา้ ใจ ความเห็นอกเหน็ ใจซึง่ กนั และกนั ตลอดไป คณะผจู้ ัดทำ� จดั ทำ�โดย สถาบันการเรยี นรูก้ ารสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy)

สารบัญ หนา้ เร่ือง 01 04 บทน�ำ 06 บทท่ี 1 เปลยี่ นการตง้ั ค�ำ ถามว่าทำ�ไม ให้เปน็ ค�ำ ถามปลายเปดิ ที่ชวนฟงั 08 บทที่ 2 ปรับกระบวนความคดิ ใหต้ รงกัน เพอ่ื เขา้ ใจกนั มากขนึ้ 10 บทท่ี 3 ฉันหรือเธอทไี่ มเ่ หมือนเดิม และเราเคยรักกันเพราะอะไร 14 บทที่ 4 เตมิ ชอ่ งว่างใหเ้ ต็มดว้ ยดาว 2 ดวง กบั 1 ความปรารถนา 19 บทที่ 5 เทคนิคถอดปลกั๊ เพอื่ คูลดาวนค์ วามรสู้ กึ 21 บทสรปุ ประวัติวิทยากร จดั ทำ�โดย สถาบนั การเรียนร้กู ารสร้างเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

01 บทน�ำ จดั ทำ�โดย สถาบนั การเรยี นร้กู ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

02 บทน�ำ “ใชช้ ีวิตค่อู ย่างไรให้เวิรค์ ในยุค Work From Home” ในช่วง 2 ปที ผ่ี ่านมา ขณะทีเ่ ราทุกคนกำ�ลังต่อสู้กบั สถานการณ์โควดิ -19 ปฏิเสธไม่ไดว้ ่านอก จากปัญหาเร่ืองสุขภาพ เรื่องการทำ�มาหากิน เร่ืองวิถีชีวิตท่ีเปล่ียนไปส้ินเชิงแล้วน้ัน เร่ือง “ความ สัมพนั ธ์” ในสถานะไม่ว่าจะเปน็ แบบคู่รกั สามภี รรยา หรือครอบครวั ก็อาจเปลยี่ นแปลงไปเช่นกัน อ าจเป็นเพราะความใกล้กันเกินไป จนอีกฝ่ายรู้สึกไม่มีพื้นท่ีส่วนตัว อาจเป็นเพราะความไกล ที่ทำ�ให้ คดิ วา่ อกี ฝา่ ยแอบมใี ครคนอนื่ ในใจ อาจเปน็ เพราะหอ้ งพกั แคบเกนิ ไป จนเหน็ พฤตกิ รรมของกนั และกนั ชดั เจนเกินไป อาจเป็นเพราะความเครียดท่กี �ำ ลงั เผชิญ ทำ�ใหค้ �ำ พดู ที่ออกมาบนั่ ทอนใจอีกฝ่าย Tip Box อาจเปน็ เพราะความใกลก้ ันเกินไป จนอกี ฝ่ายรูส้ กึ ไมม่ ีพ้นื ทส่ี ว่ นตวั อาจเป็นเพราะความไกล ท่ีทำ�ให้คิดว่าอกี ฝา่ ยแอบมใี ครคนอ่ืนในใจ อาจเปน็ เพราะหอ้ งพกั แคบเกินไป จนเหน็ พฤติกรรมของกันและกันชัดเจนเกินไป อาจเปน็ เพราะความเครยี ดท่ีก�ำ ลังเผชิญ ทำ�ใหค้ ำ�พูดที่ออกมาบั่นทอนใจอกี ฝ่าย นี่คือช่วงเวลาของ “บททดสอบความไว้วางใจกันในสัมพันธภาพ” หรือ อาจเรียกว่าสถานการณ์ โควิด-19 เป็น “ตัวช่วยหรือเร่งพิสูจน์ความสัมพันธ์” ทั้งความอดทน การส่ือสารระหว่างคู่ ความประนีประนอมเข้าอกเข้าใจ สำ�หรับคู่ท่ีอยู่กันคนละบ้าน และออกมาพบกันไม่ได้ในสถานการณ์ โควิด-19 โดยเฉพาะจังหวัดพื้นท่ีสีแดงเข้ม อาจทำ�ให้ “คู่รัก” เกิดความรู้สึกนอยด์ ระแวง ไปต่างๆ นานา หรือมีความคิดลบ กลัวว่าแฟนจะไปแอบคุยกับคนอื่น แต่ก็ยังมีข้อดีของการมีเทคโนโลยีสมัย ใหม่ ทำ�ให้วดิ ีโอคอลเหน็ หนา้ กันไดง้ ่าย ขณะท่ี คทู่ อ่ี ยดู่ ว้ ยกนั ตลอดเวลา แทบจะ 24 ชว่ั โมงนน้ั ในงานวจิ ยั ทางฟากฝง่ั ยโุ รปชว้ี า่ ในสถานการณ์ ลอ็ กดาวน์ ท�ำ ใหเ้ กดิ การท�ำ รา้ ยรา่ งกายกบั คขู่ องตนเองคอ่ นขา้ งมาก และมเี ปอรเ์ ซน็ ตท์ เ่ี พมิ่ สงู มากขนึ้ เนอื่ งจากพนื้ ทส่ี ว่ นตวั หายไปและมพี นื้ ทบ่ี า้ นคอ่ นขา้ งจ�ำ กดั จงึ เกดิ ความกระทบกระทง่ั ไดง้ า่ ย ดา้ นผล กระทบความสัมพันธ์ของพ่อ แม่ ลูก ก็ทวคี วามเครียดเพม่ิ มากขึ้น เน่อื งจากเด็กๆ ต้องเรยี นออนไลน์ ซ่งึ กระทบด้านความเครยี ดในหลายๆ แง่ จดั ทำ�โดย สถาบนั การเรียนรูก้ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

