Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอ การศึกษา ปฐมนิเทศชั้นเรียนคณิตศาสตร์ กระดานดำ

งานนำเสนอ การศึกษา ปฐมนิเทศชั้นเรียนคณิตศาสตร์ กระดานดำ

Published by www.fam_butsatib, 2021-10-10 16:07:51

Description: งานนำเสนอ การศึกษา ปฐมนิเทศชั้นเรียนคณิตศาสตร์ กระดานดำ

Search

Read the Text Version

ความรทู วั่ ไป ของหอ งสมดุ

1.ความหมาย ห้องสมุด คือแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทกุ ประเภท ทังทเี ปนวสั ดุตีพิมพ์ วสั ดุไมต่ ีพมิ พ์ และสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ มกี ารคัดเลือกและจัดหาเขา้ มาอย่างทนั สมัย สอดคล้องกับความตอ้ งการ และความสนใจของผใู้ ช้ มีบรรณารักษ์เปนผดู้ าํ เนินงานและจดั บรการตา่ งๆอยา่ งเปนระบบ

2.วัตถปุ ระสงค 1. เพือการศึกษา ห้องสมุดทกุ แหง่ จะรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทใี ห้ความรู้ 2. เพอื ความรู้ข่าวสาร ห้องสมดุ จดั หาทรัพยากรสารสนเทศใหม่ๆ ทีทันสมยั 3. เพือการค้นควา้ วจัย เปนแหลง่ สะสมทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ทีใชเ้ ปนขอ้ มูลในการศกึ ษาค้นควา้ วจยั 4. เพือความจรรโลงใจ ทรัพยากรสารสนเทศบางประเภททาํ ใหผ้ ้ใู ชม้ คี วามซาบซงึ ประทบั ใจทไี ด้รับจากการอา่ น 5. เพือการพกั ผอ่ นหย่อนใจหรอนันทนาการ ห้องสมดุ จะมที รัพยากรสารสนเทศทใี หค้ วามสนุก บันเทิงใจไวบ้ รการ

3.ความสาํ คัญของหองสมดุ งานบรการเปนหัวใจสาํ คัญของห้องสมุด เปนงานทีเกียวขอ้ งกับผู้ใช้ทกุ ระดบั สําหรับงานบรการของหอ้ งสมดุ โรงเรยน มีสว่ นสําคญั ทีทาํ ใหน้ ักเรยน ผปู้ กครองและชมุ ชน มาใช้หอ้ งสมุดมากขึน งานบรการเปนงานทีหอ้ งสมดุ ทาํ ขึน เพอื สง่ เสรมสนบั สนุนการเรยนการสอน ใหน้ ักเรยนเกิดการเรยนรู้ รู้จักศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ใช้ ประโยชน์จากการอา่ นเพือเพมิ พูนความรู้ ตลอดจนนําความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวตประจําวนั ได้เปน อยา่ งดี

ประโยชนข องหองสมุด 1. ก่อใหเ้ กดิ การเรยนรู้อยา่ งไม่มีทสี นิ สดุ 2. กระตนุ้ ใหร้ ักการอ่านและการศกึ ษาค้นควา้ 3. ก่อให้เกดิ การศึกษาอย่างเปนระบบและตอ่ เนือง 4. เปนสือกลางในกระบวนการเรยนการสอน 5. ตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู้เฉพาะบคุ คล