03 บทน�ำ ฝั่งครอบครัวใหญท่ ี่ประกอบไปดว้ ย ปู่ ยา่ ตา ยาย พ่อ แม่ ลูก ลงุ ป้า นา้ อา เปน็ ต้น อาจท�ำ ให้ พนื้ ทส่ี ว่ นตวั ของแตล่ ะคนลดลง ตอ้ งแบง่ ปนั เวลาสว่ นตวั ใหค้ รอบครวั ใหญม่ ากขนึ้ บรหิ ารเวลาท�ำ งาน ส่วนตวั ของตัวเองและมเี วลาสว่ นตวั น้อยลง อาจส่งผลให้เกิดความเครียด และอาการซมึ เศรา้ ท่ีตาม มา จรงิ อยทู่ แี่ ทบทกุ ครู่ กั มคี วามเปราะบางในความสมั พนั ธ์ แตส่ ง่ิ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งในผลลพั ธน์ น้ั ข้ึนอยู่กับศักยภาพพ้ืนฐานของครอบครัวเดมิ มมุ มองการสร้างชวี ติ คขู่ องแตล่ ะคู่ และการใชก้ ลยุทธ์ ในการสื่อสารเพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความขัดแยง้ รนุ แรงหรอื การปะทะขน้ึ อ .ปิยฉตั ร เรอื งวเิ ศษ ฟนิ นี่ นกั ครอบครวั บำ�บดั ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการใหค้ ำ�ปรกึ ษาปญั หาครอบครวั ผอู้ �ำ นวยการศนู ยไ์ ทรศลิ ป์ ใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ครู่ กั ทง้ั คทู่ เี่ ปน็ แฟน สามภี รรยา และเทคนคิ การ สื่อสารดีๆ เพื่อรักษาความสมั พนั ธ์ในช่วงทตี่ อ้ งเผชิญกับความเครียดในยุค Work From Home ให้ ผา่ นไปไดด้ ว้ ยดี จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรยี นรู้การสรา้ งเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy)

04 บทที่ 1 “เปล่ยี นการตงั้ คำ�ถาม ว่าท�ำ ไม? ใหเ้ ป็นคำ�ถามปลายเปดิ ทชี่ วนฟงั ”

05 บทที่ 1 “เปล่ยี นการตง้ั คำ�ถามว่าท�ำ ไม ใหเ้ ป็นคำ�ถามปลายเปดิ ทช่ี วนฟัง” การตงั้ ค�ำ ถามยิงใส่กนั วา่ “ท�ำ ไม…..” ฟงั แลว้ เหมือนเป็น “คำ�สั่งแบบช้นี วิ้ ” ท่ไี มร่ น่ื หอู กี ฝ่ายสกั เท่าไหร่ แถมยังชวนให้เกิดอารมณพ์ ุง่ ขนึ้ ไปอีก แนน่ อนว่านำ�ไปสกู่ ารทะเลาะอยา่ งแน่นอน ลอง “เปลี่ยนการตัง้ คำ�ถามดว้ ยปลายปิด ด้วยน�ำ้ เสยี งไม่ชวนฟัง” เป็นประโยคทวี่ ่า “อันน้ีเกิดอะไรข้ึนเหรอ? เธอเห็นไหม? เธอพอรูไ้ หม?” ด้วยนำ้�เสียงนุ่มๆ ที่ชวนฟัง ความรู้สึกของผู้ฟังก็จะเปลี่ยนไปทันที และยังสามารถช่วยเลี่ยง การปะทะ ไมก่ ล่าวโทษกันไดด้ ว้ ย จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรยี นรูก้ ารสร้างเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy)

06 บทท่ี 2 ปรับกระบวนความคดิ “ ใหต้ รงกนั ” เพ่อื เขา้ ใจกนั มากขน้ึ

07 บทท่ี 2 “ปรบั กระบวนความคดิ ใหต้ รงกนั เพ่อื เขา้ ใจกันมากขน้ึ ” โดยแนวคิดของคนแถบเอเชียจะให้นำ้�หนักความสำ�คัญของการดูแลตัวเองเป็นเร่ืองรอง และ หน้าที่การดูแลผู้อื่นเป็นเรื่องหลัก ลองเปลี่ยนเป็น “ดูแลตัวเองเป็นเรื่องหลัก เพ่ือท่ีจะดูแลคนอ่ืนได้ดี ขนึ้ ” เพราะกลไกของการใช้ชีวิตเป็นเฉกเชน่ นี้ การดแู ลตวั เอง ไมใ่ ช่การเหน็ แกต่ ัว แต่คือ “การสรา้ งพลัง” เพอื่ เราจะไดไ้ ปต่อยอดดูแลคนอน่ื ได้ดีข้นึ ดังน้ัน คู่รักท่ีใช้เวลาอยู่ด้วยกัน หรือคู่รักที่อยู่กับครอบครัวใหญ่ ต้อง “หมั่นเติมพลังบวกให้ ตวั เอง” เชน่ พักผ่อนโดยไมม่ ใี ครรบกวน นอนแชน่ ้ำ�สกั 45 นาที หรอื ปลูกต้นไม้ ดูแลต้นไมใ้ นช่วงเชา้ ใสใ่ จกบั ธรรมชาติ ฝากสามดี แู ลลกู ไปกอ่ น สง่ิ นไ้ี มไ่ ดห้ มายความวา่ ภรรยาละเลยลกู กบั สามี แตค่ อื เวลา ท่ีเขาเลอื กให้กับตัวเอง เพอ่ื เตมิ พลังชีวติ ถ้าอยู่ในครอบครวั ใหญ่ อาจจะตอ้ งน่ังคุยกัน ตกลงกัน ท้งั เร่ืองเวลาสว่ นตวั เวลาชีวิตคู่ เวลา ส่วนรวม และกจิ กรรมต่างๆ ในครอบครัว เพื่อให้ทุกคนเคารพเวลาส่วนตัวกันและกนั ได้ เชน่ กิจกรรม ออกก�ำ ลังกาย ดูแลตวั เองของแต่ละคน กิจกรรมทำ�อาหารกับลูก กิจกรรมของปูย่ ่ากบั หลาน ซึง่ ไม่ ได้ใหเ้ ดก็ ๆ จับจ้องแคเ่ รอ่ื งเรยี นเพียงอยา่ งเดียว และใหท้ กุ คนได้มีสว่ นรว่ มในเชงิ สร้างสรรค์ หรอื ตั้ง หวั ข้อกจิ กรรมทส่ี นกุ ไปด้วยกัน และร่วมรบั ผิดชอบไปดว้ ยกนั จดั ทำ�โดย สถาบนั การเรียนรูก้ ารสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

08 บทที่ 3 “ ฉนั ” หรือ “เธอ” ที่ไมเ่ หมือนเดมิ และเราเคยรักกัน เพราะอะไร

09 บทท่ี 3 “ฉนั หรอื เธอท่ีไมเ่ หมือนเดมิ และเราเคยรกั กนั เพราะอะไร” ครู่ กั มกั จะมผี นู้ �ำ และผตู้ าม รกั กนั แรกๆ กด็ แู ลเอาใจใสก่ นั ดี ฝา่ ยหนงึ่ กเ็ ปน็ ผนู้ �ำ กจิ กรรมตา่ งๆ ให้ ตลอด พอผ่านไป 5-7 ปี กอ็ าจมคี วามคดิ วา่ ทำ�ไมถึงตอ้ งเป็นเราท่ีตอ้ งคอยคดิ กจิ กรรมต่างๆ ทำ�ไม อีกฝา่ ยไมค่ ิดเองบ้าง ท�ำ ไมกลบั กลายเป็นว่าเป็นภาระใหเ้ ราคดิ อีก ครู่ กั หลายๆ คู่ เมอ่ื เวลาผา่ นไป ความประทบั ใจทเ่ี ราเคยชนื่ ชอบในคนรกั การกระท�ำ ทเี่ คยท�ำ ใหเ้ ราหลง รัก กลับกลายเป็นความรำ�คาญใจ ชวนทะเลาะ ท้งั ๆ ท่ีเป็นการกระท�ำ เดียวกัน แตก่ ลายเปน็ ก่อให้เกดิ ความรู้สกึ ต่างกันคนละข้ัว อยากใหม้ องกลับไปวันแรกที่เรารกั กัน “ฉันรักเธอเพราะอะไร” “ฉนั รกั เธอแบบไหนกันนะ” เม่ือเรายอ้ น มองกลบั ไปถึงวนั แรกๆ กจ็ ะเขา้ ใจความรู้สกึ นัน้ และจะสามารถปลดลอ็ กความรูส้ กึ รำ�คาญใจลงได้ จัดท�ำ โดย สถาบันการเรยี นรู้การสร้างเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