4.ระเบยี บและมารบาทในหอ งสมุด 1. ผู้ใช้ห้องสมุดต้องแตง่ กายสภุ าพ 2. นักเรยนตอ้ งนาํ รองเท้าใส่ถงุ พลาสตกิ แล้วถอื เข้าไปในห้องสมดุ สําหรับกระเปาใหเ้ ก็บไวใ้ นตู้เกบ็ กระเปาและ สิงของ 3. ห้ามนาํ อาหารและเครองดมื หรอของขบเคียวทุกชนดิ เข้าไปในหอ้ งสมุด 4. เมอื อา่ นหนังสือเสร็จแล้วใหว้ างไวท้ ี จุดพักหนงั สอื กรณีทเี ปนหนังสอื พมิ พ์ ให้เกบ็ ไวท้ ีทแี ขวนหนังสือพมิ พ์ สว่ น วารสารให้นาํ ไปเก็บทีชันวางวารสารตามชอื วารสาร 5. ช่วยกนั รักษาหนงั สือและวสั ดตุ ่างๆ ห้ามขดี เขียน ทําลาย ทรัพยากรของห้องสมดุ ทกุ ชนิด 6. เมือลกุ จากทนี งั อ่านหนงั สือ เก็บเกา้ อีเขา้ ทใี ห้เรยบร้อยทุกครัง 7. ให้ตรวจหนังสือก่อนออกจากหอ้ งสมุดทกุ ครัง 8. ผู้ใช้บรการต้องปฏิบัตติ ามคาํ แนะนาํ ของครูบรรณารักษห์ รอเจ้าหน้าทีหอ้ งสมดุ

5.ประเภทของหอ งสมดุ หอสมดุ แหง่ ชาติ เปนแหลง่ รวบรวมและเกบ็ รักษาสงิ พมิ พ์ ทีพมิ พ์ขึนภายในประเทศไวอ้ ย่างสมบูรณ์ และอนรุ ักษ์ใหค้ งทนถาวร เพอื ใหบ้ รการศกึ ษาคน้ ควา้ แก่ประชาชนทัวไป หอสมุดแห่งชาตจิ ะต้องได้รับสงิ พมิ พท์ ุกเล่ม ทีพมิ พข์ นึ ภายใน ประเทศตามพระราชบญั ญตั ิการพิมพ์

2. หอ้ งสมดุ ประชาชน ปกครองของแต่ละประเทศ ตามความหมายเดมิ ห้องสมดุ ประ ชาชนเปนหอ้ งสมดุ ทีประชาชนตอ้ งการใหม้ ใี นชมุ ชน

3. ห้องสมุดมหาวทยาลยั เปนห้องสมดุ ทตี ังอยใู่ น สถานศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาทําหนา้ ทสี ง่ เสรมการเรยนการสอนตามหลกั สูตร โดยการจดั รวบรวมหนงั สือและสอื ความรู้อนื ๆ ในหมวดวชาต่าง ๆ ตามหลกั สตู ร ชว่ ยเหลอื ในการคน้ ควา้ วจยั ของอาจารย์ และนักศกึ ษา

4. หอ้ งสมุดโรงเรยน เปนห้องสมดุ ทีตงั อยู่ในโรงเรยนมัธยม และ โรงเรยนประถมศกึ ษา มหี นา้ ทีสง่ เสรมการเรยนการสอนตามหลักสตู ร โดย การรวบรวมหนังสอื และสือความรู้อนื ๆ ตามรายวชา แนะนําสังสอนการใช้ หอ้ งสมุดแก่นักเรยน

5. หอ้ งสมดุ เฉพาะ คือห้องสมุดซึงรวบรวมหนังสอื ในสาขาวชาบาง สาขาโดยเฉพาะ มกั เปนส่วนหนงึ ของหนว่ ยราชการ องคก์ าร บรษทั เอกชน หรอธนาคาร ทาํ หน้าทีจดั หาหนังสือและให้บรการความรู้ ข้อมูล และขา่ วสาร เฉพาะเรองทีเกยี วขอ้ ง กับการดําเนนิ งานของหนว่ ยงานนนั ๆ