10 บทที่ 4 “เตมิ ช่องวา่ งให้เตม็ ” ดว้ ยดาว 2 ดวง กับ 1 ความปรารถนา

11 บทท่ี 4 “เตมิ ช่องวา่ งใหเ้ ตม็ ดว้ ยดาว 2 ดวง กบั 1 ความปรารถนา” “ดาว 2 ดวง กบั 1 ความปรารถนา” (2 stars and a wish) เปน็ กจิ กรรมทช่ี วนครู่ กั และครอบครวั เตมิ เตม็ ชอ่ งว่างใหก้ นั และกัน และสร้างความสัมพันธ์ให้มั่นคงข้นึ ไปอกี อ าจใช้กิจกรรมน้ีเสริมเข้าไปใน Family Meeting ของครอบครัวในทุกสัปดาห์ เป็นการ “รีวิว” คู่รัก หรอื คณุ พอ่ คณุ แม่ และลกู โดยเปดิ โอกาสใหพ้ ดู ชน่ื ชมพฤตกิ รรมและความรสู้ กึ ดๆี ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใน 2 เรอ่ื ง สูตรการชมงา่ ยๆ คอื 1. ฟิลลิ่งของคนชม 2. พฤตกิ รรมอะไรของคนที่ถูกชมทีเ่ ราช่ืนชอบ (ให้เฉพาะเจาะจง) เปน็ การทที่ ำ�ใหเ้ ขาอยากท�ำ พฤติกรรมนน้ั อีก เช่น “วนั นี้แมร่ สู้ ึกดีใจมากเลยทเ่ี ห็นลกู รับผิดชอบ ดูทีวีแค่ครึง่ ช่วั โมงแล้วปิดเอง” ฟิลลิง่ => แมร่ สู้ ึกดีใจ พฤตกิ รรม => ลูกรบั ผิดชอบดทู วี ีแค่คร่งึ ช่วั โมงแลว้ ปิดเอง “ฉันขอบคุณมากนะคะ ที่จำ�ได้ว่าฉนั ชอบเค้กแบบนแี้ ลว้ เธอก็อตุ ส่าหแ์ วะซ้อื มาให”้ ฟิลล่งิ => รสู้ ึกขอบคุณ พฤตกิ รรม => อุตสา่ ห์ซื้อเค้กท่ีชอบมาให้ แสดงถงึ ความใสใ่ จ และคดิ ถงึ กนั เสมอ จดั ทำ�โดย สถาบันการเรียนรกู้ ารสรา้ งเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Academy)

12 บทที่ 4 “เมือ่ วันกอ่ น ตอนท่ีไปตลาดแล้วฉนั ลมื ซือ้ ของมาใหค้ ณุ คุณก็เสียงดงั นะ แต่ขอบคุณทไ่ี ม่ได้โมโหนาน” ฟลิ ลิง่ => รูส้ ึกขอบคณุ พฤติกรรม => คุณเสียงดัง แตไ่ มไ่ ด้โมโหนาน เปน็ ความรู้สึกปรารถนาทีอ่ กี ฝา่ ยอยากให้เกิดขน้ึ ซ้ำ�อีก “ขอบคณุ นะคะทีว่ นั กอ่ นเปล่ยี นหลอดไฟให้ แต่จะดีมากเลย ถ้าเปลี่ยนหลอดไฟเสร็จแลว้ คุณเอาไปทงิ้ ถังขยะด้วย” ฟลิ ลง่ิ => รสู้ กึ ขอบคณุ พฤตกิ รรม => เปล่ียนหลอดไฟที่เสยี ให้ และคาดหวังในคราวหน้า วา่ จะนำ�ของทก่ี องทิง้ ไว้ ไปทิง้ ถังขยะดว้ ย “ขอบคุณท่อี าทติ ย์นี้พ่อกับแม่ทะเลาะกนั นอ้ ยลง แลว้ กเ็ ห็นความพยายามของพอ่ ว่าพ่อไมต่ อ่ ปากตอ่ คำ�” ฟลิ ลิง่ => ร้สู กึ ขอบคณุ พฤตกิ รรม => พอ่ กับแมท่ ะเลาะกันน้อยลง โดยทีพ่ ่อมีความพยายาม ไมต่ ่อปากต่อค�ำ กับแม่ และลกู ปรารถนาจะเห็นภาพแบบน้ีอีก จัดท�ำ โดย สถาบันการเรยี นรกู้ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

13 บทท่ี 4 โดยทฤษฎีพัฒนาการ การท่ีเราชมอย่างเฉพาะเจาะจงโดยระบุพฤติกรรมที่ชัดเจน จะเป็นการ “เสรมิ แรงให้อกี ฝ่ายอยากทำ�พฤติกรรมนั้นๆ อกี ” (positive reinforcement) เพราะได้รับการช่นื ชม ในพฤติกรรม แ ต่หากเราชมแบบกวา้ งๆ เช่น ขอบคณุ ค่ะ/ครบั รู้สกึ ดีใจมากค่ะ/ครับ ซ่งึ ไม่ไดร้ ะบุว่า ดเี มอื่ ไหร่ ยงั ไง ตอนไหน มันไมไ่ ดเ้ ป็นการเสรมิ แรงโดยระบพุ ฤตกิ รรมท่ีดี หากเราฝึกบอ่ ยๆ และเปน็ ไปได้ก็ควรระบุค�ำ ชมและพฤติกรรมทช่ี ดั เจน Family Meeting ของครอบครัวอาจจะจัดเวลาสกั 30 นาที โดยเป็นการรีววิ 2 stars and a wish 15 นาที และตอ่ ดว้ ยกจิ กรรมสรา้ งความสมั พนั ธอ์ กี 15 นาที ซงึ่ ครู่ กั แตล่ ะคอู่ าจไมไ่ ดช้ อบทกุ อยา่ งเหมอื น กนั บางคร้ังก็คนละข้ัว แต่กส็ ามารถประสานกันได้ โดยผลัดกนั น�ำ กจิ กรรม ห รอื ถา้ ครอบครวั ไหนมลี กู ทเ่ี รยี นอยู่ ป.2 - ป.3 กส็ ามารถเรมิ่ ฝกึ กจิ กรรมนไี้ ด้ เนอ่ื งจากเดก็ ๆ วยั นเ้ี รมิ่ เขา้ ใจถงึ เหตผุ ลและพฤตกิ รรมทมี่ ผี ลกบั คนรอบขา้ ง รวมถงึ การทเ่ี ดก็ มคี วามพยายามและไดร้ บั ค�ำ ชม จะท�ำ ใหเ้ ขาเหน็ คณุ คา่ ในตวั เองอีกดว้ ย Tip Box ถา้ ครอบครัวไหนมีลกู ทีเ่ รยี นอยู่ ป.2 - ป.3 ก็สามารถเรม่ิ ฝกึ กิจกรรมนไี้ ด้ เนอ่ื งจากเด็กๆ วัยนเ้ี ร่ิมเขา้ ใจถงึ เหตผุ ลและพฤติกรรมทีม่ ผี ลกับคนรอบข้าง รวมถงึ การท่เี ด็กมีความพยายามและไดร้ ับคำ�ชม จะท�ำ ใหเ้ ขาเหน็ คณุ คา่ ในตวั เองอกี ด้วย จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรยี นรกู้ ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

14 บทท่ี 5 “เทคนคิ ถอดปลก๊ั ” เพอ่ื คูลดาวนค์ วามรู้สกึ

15 บทท่ี 5 “เทคนคิ ถอดปลกั๊ เพ่อื คลู ดาวน์ความร้สู กึ ” แน่ละว่าเมื่ออีกฝ่ายอารมณ์พุ่งปรี๊ด อาจทำ�ร้ายอีกคนด้วยคำ�พูดเพียงไม่ก่ีคำ� และทำ�ให้ความ สมั พันธ์ขนุ่ มวั ลงไปอกี คูร่ กั บางค่แู ค่เพียงบางคำ�ก็อาจเป็นฟางเส้นสดุ ทา้ ย ท่พี รอ้ มจะขาดสะบ้ัน เทคนคิ ท่ี 1 การสะท้อนอารมณ์ เทคนิคแรก คอื การสะท้อนอารมณ์ เพอ่ื บ่งชีค้ วามรสู้ ึกของอกี ฝงั่ ที่กำ�ลังพงุ่ ขน้ึ (reflextive) ยกตัวอย่างเชน่ คูร่ ักกำ�ลังทะเลาะกนั เรือ่ งล้างจาน A : “ทำ�ไมฉันตอ้ งเก็บจาน ล้างจานอยคู่ นเดยี ว ทำ�ไมเธอไมท่ �ำ อะไร” B : “คณุ ดูหงุดหงิด เพราะรสู้ ึกว่าภาระตกอยู่ทค่ี ณุ ใชไ่ หม (การรีแฟลกซ์ทีฟ) คณุ เหนอื่ ย คุณลา้ ใช่ไหม” สถานการณ์น้ี นอกจากความโกรธที่อีกฝ่ายแสดงออกมาแล้ว ต้องมองว่าภายใต้ความโกรธน้ันมี ความรสู้ กึ ละเอียดอ่อนอน่ื ๆ อะไรอีก เชน่ นอ้ ยใจ เสยี ใจ ไม่ไดร้ ับการช่นื ชม ฯลฯ และเมอ่ื ความรสู้ กึ นนั้ ถูกกลา่ วขึน้ มาดังๆ อาจจะท�ำ ใหค้ วามรสู้ ึกอกี ฝ่ายเยน็ ลง ถัดมา คู่รกั กำ�ลังทะเลาะกนั เรื่องพฤติกรรมที่น่าขัดใจ A : “ท�ำ ไมคณุ ถึงท�ำ อะไรง่ีเง่าขนาดนี้เน่ีย” B : “ฉนั ร้วู ่าเธอโกรธฉนั แต่เธอไมจ่ ำ�เปน็ ต้องใชค้ �ำ พูดแบบนไี้ หม แล้วจริงๆ นอกจากความโกรธ หงุดหงดิ เธอรูส้ กึ ยังไงอีกบ้าง” สถานการณน์ เี้ ปน็ การให้ A แสดงความรสู้ กึ อน่ื ๆ เพมิ่ เตมิ เนอ่ื งจาก B ไดบ้ ง่ ชล้ี งไปทคี่ วามรสู้ กึ และเข้าใจความรู้สึกท่ีซ่อนอย่ใู ต้ความโกรธของ A จดั ท�ำ โดย สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