6.แหลง เรียนรูอนื่ ๆ หมายถึงแหลง ที่จัดหาและรวบรวมทรพั ยากรสารนเิ ทศประเภทตา งๆ ไวเ พ่ือใหบ ริการตอ ผใู ช ในปจ จุบันมี แหลง สารนเิ ทศมากมายหลายรูปแบบทีท่ ําหนา ท่ใี หบ รกิ ารขอมูล ขา วสาร แหลง สารนิเทศและสถานบนั บรกิ าร สารนเิ ทศท่สี าํ คญั อาจแบง ไดเปน 4 ประเภทใหญ ๆ คือ แหลง สารนิเทศที่เป็นสถาบัน แหลงสารนิเทศทเ่ี ป็นสถานที่ แหลง สารนิเทศท่ีเป็นบคุ คล แหลงสารนิเทศที่เป็นเหตกุ ารณ

7.ทรพั ยากรสารสนเทศในหองสมุด สารนเิ ทศ หรอื สารสนเทศ (Information) เปนศพั ทบญั ญัติของคําวา Informationราชบณั ฑิตยสถานกํา หนดใหใชไดท้ังสองคํา ในวงการคอมพิวเตอร การส่ือสาร และธรุ กิจ นยิ มใชคําวา “สารสนเทศ”สว นในวงการ บรรณารกั ษศาสตร สารนเิ ทศศาสตร ใชค ําวา “สารนิเทศ”ซึง่ มีความหมายกวาง ๆ หมายถงึ ขอ มูล ขา วสาร ตา ง ๆ ทม่ี ีการบันทึกอยา งเปนระบบตามหลกั วิชาการ เพื่อนาํ มาเผยแพรและใชใ นงานตา ง ๆ ทกุ สาขา 1. วัสดตุ ีพิมพ (Printed Materials) 2. วัสดไุ มต พี มิ พ (Nonprint Materials) 3. จลุ สาร (Phamphlets) 4. กฤตภาค (Clippings)

8.การจดั หมวดหมู D.c , l.c 8.1 ระบบทศนยิ มดวิ อ้ี (Dewey Decimal Classification) ระบบดิวอ้ี เรียกยอๆวา ระบบ D.D.C หรอื D.C ระบบนี้ Mel Dewey ชาวอเมรกิ ันเปนผูคดิ ขนึ้ ในป 1876 ขณะ ทํางานเปนผชู ว ยบรรณารกั ษวทิ ยาลัย Amherst ระบบการจดั หมวดหมแู บบทศนิยมดวิ อแ้ี บงหนังสือออกเปน 10 หมวดใหญ ต้งั แต 000-900 โดยใชส ญั ลกั ษณ เปนตัวเลขและทศนยิ มแทนประเภทของหนงั สือดังนี้

000-เบด็ เตลด็ 100- ปรชั ญา จติ วทิ ยา 200-ศาสนา 300-สงั คมศาสตร การศกึ ษา การเมือง 400-ภาษาศาสตร 500-วทิ ยาศาสตร 600-วทิ ยาศาสตรป ระยุกต 700-ศิลปะ การบนั เทิง และนนั ทนาการ 800-วรรณคดี 900-ภมู ศิ าสตร ประวัตศิ าสตร ชีวประวตั ิ