16 บทที่ 5 Tip Box สถานการณน์ ้ีเป็นการให้ A แสดงความรู้สกึ อืน่ ๆ เพ่ิมเติม เนื่องจาก B ได้บง่ ช้ลี งไปท่คี วามรูส้ กึ และเข้าใจความรู้สึก ทีซ่ อ่ นอยใู่ ต้ความโกรธของ A คนโกรธบางครง้ั ก็ขาดสติ หรือไม่สามารถควบคุมค�ำ พูดตวั เองได้ มีความหุนหนั พลันแลน่ ดงั นั้นอีก ฝ่ายต้องช่วย “สะท้อนอารมณ์ออกมา” เพ่ือให้คนท่ีตัวเองรักเกิดการต้ังสติ และส่ือสารความรู้สึก อื่นๆ ที่ซ่อนเอาไว้ออกมาใหไ้ ด้ ถา้ เรามองเป็นชนั้ ของความรสู้ ึก ความโกรธนอกจากเป็นตวั ปอ้ งกนั ไม่ใหค้ นอื่นมาเขา้ ใกล้เราแล้ว ใน เวลาเดียวกันก็เป็น “ตัวปิดก้ัน” ทำ�ให้เราไม่สามารถส่ือสารความรู้สึกเปราะบางให้คนอื่นได้ยินจริงๆ ว่าเราต้องการอะไร Tip Box ถ้าเรามองเปน็ ชั้นของความร้สู ึก ความโกรธนอกจากเป็นตวั ป้องกัน ไม่ใหค้ นอนื่ มาเขา้ ใกล้เราแล้ว ในเวลาเดียวกนั ก็เป็น “ตัวปดิ กน้ั ” ท�ำ ใหเ้ ราไมส่ ามารถ ส่ือสารความรสู้ กึ เปราะบางให้คนอนื่ ไดย้ ินจรงิ ๆ ว่าเราตอ้ งการอะไร เ มื่อคู่ของเราเป็นฝ่ายสะท้อนอารมณ์ ผู้ที่เป็นเจ้าของอารมณ์จะรู้สึกว่า เขาเข้าใจเรา ไม่ได้มองข้าม ความรู้สึกเรา และช่วยสะกิดให้เราเข้าใจตัวเอง ทำ�ให้เราใกล้ชิดสนิทกันมากขึ้น และทำ�ให้บรรยากาศ ออ่ นลงมา จดั ทำ�โดย สถาบันการเรียนรกู้ ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

17 บทท่ี 5 เทคนิคท่ี 2 อยา่ เลือกเดนิ หนไี ปเฉยๆ แต่ให้ทง้ิ ไวด้ ้วยค�ำ พดู ทีป่ ลอบประโลม เทคนคิ ถดั มา คอื อยา่ เลอื กเดนิ หนไี ปเฉยๆ แตใ่ หท้ ง้ิ ไวด้ ว้ ยค�ำ พดู ทปี่ ลอบประโลม หลายๆ คเู่ มอ่ื เวลาทะเลาะกนั อกี ฝา่ ยจะเลอื กเดนิ หนไี ปเฉยๆ โดยมเี จตนาใหค้ นทกี่ �ำ ลงั โกรธ โมโห เยน็ ลงแลว้ คอ่ ยคยุ กนั แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ การเดนิ ออกไปเฉยๆ สามารถตคี วามไดว้ า่ อกี ฝา่ ยเพกิ เฉยใส่ ไมส่ นใจ เปน็ ความเข้าใจไมต่ รงกนั ค�ำ พดู ทีค่ วรใชก้ ่อนท่ีจะเดนิ ออกไป เพ่อื ใหอ้ ีกฝา่ ยใจเย็นลง คือ A : (พูดด้วยน้ำ�เสียงปกติ) “เธอรู้ไหม..ฉันรักเธอมาก ฉันจะไม่ทะเลาะกับ เธอตอนน้ี แต่ฉันจะไปนั่งรอจนกว่าท่ีเราจะกลับมาคุยกัน ฉนั รกั เธอเกนิ กว่า ท่เี ราจะทะเลาะกันตอนนี้ ฉันจะรอ เมื่อเธอพรอ้ มท่จี ะคยุ แลว้ เรามาปรบั ความ เข้าใจกันนะ” การพดู แบบนีท้ �ำ ให้คนฟงั เข้าใจว่า การเดินออกไปไม่ใช่การเพิกเฉย แตเ่ พราะเขารักเรา เขาเลย ไม่อยากทะเลาะกบั เรา และยังรอใหเ้ ราไปปรบั ความเขา้ ใจกนั และไม่ไดท้ อดทงิ้ ความรู้สึกเรา จัดท�ำ โดย สถาบนั การเรียนรู้การสร้างเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

บทที่ 5 เทคนคิ ที่ 3 หาคีย์เวิร์ด (keyword) เพอื่ หยดุ ชะงกั อารมณโ์ กรธ เทคนคิ ทสี่ าม คอื หาคยี เ์ วริ ด์ (keyword) เพอื่ หยดุ ชะงกั อารมณโ์ กรธ เมอื่ ครู่ กั ทะเลาะกนั อยา่ ง หนกั และดูทที ่าว่าจะไมส่ ามารถตกลงกันได้ ควรมี “คีย์เวิรด์ ” 1 คำ� ท่ีทง้ั คู่ไดส้ รา้ งขน้ึ มารว่ มกันและ เข้าใจตรงกัน เพ่ือให้อารมณ์โกรธที่กำ�ลังถาโถมข้ึนระหว่างทะเลาะกันหยุดชะงัก ให้ต่างฝ่ายต่างไป ทำ�ใหอ้ ารมณเ์ ยน็ ลง และพรอ้ มที่จะหันหนา้ มาคยุ กนั ใหม่ โดยกำ�หนดเวลาการเคลียร์กนั ให้ชัดเจน เช่น ภายใน 5 ชวั่ โมง เป็นต้น เพอ่ื ไมป่ ล่อยให้เวลาผ่านไปโดยไม่ได้รับการเคลยี ร์ใจกันและกัน เชน่ คู่รกั คหู่ น่งึ เลอื กใชค้ ียเ์ วริ ด์ เปน็ สถานท่ีทมี่ ีความทรงจ�ำ ดๆี รว่ มกัน เชน่ “บางรกั ” เปน็ สถานท่ีซ่งึ ครู่ ัก เจอกันแลว้ รกั กัน เม่ือกำ�ลังทะเลาะกันในช่วงกลางๆ อารมณ์ท่ีพุ่งขึ้น ฝ่ายที่จำ�ได้ก็พูดคำ�ว่า “บางรัก” ข้ึนมา เป็นข้อ ตกลงกันว่าหลังจากนี้จะหยุดการทะเลาะ และแยกย้ายกันไปเพื่อสงบอารมณ์ แล้วค่อยกลับมาคุยกัน ใหม่ดว้ ยใจท่ีเย็นกวา่ นี้ จดั ทำ�โดย สถาบนั การเรยี นรกู้ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (ThaiHealth Academy)

19 บทสรปุ

บทสรุป จรงิ อยทู่ ่ี “ความรกั และความสมั พนั ธ”์ เปน็ เรอื่ งละเอยี ดออ่ น แตก่ ารเรยี นรทู้ จี่ ะรกั ษาความรสู้ กึ หรือถนอมหวั ใจของกนั และกนั กเ็ ปน็ เรอื่ งท่ที กุ คสู่ ามารถเรียนรู้ และปรับตัวได้ตลอดเวลา เ ปล่ียนคำ�พูดท่ีเคยท่ิมแทงใจใครอีกคน ให้กลายเป็น “คำ�พูดเชิงบวก” ที่ฟังแล้วอยากเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมให้ดีข้นึ หรอื “พูดชมเชย” เมือ่ ใครอีกคนท�ำ สิง่ ดีๆ ให้แก่กัน เ ปลี่ยนจากการซัดด้วยคำ�พูดและการกระทำ�ท่ีถาโถมด่ังลมพายุโหมกระหนำ่� เป็น “การโอบอุ้มซึ่งกัน และกนั ดว้ ยความรกั และทะนถุ นอมหัวใจใครอกี คนด้วยหวั ใจ” เ ม่ือคู่รักเปลี่ยนมุมมอง หรือเปล่ียนแปลงพฤติกรรมน่าอึดอัดใจบางอย่างแล้ว เช่ือว่า “ทุกความ สัมพนั ธ”์ จะด�ำ เนนิ ต่อไปดว้ ยความงดงาม เฉกเชน่ ดอกไม้หลากสีสันทแ่ี ขง่ กันเบ่งบานในฤดรู ้อน อาจารยป์ ิยฉตั ร เรืองวิเศษ ฟินน่ี จดั ท�ำ โดย สถาบนั การเรยี นรกู้ ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