การจดั หมวดหมูแบบ l.c 2.ระบบการจดั หมูระบบรฐั สภาอเมรกิ ัน (Library of Congress Classification) ระบบนี้เรยี กยอ ๆวา ระบบ L.C. นิยมใชในหองสมดุ ท่ีมขี นาดใหญ มหี นังสอื จํานวนมาก ใชส ัญลักษณเป็นตัวอกั ษรโรมนั ตัง้ แต A-Z ยกเวน IOW ราบคิ แทนเน้ือหาของหนังสือนัน้ ๆ ดังนี้ A ความรูทัว่ ไป B ปรัชญา และศาสนา BJ จิตวทิ ยา BL-BX ศาสนา C ประวัตอิ ารยธรรม โบราณคดี D ประวตั ิศาสตรทวั่ ไป E-F ประวตั ิศาสตรอเมริกา สวนหนังสือประเภทนวนิยาย เร่อื งสนั้ ทางหองสมุดไมนิยมใหเ ลขหมู แตม กั ใชอักษรยอ ดงั นี้ นวนิยายทพ่ี มิ พเป็นภาษาไทยใช “น” หรือ “นว” แทนเลขหมู นวนิยายทพ่ี ิมพเ ป็นภาษาอังกฤษใช “Fic”(Fiction) เร่อื งสัน้ ภาษาไทยใช “รส.” ภาษาอังกฤษใช S.C. (Short Stories Collection) เลขเรยี กหนังสือ (Call Number) ประกอบดวย - เลขหมูห นังสือ (Classification Number) - อกั ษรตวั แรกของช่อื ผแู ตงทีเ่ ป็นคนไทย หรืออักษรตวั แรกของช่ือสกุลผแู ตงทเี่ ป็นคนตา งประเทศ - เลขประจาํ ตัวผแู ตง - อกั ษรตัวแรกของช่อื หนังสอื เชน หนังสือ พ้ืนฐานการส่ือสาร เขยี นโดย วิวัฒน กริ านนท มเี ลขเรียกหนังสือดงั นี้

9.เลขเรียกหนงั สือ คือ สัญลกั ษณทีห่ องสมุดกําหนดข้ึนจากเน้ือหาของหนังสือ เพ่อื เป็นเคร่อื งหมายแสดงทอ่ี ยขู องหนังสอื แตละเลม ทําใหเราทราบวาหนังสือเลมนัน้ ๆ จดั ไวท ่ใี ดในหองสมดุ เลขเรยี กหนังสือจะปรากฏท่สี นั หนังสอื ดานลาง และที่รายการบรรณานกุ รมในระบบออนไลน หรือ OPAC (Online Public Access Catalog) เลขเรยี กหนังสอื ประกอบดว ยสวนตาง ๆ คอื เลขหมหู นังสอื อักษรตัวแรกของช่อื ผูแ ตง เลขประจาํ ตัวผแู ตง อักษรตัวแรกของช่อื เร่อื ง เพ่มิ ขอความในสวนเน้ือหาเล็กน อย

10.การจัดหนงั สือขน้ึ ชั้น 1. แยกประเภทของหนังสอื เชน หนังสือทัว่ ไป หนังสืออา งอิง นวนิยาย เร่ืองสนั้ เป็นตน 2. จดั เรยี งตามเลขเรยี กหนังสือ(ท่สี นั ปกหนังสือ) เรยี งจากซา ยไปขวา และจากชนั้ บนลงชัน้ ลา ง หนังสอื ที่มี 3. หนังสือทมี่ เี ลขหมซู ้าํ กัน ใหพ จิ ารณาจากอักษรผแู ตง 4. หนังสือที่มีเลขหมูซ้ํากนั อักษรผแู ตง เหมอื นกนั พิจารณา จากอักษรช่ือเร่อื ง 5. หนังสือท่ีมีเลขหมซู ้าํ กัน อักษรผแู ตง เหมอื นกนั อกั ษรช่ือเร่อื งเหมอื นกนั พิจารณาจากเลม ทข่ี อง หนังสอื 6. หนังสอื ทีม่ เี ลขหมซู ้ํากนั อกั ษรผูแตงเหมือนกนั อักษรช่อื เร่อื งเหมือนกนั เลม เดยี วจบ มีหลายฉบบั พิจารณาจากฉบบั ที่ 7. หนังสือทีม่ ีเลขหมซู ้าํ กนั อกั ษรผูแ ตง เหมอื นกนั อักษรช่อื เร่ืองเหมือนกัน มหี ลายเลม จบ มีหลาย ชดุ พจิ ารณาจดั เรียงจากเลม ท่ี จนครบ และจดั เรยี งตามฉบับทีต่ ามลําดับ

นาย วชริ าวฒุ ิ บสุ ทพิ ย ม.6/10 เลขที่4