21 ประวัตวิ ิทยากร อาจารย์ปิยฉตั ร เรืองวิเศษ ฟินน่ี

22 ประวตั วิ ทิ ยากร ประวัตวิ ิทยากร อาจารยป์ ิยฉัตร เรอื งวิเศษ ฟนิ นี่ นักครอบครวั บ�ำ บดั ผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นการใหค้ �ำ ปรกึ ษาปัญหาครอบครวั และผูอ้ �ำ นวยการศูนย์ไทรศิลป์ อาจารยป์ ยิ ฉตั ร จบปรญิ ญาตรดี า้ นการศกึ ษาประถมวยั และการศกึ ษาเพอื่ เดก็ พเิ ศษ จากมหาวทิ ยาลยั Lesley University จบปริญญาโทด้าน Expressive Therapies จาก Lesley College Graduate School หลังสำ�เร็จการศึกษาได้ทำ�งานด้านให้คำ�ปรึกษากับองค์กรท่ีเป็นส่วนหน่ึงของมหาวิทยาลัย Harvard University, Department of Psychiatry เปน็ เวลา 7 ปี ซึง่ เป็นหนว่ ยงานทไี่ ด้รับการอบรม พเิ ศษจากทมี Victims of Violence ของโรงพยาบาลเคมบรดิ จ์ เพอ่ื ท�ำ งานกบั ผทู้ ป่ี ระสบความรนุ แรง ในดา้ นตา่ งๆ ท้งั เดก็ และผใู้ หญ่ นอกจากนน้ั ได้สอนนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท ท่ี มหาวิทยาลยั Lesley University เป็นเวลา 6 ปี เม่ือกลับมาประเทศไทยในปี พ.ศ. 2538 ได้ทำ�งานกับองค์กรเอกชนและเป็นวิทยากรพิเศษ ให้แก่ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล, ภาควิชาจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบด,ี กรมพินจิ และ กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยตุ ธิ รรม นอกจากน้ียังเป็นวิทยากรร่วมอบรมผู้พิพากษาทั่วประเทศ เก่ียวกับสืบพยานเด็กและเยาวชนตาม ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญาเดก็ และเยาวชน (ฉบับที่ 20) พ.ศ.2542 ว ิทยากรรับเชิญอบรมหลักสูตรผู้ทำ�หน้าท่ีนักสังคมสงเคราะห์ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านความรู้ ทักษะและทัศนคติต่อการปฏิบัติงานในกระบวนการสืบพยานเด็ก ตามพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา (ฉบับท่ี20) พ.ศ. 2542 ปจั จบุ นั อาจารยป์ ยิ ฉตั รเปน็ ผอู้ �ำ นวยการศนู ยไ์ ทรศลิ ป์ ใหค้ �ำ ปรกึ ษาปญั หาครอบครวั และปญั หาทว่ั ไป มีประสบการณก์ วา่ 24 ปี ในการท�ำ งานดา้ นครอบครวั บำ�บดั และใหค้ ำ�ปรึกษาแนะนำ� และเป็น Clinical Supervisor แกอ่ งคก์ รต่างๆ เพ่อื เสริมสร้างทักษะทางดา้ นจติ วทิ ยาให้ค�ำ ปรกึ ษาอีกดว้ ย จัดท�ำ โดย สถาบนั การเรียนรูก้ ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (ThaiHealth Academy)

ประวัติวิทยากร ใบประกอบวิชาชพี Massachusetts Licensed Marriage and Family Therapist (LMFT), USA (ต้งั แตว่ นั ที่ 1 กรกฎาคม 2536) ใบประกอบวิชาชพี ผเู้ ชย่ี วชาญการใหค้ �ำ ปรึกษาปญั หาครอบครัว จาก มลรัฐแมซซาชูเซ็ทส์,ประเทศสหรฐั อเมรกิ า Massachusetts Licensed Mental Health Counselor (LMHC) (ตงั้ แตว่ นั ที่ 18 พฤศจกิ ายน 2535) ใบประกอบวชิ าชพี ผเู้ ชย่ี วชาญการใหค้ �ำ ปรกึ ษาปญั หาทว่ั ไป จากมลรฐั แมซซาชเู ซท็ ส,์ ประเทศสหรฐั อเมริกา ประกาศนยี บตั ร Art Therapist Registered (ATR) นักศิลปะบำ�บัด รับรองโดย American Art Therapy Association (AATA) Certified Practitioner of Psychodrama (CP) นักการละครบำ�บัด รับรองโดย บอรด์ ของ American Society for Group Psychotherapy and Psychodrama

ISBN


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook