คู่มอื การประเมินศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) กองสง่ เสริมและพฒั นาการบริหารการศึกษาในภมู ภิ าค สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร. 02 282 9639
๒ คำนำ ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษาทุกแห่ง ให้สามารถจัดกระบวนการเรียน การสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยความยั่งยืนจึงต้อง มีการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิผล โดยการพัฒนา และเสริมศักยภาพ “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ให้เป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัดโดยอาจร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ๆ ในการดำเนินงานตามความเหมาะสมและศักยภาพของสถานศึกษา ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนด กำหนดบทบาทหน้าที่ แนวทางในการพัฒนา และพัฒนาเกณฑ์การประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษา หน่วยงานต่าง ๆ ได้นำไปใช้และพัฒนาการขับเคลื่อน หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสสู่ ถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๓ สารบญั เนือ้ หา หนา้ 1. แนวทางการประเมนิ “สถานศึกษาพอเพยี ง” ให้เป็น 1 “ศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา” 3 2. บทบาทหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการศึกษา สกู่ ารสบื สาน พัฒนาและตอ่ ยอด สคู่ วามย่ังยืน 3 - ระดบั สถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สงั กัดในพ้นื ที่ 4 - ระดบั หน่วยงานตน้ สังกัดของสถานศกึ ษาส่วนกลาง 5 - ระดับสำนักงานศกึ ษาธิการภาค 7 - ระดับกระทรวงศึกษาธิการ 8 3. ขน้ั ตอนการประเมนิ “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” ให้เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 9 ด้านการศกึ ษา 10 4. ปฏิทินการประเมนิ ศูนยก์ ารเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศึกษา 11 5. แผนภูมิเกณฑ์การประเมนิ “ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา” 28 32 กระทรวงศกึ ษาธิการ 33 6. เกณฑ์การประเมนิ ศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา 34 7. มาตรฐานและตัวบง่ ชข้ี องศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา 40 8. แบบประเมนิ แบบ ศรร.01 – แบบ ศรร.04 44 45 - แบบ ศรร.01 46 - แบบ ศรร.02 - แบบ ศรร.03 47 - แบบ ศรร.04 9. ภาคผนวก - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง แนวทาง หลักเกณฑ์ มาตรฐานตัวบ่งชี้ และเครือ่ งมือการประเมนิ สถานศึกษาพอเพียง และการประเมนิ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงเครื่องมือ หลักเกณฑ์ ขั้นตอน และกำหนดปฏิทินการประเมิ น สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) และการประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา
๑ แนวทางการประเมนิ “สถานศึกษาพอเพยี ง” ให้เปน็ “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” 1. หลักการและเหตุผล ด้วยกระทรวงศกึ ษาธิการมนี โยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษาทกุ แห่ง ใหส้ ามารถจัดกระบวนการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยความยั่งยืน จึงต้องมีการพัฒนา สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เป็นแหล่งศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานและผู้สนใจ โดยได้กำหนดแนวทาง ในการพฒั นาและประเมิน “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” ดังน้ี 2. แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละการบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง“สถานศึกษาพอเพียง” ใหเ้ ป็น “ศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา” 2.1 สถานศึกษา ที่จะพัฒนาเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ต้องเป็นสถานศกึ ษาท่ีไดร้ ับประกาศเป็น “สถานศึกษาพอเพียง” ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 2.2 การพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา” เป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัดในพื้นท่ี โดยอาจร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ในการดำเนินงาน ตามความเหมาะสม 2.3 การพัฒนา “ศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา” ใหเ้ ปน็ ไปเพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพในการขยายผลการขับเคลือ่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ/หรือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กบั ผูเ้ รียน เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู านใหก้ ับหน่วยงานและผูส้ นใจเข้าไปศกึ ษาเรยี นรู้ 3. หลักเกณฑ์และขัน้ ตอนการประเมิน“ศูนย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” 3.1 หลักเกณฑ์การประเมิน“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ใช้เกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” กระทรวงศึกษาธิการ (ตามแนบทา้ ยประกาศน)้ี 3.2 ขั้นตอนการประเมิน“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” (๑) หน่วยงานต้นสังกัดในพื้นที่ส่งรายชื่อ “สถานศึกษาพอเพียง” ที่มีความประสงค์ขอรับ การประเมินเป็น “ศนู ย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา” พร้อมทงั้ เอกสารรายงาน ประกอบการคัดกรอง“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ให้แก่หน่วยงาน ต้นสังกัดส่วนกลาง ตามปฏิทินการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา” /(2) หนว่ ยงาน...
๒ (2) หน่วยงานต้นสังกัดส่วนกลาง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดกรองข้อมูล “สถานศึกษาพอเพียง” ทขี่ อรบั การประเมินเป็น “ศูนย์การเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ซึ่งคณะกรรมการ คัดกรองต้องเป็นผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ประเมินสถานศึกษาพอเพียง/ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ/ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 3 คน (ส่วนกลางพิจารณาความเหมาะสมเอง) (๓) หน่วยงานต้นสังกัดส่วนกลางดำเนินการคัดกรอง “สถานศึกษาพอเพียง” ที่ขอรับการประเมินเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” แล้วแจ้งรายชื่อพร้อมส่งเอกสารรายงาน ประกอบการคัดกรอง “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” สถานศึกษาที่ผ่าน การคัดกรอง ให้ศูนย์ขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ตามปฏิทินการประเมิน ศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา (๔) ศูนย์ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบรายช่ือ สถานศึกษา พร้อมส่งเอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ด้านการศกึ ษา” ทีผ่ ่านการคดั กรองให้สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคต่าง ๆ (๕) สำนักงานศึกษาธิการภาคแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการและผู้แทน จากหน่วยงานตน้ สงั กัด จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน ตามหลักเกณฑท์ ่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด (๖) กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศรายช่ือ “ศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา 4. เกณฑก์ ารประเมนิ “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” ใหเ้ ป็น “ศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศกึ ษา” กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย 3 ด้าน ๘ องค์ประกอบ คือ ด้านที่ 1 บุคลากร ๔ องค์ประกอบ องคป์ ระกอบท่ี ๑ ผบู้ รหิ าร องคป์ ระกอบท่ี ๒ คร/ู บุคลากร องคป์ ระกอบท่ี ๓ นักเรียน/นกั ศกึ ษา /ผู้เรยี น องค์ประกอบท่ี ๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ดา้ นที่ 2 การจดั การสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ๒ องค์ประกอบ องคป์ ระกอบที่ ๑ อาคาร สถานที่และสง่ิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบท่ี ๒ แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง อปุ นิสยั อยู่อย่างพอเพยี ง /ดา้ นที่ 3 ...
๓ ดา้ นที่ 3 ความสมั พันธ์กบั หน่วยงานภายนอก ๒ องคป์ ระกอบ องค์ประกอบท่ี ๑ ความสัมพนั ธ์กบั สถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา องค์ประกอบที่ ๒ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานต้นสังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครฐั ภาคเอกชน และชุมชน) 5. บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศกึ ษา ส่กู ารสืบสาน พฒั นาและตอ่ ยอด ส่คู วามยง่ั ยนื โดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี 1.ระดับสถานศกึ ษาและหน่วยงานต้นสงั กดั ในพ้นื ท่ี ๑. คุณสมบัติของสถานศึกษาท่ีขอรับการประเมินเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา” ๑.๑ ต้องเป็นสถานศึกษาที่ได้รับประกาศเป็น “สถานศึกษาพอเพียง” ของกระทรวงศึกษาธิการ และแสดงผลการพัฒนา“สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” ย้อนหลังไม่น้อยกว่า ๓ ปี โดยนับย้อนหลังตั้งแต่ปีที่ส่งเอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง ขอรบั การประเมนิ “ศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา” ๑.๒ สถานศึกษาที่จะขอรับการประเมินเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศกึ ษา” ต้องเปดิ การเรยี นการสอนครบตามระดบั ช้นั 1.๓ ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 2 ปีการศึกษา ในกรณี ผู้บริหารย้ายให้ผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบ และต้องดำเนินการตามกรอบระยะเวลา ต่อเนอื่ งกนั ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ปี ๒. ข้นั ตอนการขอรับการประเมินของ “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา” ๒.๑ พัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” โดยยึดกรอบตามเกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” ท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนด (ตามแนบทา้ ยประกาศน้ี) ๒.๒ จัดทำแบบประเมินตนเอง (แบบ ศรร.๐๑) และเอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง “ศูนย์การเรยี นรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” (แบบ ศรร.๐๒) ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการ ท่กี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด ความยาวไม่เกิน ๓0 หนา้ กระดาษเอ 4 (ไมร่ วมภาคผนวก) ภาคผนวกประกอบด้วย ภาพประกอบ คำบรรยายภาพความสำเร็จของการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ๒.๓ จัดทำภาพประกอบและคำบรรยาย ให้เห็นบริบทและภาพการพัฒนา “สถานศึกษา พอเพียง” ตรงตามเกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ความยาวไมเ่ กนิ ๑๕ นาที โดยจดั ทำเปน็ วดี ีทศั น์ / VDO / แผ่น CD หรอื QR Code พรอ้ ม Link ให้สามารถศึกษา ข้อมูลต่าง ๆ ของสถานศึกษาได้เข้าใจและชัดเจน ไว้ในหน้าสุดท้ายของเอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง “ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” /2.4) จัดส่งแบบ...
๔ ๒.๔ จัดส่งแบบประเมินตนเอง (แบบ ศรร.๐๑) และ เอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง “ศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา” (แบบ ศรร.๐๒) ดงั น้ี (๑) “สถานศึกษาพอเพียง” ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งไปยงั หนว่ ยงานตน้ สงั กัดในพื้นที่ (สพป.) / (สพม.) /หรือสำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) แล้วแต่กรณี (๒) “สถานศกึ ษาพอเพียง” ในสงั กดั สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ส่งไปยังหนว่ ยงานตน้ สังกัดในพื้นที่ (สำนกั งาน กศน. จงั หวัด) (๓) “สถานศกึ ษาพอเพียง” ในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส่งไปยังสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ยกเว้น 5 จังหวัด ได้แก่ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา ส่งให้สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั ) (๔) “สถานศึกษาพอเพียง” ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส่งไปยัง หน่วยงานต้นสังกดั สว่ นกลาง (๕) “สถานศึกษาพอเพียง” ในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ส่งไปยัง ทอ้ งถิน่ จงั หวัด (๖) “สถานศึกษาพอเพียง” ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ส่งไปยัง กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (๗) “สถานศกึ ษาพอเพียง” ในสงั กดั อืน่ ๆ เชน่ โรงเรียนกีฬาจงั หวดั โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนสามัญศกึ ษา วิทยาลัยนาฏศลิ ป์ ฯลฯ สง่ ไปยัง หน่วยงานตน้ สงั กดั ในพื้นท่ี/หน่วยงานตน้ สังกัดสว่ นกลาง (๘) “สถานศึกษาพอเพียง”ในสงั กัดกรุงเทพมหานคร ส่งไปยัง สำนกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร 2. ระดับหน่วยงานตน้ สังกดั ของสถานศึกษาสว่ นกลาง บทบาทของหน่วยงานตน้ สงั กัดของสถานศกึ ษาส่วนกลาง ๑. บทบาทของหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาตามข้อ ๒.๔ พัฒนาสถานศึกษาพอเพียง โดยยึดกรอบตามเกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” พิจารณาความพร้อม ความเหมาะสมและคัดกรองคุณสมบัติของ “สถานศึกษาพอเพียง” ที่ขอรับการประเมิน รวมถึงความถูกต้องครบถ้วนแบบประเมินตนเอง และเอกสารรายงานประกอบการคัดกรอง “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ๒. หน่วยงานต้นสังกัดส่วนกลาง ดำเนินการส่งแบบประเมินตนเอง (แบบ ศรร.๐๑) และ เอกสารรายงาน ประกอบการคดั กรอง “ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา” (แบบ ศรร.๐๒) ดังนี้ ๒.๑ หน่วยงานต้นสังกัดส่วนกลางตามข้อ (๑) , (๒) และ (๔) พิจารณาคัดกรองเอกสารรายงาน การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา พร้อมทง้ั จัดส่งเอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและเอกสาร ประกอบการคัดกรองสง่ ไปยังศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒.๒ หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ (๓) , (๕) , และ (๘) พิจารณาคัดกรองเอกสารรายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา พร้อมทั้งจัดส่งเอกสารหลักฐานการประเมินที่ผ่านการคัดกรอง ส่งไปยัง ศูนยข์ ับเคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ 2.3 หน่วยงานต้นสังกัดตามข้อ (6) และ (7) ส่งให้ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศกึ ษาธิการ แต่งตัง้ คณะกรรมการคัดกรองตรวจสอบความถกู ต้อง พจิ ารณาคัดกรองเอกสารรายงาน ๓. ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ส่งรายชื่อ “สถานศึกษาพอเพียง” ที่ผ่าน การคัดกรองพรอ้ มเอกสารรายงานการประเมนิ ฯ และหลักฐานอ่ืนๆ ใหส้ ำนักงานศึกษาธกิ ารภาค /3.ระดับสำนกั งาน...
๕ 3. ระดับสำนักงานศึกษาธกิ ารภาค สำนักงานศกึ ษาธิการภาค มีบทบาทการประเมิน การรายงานผลการประเมิน และเงื่อนไขการประเมนิ “ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา” ดงั น้ี ๓.๑ บทบาทการประเมิน “ศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศึกษา” (๑) สำนักงานศึกษาธิการภาคเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา” (2) สำนักงานศึกษาธิการภาค แต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินให้เป็นไปตามคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และกำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ในแต่ละสถานศึกษา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด โดยต้อง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการ และผู้แทนจากหน่วยงานต้นสังกัด รวมจำนวน ไม่น้อยกว่า ๕ คน ดำเนินการประเมินให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด (3) การสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา” โดยสำนักงานศึกษาธกิ ารภาค มีแนวปฏบิ ัติ ดังน้ี (3.๑) จำนวนคณะกรรมการการประเมิน ให้มีคณะกรรมการการประเมิน“ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” แห่งละ ๕ คน ท้งั นไ้ี ม่นับรวม ผู้ร่วมคณะเดนิ ทาง ผู้ติดตาม ฯลฯ (3.๒) องค์ประกอบของคณะกรรมการการประเมิน“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” ตอ้ งเปน็ ไปตามเกณฑ์คุณสมบัติทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ดงั นี้ กรรมการคนที่ ๑ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทำหน้าที่ประธาน ซึ่งต้องเป็นผูม้ ีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างถอ่ งแท้ โดยต้องมีคุณสมบัตขิ ้อใดขอ้ หนง่ึ ดงั นี้ ๑. เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง/เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา โดยเป็นผู้บริหารสถานศึกษาในวันท่ี “สถานศึกษาพอเพียง” นั้นขอรับ การประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ และผ่านการอบรมเป็นผู้ประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา” ทไ่ี ด้รบั การแตง่ ต้ังโดยกระทรวงศึกษาธกิ าร ๒. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งศึกษานิเทศก์/เคยดำรงตำแหน่งศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานขบั เคล่อื น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของสถานศึกษา/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ สามารถพัฒนาสถานศึกษาในสังกัดจนผ่านการประเมินเป็นศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาอย่างนอ้ ย ๑ แห่ง และผา่ นการอบรมเป็นผู้ประเมนิ “ศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา” ท่ีได้รับการแต่งตง้ั โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓. เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการประเมินสถานศึกษาพอเพียงและได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้เมนิ สถานศึกษาพอเพียงไมน่ ้อยกวา่ ๓ ปี และผา่ นการอบรมเป็นผู้ประเมนิ “ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา” ที่ได้รบั การแตง่ ตั้งโดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๔. เปน็ บุคลากร/เคยเป็นบุคลากรของสำนักงาน ศธ./ศธภ./ศธจ. ทผี่ ่านการอบรมเป็นผู้ประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ” ท่ีได้รับการแต่งตั้งโดย กระทรวงศึกษาธิการ และมีประสบการณ์ในการประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี / กรรมการคนที่ ๒...
๖ กรรมการคนท่ี 2 ผู้แทนจากสำนักงาน ศธ./ศธภ./ศธจ. ท่ีผ่านการอบรมเป็นผู้ประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ” ที่ได้รับการแต่งตั้งโดย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรรมการคนที่ 3 ผแู้ ทนจากต้นสังกัด ของสถานศึกษาที่รับการประเมนิ ต้องเป็นผู้ผ่านการอบรม เป็นผู้ประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ที่ได้รับการแต่งตั้ง โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรรมการคนที่ 4 ผู้บริหาร “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” ในวนั ท่ี “สถานศึกษาพอเพียง” นัน้ ขอรับการประเมนิ เปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ ฯ จากสงั กดั ใดกไ็ ด้ กรรมการคนที่ 5 ทำหน้าที่เลขานุการ และต้องเป็นผู้ผ่านการอบรมเป็นผู้ประเมิน “ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ที่ได้รบั การแตง่ ตั้งโดยกระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ ขนั้ ตอนการประเมนิ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษา” (๑) สำนักงานศึกษาธิการภาคแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” ตามเกณฑท์ กี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด (๒) คณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” (จำนวน ๕ คน) ดำเนินการประเมินตามเกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ซึ่งประกอบด้วย ๓ ด้าน 8 องค์ประกอบ ระดับคุณภาพ ๑ – ๕ และเกณฑก์ ารผา่ นมากกวา่ หรือเทา่ กบั ๔ รายละเอียดตามแบบประเมนิ โรงเรียน “ศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา” สำหรบั คณะกรรมการ - รายบุคคล (แบบ ศรร.๐๓) (๓) คณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศึกษา” ตอ้ งมกี ารประชมุ สรปุ ผลการให้คะแนนหลังการประเมินรายละเอียดตามแบบสรุปผลการประเมิน ของคณะกรรมการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ” (แบบ ศรร.๐๔) (4) เกณฑ์การผ่าน ทุกด้านและทุกองค์ประกอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๔.๐๐ ขึ้นไป (๕) คณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” ส่งรายชื่อ “สถานศึกษาพอเพียง” พร้อมแบบประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” สำหรับคณะกรรมการ - รายบุคคล (แบบ ศรร.๐๓) ให้ฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ” สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ตรวจสอบความถูกตอ้ ง (๖) ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศึกษา” ตรวจสอบ รวบรวม สรุปและจัดทำบัญชีรายชื่อผลการประเมิน พร้อมเอกสาร แบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา” (แบบ ศรร.๐๔) สง่ ไปยงั ศนู ยข์ ับเคลือ่ นเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศกึ ษาธิการ / ๓.๓ การรายงานผล...
๗ ๓.๓ การรายงานผลการประเมนิ “ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา” สำนักงานศึกษาธิการภาค ส่งแบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” (แบบ ศรร.๐๔) ให้ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกอบด้วย (๑) หนงั สือนำส่ง สรปุ ผลการออกประเมิน (๒) แบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” (แบบ ศรร.๐๔) (๓) บัญชีรายชื่อ “สถานศึกษาพอเพียง” ที่ผ่านและไม่ผ่านการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา” ๓.๔ เงื่อนไขการดำเนินการประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศึกษา” (๑) การดำเนนิ การประเมิน ต้องดำเนนิ การในวันทำการ/วนั ราชการ ที่มีการจดั การเรียนการสอน ตามปกตขิ องสถานศกึ ษา โดยตอ้ งลงพื้นทจี่ รงิ และดำเนนิ การประเมินตามสภาพจรงิ /บริบทจรงิ ของสถานศึกษา (๒) ระยะเวลาประเมิน ให้ยึดหลักเกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดอย่างเคร่งครัด คือ ประเมิน ๑ วัน ตอ่ ๑ โรงเรยี น (๓) ดำเนินการประเมิน โดยใช้เกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา” ทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด (ตามแนบท้ายประกาศน้ี) 4. ระดับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร บทบาทและข้ันตอนการดำเนินการของศูนย์ขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพยี ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๔.๑ บทบาทของศนู ยข์ บั เคล่อื นเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศึกษาธกิ าร (๑) ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศปฏิทินการประเมิน “ศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” (2) ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบรายชื่อสถานศึกษา ท่ผี า่ นการประเมนิ เป็น “ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา” (3) ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาคัดกรองเอกสารรายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพียงสังกัดอื่น ๆ เช่น โรงเรียนกีฬาจังหวัด โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สามัญศกึ ษา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป์ ฯลฯ (4) ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ จัดทำประกาศ “ศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” เสนอรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการลงนามประกาศ เปน็ “ศูนย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา” /๔.๒ ขั้นตอนการประเมิน…
๘ ๔.๒ ขน้ั ตอนการประเมิน “สถานศึกษาพอเพยี ง” ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา 1. ศูนย์ขับเคล่อื น 2. “สถานศกึ ษา 3.หน่วยงาน 4. หน่วยงาน 5. หน่วยงาน เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพยี ง” สมัคร ตน้ สงั กัดในพื้นที่ ต้นสังกดั ส่วนกลาง ต้นสังกัดส่วนกลาง กระทรวงศกึ ษาธิการ ขอรบั การประเมิน พจิ ารณาความพรอ้ ม แตง่ ตั้งคณะกรรมการ เสนอรายชอ่ื ประกาศปฎิทนิ เปน็ “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ความเหมาะสมและ และดำเนินการ “สถานศกึ ษา การประเมิน ตามหลักปรัชญา ตรวจสอบคณุ สมบัติ คัดกรอง พอเพยี ง”ทผ่ี ่านการ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ ฯ ของเศรษฐกิจ ของ “สถานศึกษา เอกสารรายงาน คดั กรองพร้อม แก่หนว่ ยงาน พอเพียง พอเพยี ง” ทข่ี อรบั การ การประกอบการ เอกสารรายงาน ทเี่ กีย่ วข้อง ดา้ นการศกึ ษา” ประเมินฯ ความถูกตอ้ ง คดั กรอง ประกอบการ ผา่ นหน่วยงาน ครบถว้ นของเอกสาร คดั กรองไปยงั ต้นสงั กัดในพ้ืนท่ี รายงานประกอบการ ศนู ย์ขบั เคลื่อน คัดกรอง ฯ สง่ ไปยัง เศรษฐกจิ พอเพยี ง หน่วยงานต้นสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ส่วนกลาง 9. กระทรวง 8. สำนกั งาน 7. สำนกั งาน 6. ศูนยข์ บั เคล่ือน ศึกษาธิการประกาศ ศึกษาธกิ ารภาค ศกึ ษาธกิ ารภาคแตง่ ต้งั เศรษฐกจิ พอเพียง “ศนู ยก์ ารเรียนรู้ แจ้งผลการประเมิน คณะกรรมการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ตามหลักปรัชญา ศนู ย์การเรียนรู้ ฯ และ และดำเนนิ การประเมนิ ตรวจสอบรายชอื่ ของเศรษฐกจิ พอเพียง แจ้งผลศนู ย์การเรียนรู้ ตามเกณฑ์ท่ี และสง่ รายชื่อ ดา้ นการศกึ ษา” ตามหลักปรัชญาของ กระทรวงศึกษาธิการ พรอ้ มเอกสารรายงาน ปกี ารศึกษา…….. เศรษฐกิจพอเพยี งฯ กำหนด ท่ีมีผลการพฒั นาอย่าง การประเมนิ ของ ตอ่ เนื่องสูค่ วามยงั่ ยืนมี สถานศกึ ษาพอเพียง นวตั กรรมเด่นและเป็น ท่ผี า่ นการคัดกรองให้ แบบอย่างที่ดี ไปยงั สำนกั งานศึกษาธิการ ศูนย์ขบั เคลื่อน ภาค เศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศึกษาธิการ /ปฏิทินการประเมิน…
๙ ปฏทิ ินการประเมนิ “ศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ขัน้ ตอนการขบั เคลอื่ น ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ 1. ศนู ย์ขบั เคล่อื นเศรษฐกิจพอเพียง ๑ มีนาคม - -ศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประกาศปฏิทนิ ๓๑ พฤษภาคม กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. “สถานศึกษาพอเพียง” พัฒนาและเตรียม ตลอดปกี ารศึกษา สถานศกึ ษา ความพร้อมด้านต่าง ๆ 3. “สถานศกึ ษาพอเพียง” สมคั รขอรับการ 1 สิงหาคม – - สังกัด สพฐ./สอศ./กศน./สช./อปท./กทม. ประเมนิ โดยสง่ เอกสารรายงานประกอบการ 31 สิงหาคม ส่งให้กับหน่วยงานต้นสังกดั แตล่ ะสงั กัดสว่ นกลาง คัดกรองฯให้กับหนว่ ยงานต้นสงั กดั ในพ้ืนที่ - สังกัด ตชด.ส่งให้กับกองกำกับการตำรวจ 4. หน่วยงานตน้ สังกดั ในพืน้ ที่ส่ง ตระเวนชายแดนในกำกับ เอกสารรายงานประกอบการคัดกรองฯ ให้กับ ภายใน - สถานศึกษาในสังกัดอ่ืน ๆ เชน่ โรงเรียนกฬี า หน่วยงานต้นสงั กดั ส่วนกลาง วันที่ ๓๐ กันยายน จงั หวดั โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรมแผนสามญั ศกึ ษา วิทยาลยั นาฏศลิ ป์ ฯลฯ ส่งให้หน่วยงาน ตน้ สงั กัดสว่ นกลาง/ศูนย์ขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจ พอเพยี งกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5. หนว่ ยงานตน้ สงั กัดแต่ละสังกัดสว่ นกลาง แต่งตงั้ คณะกรรมการคดั กรองความถกู ตอ้ ง - หน่วยงานตน้ สังกัดแตล่ ะสังกดั ส่วนกลาง ๑ ตุลาคม – - ศูนยข์ ับเคลอื่ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. หนว่ ยงานตน้ สังกดั แตล่ ะสังกัดส่วนกลาง ๓๐ พฤศจิกายน กระทรวงศึกษาธกิ าร เสนอรายช่ือ “สถานศกึ ษาพอเพียง” ทผี่ า่ น การคัดกรองให้ศูนย์ขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจ พอเพยี ง กระทรวงศึกษาธิการ 7. ศนู ยข์ บั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑ ธันวาคม – -ศนู ยข์ ับเคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ส่งรายชอ่ื และ ๓๑ ธันวาคม กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารรายงานการประเมนิ ของ” สถานศกึ ษา พอเพยี ง” ทผ่ี ่านการคัดกรองใหส้ ำนกั งาน ศกึ ษาธิการภาค 8. ส ำนักงานศึกษาธ ิการภ าค แต ่ ง ตั้ ง คณะกรรมการการประเมินฯ และดำเนินการ 1 มกราคม – -สำนกั งานศึกษาธิการภาค ประเมินฯ 3๑ มนี าคม 9. สำนกั งานศึกษาธิการภาคตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมลู ต่าง ๆ และรายงานผลการ 1 เมษายน – -สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ประเมนิ ฯให้ศนู ยข์ ับเคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี ง 3๐ เมษายน กระทรวงศึกษาธิการ 10. กระทรวงศึกษาธิการประกาศ “ศูนย์การ ภายใน -ศนู ยข์ ับเคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วันท่ี ๓๐ มิถนุ ายน กระทรวงศึกษาธิการ ดา้ นการศึกษา” หมายเหตุ 1. ต้องเป็นไปตามประกาศเปิด – ปดิ ภาคเรยี นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ 2. สถานศึกษาสังกัดอนื่ ๆ เชน่ โรงเรยี นกีฬาจงั หวดั โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษา วทิ ยาลยั นาฏศิลป์ ฯลฯ เมือ่ มี “สถานศกึ ษา พอเพียง” ขอรับการประเมินฯ ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ คัดกรองเอกสารรายงานประกอบการคัดกรองขอ้ มูลฯ ของสถานศกึ ษาพอเพยี ง 3. ปฏทิ ินการประเมนิ สามารถปรับเปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสมตอ่ สถานการณป์ ัจจุบัน
๑๐ แผนภูมิเกณฑ์การประเมิน“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ” กระทรวงศึกษาธิการ เกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” กระทรวงศึกษาธิการ ๓ ด้าน ๘ องค์ประกอบ ระดับคุณภาพ 1 - 5 เกณฑ์การผ่านทุกด้านและทุกองค์ประกอบ มากกวา่ หรอื เท่ากับ 4.๐๐ ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารประเมนิ “ศูนย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา” บคุ ลากร การจัดการ ความสัมพนั ธก์ บั 4 องคป์ ระกอบ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ หนว่ ยงานภายนอก 2 องค์ประกอบ 2 องค์ประกอบ
หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั
กปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา
1 ด้านท่ี ๑ บุคลากร ระดบั คุณภาพ ระดบั ๑ ระดบั ๒ ระดับ ๓ องคป์ ระกอบ - ตามระดับ ๑ - ตามระดับ ๒ และ ๑.๑ ผบู้ ริหาร ผู้บริหารทุกคน - ผบู้ ริหารทกุ คนปฏิบัติ - ผู้บรหิ ารทุกคนสามารถ มคี วามรู้ ความ ตนตาม ปศพพ. ในชีวิต ประสบการณ์ในการบริห จริง และ สถานศกึ ษาตาม ปศพพ เขา้ ใจใน -นำ ปศพพ. มาใชใ้ นการ เขา้ ใจและชดั เจน บริหารจัดการ - ผ้บู รหิ ารทกุ คนมีความ ปศพพ. อยา่ ง สถานศกึ ษา การขับเคลื่อน ปศพพ. ใ สถานศึกษา และสามาร ถกู ต้องและ บทเรียนการบรหิ ารสถา ตาม ปศพพ. ได้อยา่ งถูก สามารถอธิบาย ชดั เจน - ผูบ้ ริหารทุกคนและบุค ไดอ้ ยา่ งชัดเจน สถานศึกษาร่วมพัฒนาห สถานศกึ ษาตาม ปศพพ สอดคล้องกบั บรบิ ท ภมู ผู้เรียนและทอ้ งถิ่น - ผบู้ ริหารทกุ คนเปน็ ผู้น สว่ นร่วมในการแลกเปล ทางวชิ าชีพเพื่อพัฒนาก เรยี นรู้ (PLC) ตาม ปศพ สถานศึกษาไดบ้ รรลวุ ตั ถ
2 ระดบั ๔ ระดบั ๕ - ตามระดับ ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ ถถ่ายทอด - ผูบ้ ริหารทุกคนมกี ารดำเนินการ - สถานศกึ ษาอน่ื /ชมุ ชน/องค์กร/ภาคี หารจัดการ ขยายผลการขบั เคลื่อน ปศพพ. สู่ เครอื ข่าย/หนว่ ยงานภายนอกเห็นคณุ ค่า พ. ได้อยา่ ง ยอมรับ และใหค้ วามรว่ มมือในการขยายผล สถานศึกษาอืน่ ๆ /ชุมชน/องคก์ ร/ การขบั เคล่อื น ปศพพ. ของสถานศึกษาและ มมงุ่ ม่ันใน ภาคีเครือขา่ ย/หน่วยงานภายนอกได้ นำไปประยุกต์ใช้ได้ ไมน่ ้อยกวา่ ภาคเรยี นละ ใน บรรลตุ ามวัตถุประสงค์อยา่ งน้อย รถถอด ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๑ คร้ัง านศึกษา - ผูบ้ รหิ ารทุกคนมนี วตั กรรม/ - มกี ารตอ่ ยอดนวตั กรรม/รูปแบบ/วธิ ีการ กต้องและ รูปแบบ/วธิ ีบริหารจัดการ บริหารจดั การสถานศึกษา สถานศกึ ษาทดี่ ีตาม ปศพพ. และ ที่ดตี าม ปศพพ. โดยบรู ณาการศาสตรก์ าร คลากรของ บรู ณาการศาสตรก์ ารพฒั นา ๓ หลักสตู ร ศาสตร์ ทส่ี ง่ ผลตอ่ การพัฒนา พฒั นา ๓ ศาสตร์จนเป็นผลงานทม่ี คี ณุ ภาพ พ. ได้ เป็นแบบอยา่ งท่ีดไี ด้ จำนวนไมน่ ้อยกว่า ๑ มสิ ังคม ผลงาน คณุ ภาพการศึกษาและเป็นแบบอย่าง - เผยแพร่นวตั กรรม/รปู แบบ/วธิ ีการบรหิ าร นำและมี ทีด่ ีได้ จำนวนไมน่ ้อยกวา่ ๑ ผลงาน จดั การและการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ี ล่ยี นเรียนรู้ - ผูบ้ ริหารมนี วตั กรรม/รปู แบบ/ ดตี าม ปศพพ. ผา่ นวธิ กี ารทีห่ ลากหลายหรือ การจัดการ พพ. ของ วิธกี ารพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาท่ี เหมาะสม และไดร้ ับการยอมรบั สามารถ ถุประสงค์ ดตี ามหลกั ปศพพ. ทส่ี ง่ ผลต่อการ นำไปประยุกต์ใช้ได้ จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ ๑ พัฒนาผเู้ รยี นและเปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ีได้ ผลงาน - ผบู้ ริหารสถานศกึ ษามแี นวทางการสืบสาน จำนวนไม่น้อยกว่า ๑ ผลงาน การขบั เคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ความยง่ั ยนื
นิยามศัพท์ 1 ปศพพ. : หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บคุ ลากรของสถานศกึ ษา : ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู ลูกจา้ งประจำ แล ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา : ผอู้ ำนวยการโรงเรียน/กศน.อำเภอ/กศน.เขต ( กำหนดบทบาทรับผดิ ชอบในการบริหารสถานศึกษาท้ังของรฐั และเอกช นิติธรรมและคุณธรรมจริยธรรม สถานศึกษา : หมายถึง โรงเรียน กศน.อำเภอ กศน.เขต (กทม.) วทิ ยาล หรือมีวัตถุประสงคใ์ นการจดั การศึกษา ม่งุ มน่ั : ตง้ั ใจอยา่ งแน่วแน่ในการขับเคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพ ชมุ ชน : คณะกรรมการสถานศึกษา และ/หรือ ผ้ปู กครอง และ/หรือ ชมุ การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี สมดลุ และพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงใน ๔ มติ ิ เพื่อม่งุ พัฒนาคณุ ภาพกา อยู่อยา่ งพอเพยี ง และมีอปุ นิสัยอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา : การดำเนินจัดทำ ใช้ ปรับปรุง แล ของผู้เรยี น บรบิ ท ภมู ิสงั คม ท้องถ่ิน และแนวคิดในการจัดการศึกษาใน การขับเคลื่อนหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐก ให้บรรลุจดุ หมายของหลักสตู รสถานศึกษาที่กำหนดไว้ ภูมสิ ังคม : ภมู ปิ ระเทศ และวิถชี วี ิตความเป็นอยขู่ องคนในสงั คมท่ีสถาน นวัตกรรม/รูปแบบ/ วิธีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ดี : วิธีการใ P – D – C - A หรือกระบวนการพัฒนาต่างๆ จนเกิดเป็นนวัตกรร ของสถานศกึ ษา ตลอดจนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีได้ โดยมีเอกสารรายงานแส ถอดบทเรยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : การใช้หลักปร และพร้อมรบั ต่อการเปลยี่ นแปลงใน ๔ มิติ ในการสกัดข้อมูลตา่ งๆ จาก ท่ชี ดั เจนและเกิดการเรยี นรูร้ ่วมกนั ของผรู้ ว่ มกระบวนการถอดบทเรียน การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทางวิชาชีพเพอ่ื พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ ( Pro การศกึ ษาในสถานศกึ ษาที่ร่วมมอื รว่ มใจ รวมพลัง และเรยี นรูร้ ่วมกัน โด ภารกิจบนพน้ื ฐานความสัมพนั ธแ์ บบกัลยาณมิตร โดยรว่ มกันวางเปา้ หม โดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ และก
3 ละลูกจา้ งช่วั คราวของสถานศึกษา ( กทม.) /วิทยาลัย/สถาบนั รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน/วทิ ยาลยั /สถาบัน หรือครทู ไี่ ด้รบั การแต่งต้งั ชนให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ ภายใต้หลกั ลยั สถาบัน หน่วยงานทางการศึกษาหรือหนว่ ยงานอนื่ ของรฐั หรอื ของเอกชน ที่มอี ำนาจหน้าท่ี พอเพยี ง มชนทีอ่ ยเู่ ขตบรกิ ารของสถานศึกษา ยง : การระบุถงึ การบริหารจดั การสถานศึกษาท่ีคำนงึ ถงึ ๒ เงื่อนไข ๓ หลกั การ เพื่อเกิดความ ารบริหารจัดการ คุณภาพการจดั การเรยี นรู้ และคณุ ภาพของผเู้ รยี นให้เข้าใจ เหน็ คณุ ค่าของการ ละพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ นปจั จุบัน กิจพอเพียง : การดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นศึกษาตั้งอยู่ ใหม่ หรือรูปแบบ หรือวิธีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ผ่านการปรับปรุงและพัฒนาด้วยวงจร รม หรือรูปแบบ หรือวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีคุณภาพ และเหมาะสมกับบริบท สดงผลงานไมเ่ กนิ ๕ หนา้ กระดาษ A4 รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงซึ่งประกอบดว้ ย ๒ เงื่อนไข ๓ หลกั การ เพ่ือใหเ้ กดิ ความสมดุล กประสบการณ์ในการทำกจิ กรรม หรอื การลงมอื ปฏบิ ตั ิทีผ่ า่ นมา ซึ่งทำให้เกิดเปน็ ชดุ ของความรู้ ofessional Learning Community : PLC) : กระบวนการกลุ่มของครแู ละบุคลากรทาง ดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนร้ใู หบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย และ มายการเรียนรขู้ องผู้เรียน ตรวจสอบ และสะท้อนผลการปฏบิ ัตงิ านทั้งในส่วนบุคคลและผลท่ีเกิดขึ้น การทำงานเป็นแบบทีมการเรียนรู้ท่ีมีครูเป็นผู้นำร่วมกัน และผู้บริหารเป็นผู้ดูแลสนับสนุน
1 สู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงคุณภาพตนเอ ความสุขของการทำงานรว่ มกันของสมาชิกในชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าช ศาสตรก์ ารพัฒนา ๓ ศาสตร์ : ศาสตรก์ ารพฒั นา ๓ ศาสตร์ หรอื หลกั ๑. ศาสตร์ชาวบ้าน หรือ ภูมิปญั ญาชาว ๒. ศาสตรส์ ากล คอื องค์ความรทู้ ่ัวไปท หรือหลักสูตรรายวชิ า ๓. ศาสตรพ์ ระราชา คอื องค์ความรู้ขอ ๓.๑ ความรู้จากพระราชกรณยี กิจข ๓.๒ ความรู้จากโครงการตามพระร ๓.๓ ความรู้จากพระบรมราโชวาท วิธีการเผยแพร่ที่หลากหลาย : ช่องทางและวิธีการเผยแพร่ที่หลา การประชุมตา่ ง ๆ ปา้ ยนเิ ทศ การจัดทำ website และการใช้เทคโนโลย ความยง่ั ยนื : ๑. การพฒั นาท่ยี ่ังยืนโดยให้ความสำคัญกบั การพฒั นาท ม่ันคง และนำไปสู่การพฒั นาที่มคี ณุ ภาพและยง่ั ยนื ๒. การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทยเป็นการพัฒนาที่ต้อ ภมู ปิ ัญญา และวัฒนธรรมไทย ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทกุ กล ทเี่ ทา่ เทียม ๓. การคงสภาพของการดำเนินงาน/กิจกรรม และผลกา
4 องสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคั ญตลอดจน ชพี ก ๓ ศาสตร์ ประกอบด้วย วบ้าน คอื องค์ความรู้ของชาวบ้านเก่ียวกบั วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของชาวบา้ น ที่เปน็ สากลซง่ึ เปน็ ท่ยี อมรบั ได้แก่ เน้ือหาสาระ หรือ สาระการเรียนร้ตู ามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ องรัชกาลท่ี ๙ ได้แก่ ของพระองค์ คือหลกั การทรงงาน ราชดำริซึง่ มีจำนวนมากกว่าส่ีพันโครงการ และ พระราชดำรัสตา่ งๆทไี่ ด้พระราชทานข้อคิด คำสั่งสอน ตักเตอื น และให้สติ ากหลาย เช่น การจัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว ยีดจิ ทิ ัล เปน็ ตน้ ท่ีสมดุล ทั้งด้านวัตถุ เศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดล้อม และวฒั นธรรม เพ่อื ใหส้ ามารถดำรงอยู่ได้อย่าง องคำนึงถึงความเป็นองค์รวมของทุก ๆ ด้าน อย่างสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ลุ่ม ดว้ ยความเออ้ื อาทร เคารพซงึ่ กันและกัน เพ่ือความสามารถในการพง่ึ ตนเอง และคุณภาพชีวิต ารดำเนนิ งาน/กจิ กรรมทง้ั ด้านปรมิ าณ และคณุ ภาพ
1 ระดบั คณุ ภาพ ระดับ ๑ ระดบั ๒ องคป์ ระกอบ ๒. ครู ครทู กุ คนมคี วามรู้ความ - ตามระดับ ๑ - ตามระ เขา้ ใจใน ปศพพ. และ ครทู ุกคนปฏิบตั ติ นตาม - ครูทกุ ร สามารถอธบิ ายได้อย่าง ปศพพ. และถอดบทเรยี น พฒั นาห ถูกต้อง ตาม ปศพพ. ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เรียนรู้ แ - ครทู กุ คนนำ ปศพพ. มาใช้ หลกั ปรัช ออกแบบและจดั กจิ กรรม พอเพียง การเรียนรู้ท่รี ับผดิ ชอบจน สอดคล้อ เห็นผล ผู้เรยี น ท - ครทู กุ คนใช้สอ่ื และ/หรอื พหุวฒั น นวตั กรรมการเรียนรู้ - ครทู ุกร เก่ยี วกบั ปศพพ. ในการจัด สาระการ กจิ กรรมการเรยี นรู้จนเห็นผล โดยบรู ณ จัดการเร ชวี ิตจริงแ ๒๑ ไดอ้ สอดคล้อ สถานศึก - มคี รแู ก ทกุ กลุ่มส กิจกรรมพ จัดการเร คุณภาพแ
5 ระดบั ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕ ะดบั ๒ - ตามระดับ ๓ - ตามระดบั ๔ ระดบั ช้นั ดำเนินการ - ครแู กนนำทุกคน ครบทุกกลุ่ม - ครูรอ้ ยละ ๕๐ จัดการ หลักสตู ร หนว่ ยการ สาระการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมพฒั นา เรียนรู้ตาม ปศพพ. อย่าง และจัดการเรียนร้ตู าม ผเู้ รียนมบี ทเรยี นที่ประสบ ต่อเน่อื ง และร่วมขยายผลสู่ ชญาของเศรษฐกจิ ความสำเร็จในการจัดการเรยี นรตู้ าม ภายนอกสถานศึกษา งได้เหมาะสมและ ปศพพ. - ครูแกนนำทุกคน ครบทกุ องกับบรบิ ท ภมู สิ งั คม - ครแู กนนำทุกคนสามารถพัฒนา กลุม่ สาระการเรียนรู้และ ท้องถิน่ และ ผู้เรยี นใหม้ ีคุณลกั ษณะอยู่อยา่ ง กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจัด นธรรม พอเพียง มีจติ สำนึกที่ดี และปฏบิ ัติ กิจกรรมการเรยี นรู้ตาม ระดบั ช้นั และทุกกล่มุ ตนต่อความเป็นพลเมืองท่ดี ี ต่อสงั คม ปศพพ. อย่างต่อเนือ่ ง รเรียนรูจ้ ดั การเรยี นรู้ และสถาบนั หลกั ของชาติ - ครแู กนนำนำส่ือ และ/หรอื ณาการ ปศพพ. ในการ - ครูแกนนำทุกคนถอดบทเรยี นใน นวตั กรรม/รูปแบบ/วธิ ีการ รียนรู้ทส่ี อดคล้องกับวิถี การจัดการเรียนรตู้ าม ปศพพ. ของ จัดการเรียนรทู้ ีด่ ีตามหลกั และโลกในศตวรรษท่ี ตนมาจัดทำเปน็ ส่ือขยายผลสู่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อย่างเหมาะสมและ สถานศกึ ษาอื่น ๆ ชุมชน องค์กร ขยายผลการขบั เคลอ่ื น องกับบรบิ ทของ และหน่วยงานภายนอกจนเห็นผล ปศพพ. สู่สถานศกึ ษาอ่นื กษา - ครูแกนนำทุกคนมนี วัตกรรม/ ชุมชน องค์กรและหน่วยงาน กนนำรอ้ ยละ ๒๕ ครบ รปู แบบ/วธิ ีจดั การเรียนรูท้ ีด่ ีตาม อน่ื อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ สาระการเรยี นรู้และ ปศพพ. ที่ประสบผลสำเร็จในการ ครงั้ พฒั นาผ้เู รยี นมีแผนการ จัดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างทด่ี ีได้ - ครูแกนนำทุกคนมีการ รยี นรตู้ าม ปศพพ. ทีม่ ี พัฒนาและต่อยอดนวัตกรรม/ และใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รปู แบบ/วธิ ีจัดการเรยี นร้ทู ่ดี ี ตาม ปศพพ. และบรู ณาการ ศาสตรก์ ารพฒั นา ๓ ศาสตร์ใน
นิยามศพั ท์ 1 - ครแู กน ประสบก สถานศึก เพิม่ ขึ้นร - ครทู ุกค การจัดก ได้ได้อยา่ - ครทู ุกร การแลก วชิ าชีพเพ เรียนรู้ (P สถานศึก ครู : ครู อาจารย์ หรือบคุ คลที่มหี น้าท่ี หรือมอี าชีพในการจดั การเร ครูแกนนำ : ครูที่เป็นแกนนำ ผู้นำ และมีส่วนร่วมในการดำเนินก สถานศกึ ษาเพอ่ื รว่ มพัฒนาและเสริมสร้างผเู้ รียนให้มีคุณลักษณะอย แผนการจัดการเรียนรู้ตาม ปศพพ. : แผนการจัดการเรียนที่ระบุกา และการวดั ผลประเมนิ ผล คุณภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ : ประกอบดว้ ยสาระหรือราย เรยี นรู้ สื่อ การวดั และประเมินผล และบนั ทกึ หลงั สอน แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดการเรียนรู้ที่ระบุถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่คำนึงถึง ๒ เง การสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล เพ และมคี ุณลกั ษณะอยูอ่ ยา่ งพอเพียง/อปุ นสิ ยั อยู่อย่างพอเพียง
6 นนำถา่ ยทอด การจัดการเรยี นรู้ การณ์ใหเ้ พ่ือนครูใน - ครูแกนนำทุกคนเผยแพร่ กษา จนมคี รแู กนนำ นวตั กรรม/รปู แบบ/วธิ กี าร ร้อยละ ๕๐ จดั การเรยี นรู้ทด่ี เี ก่ยี วกับการ คนสามารถถอดบทเรียน จดั เรียนรู้ตาม ปศพพ. ผ่าน การเรียนรู้ตาม ปศพพ. วิธีการเผยแพร่ท่ีหลากหลาย างถกู ต้องและชัดเจน หรอื เหมาะสม ระดับชัน้ มีส่วนร่วมใน กเปล่ยี นเรียนร้ทู าง พื่อพฒั นาการจัดการ PLC) ตาม ปศพพ.ของ กษาไดบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ รยี นรใู้ หแ้ ก่ผู้เรยี นในรูปแบบและวธิ ีการต่าง ๆ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ และกิจกรรมการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ยูอ่ ย่างพอเพียงหรอื อุปนิสยั อยู่อย่างพอเพยี ง ารบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไว้ในจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ยละเอียดที่ถูกต้องของมาตรฐานการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการ /แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : แผนการ งื่อนไข ๓ หลักการ เพื่อเกิดความสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ใน ๔ มิติ ในการเตรียม พื่อมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ ซึมซับ ฝึกฝน เห็นคุณค่าของการอยู่อย่างพอเพียง
1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี การเรียนรู้เพือ่ มุ่งให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ ซึมซับ ฝึกฝน เห็น โดยคำนงึ ถึง ๒ เง่ือนไข ๓ หลกั การ เพอ่ื เกดิ ความสมดุลและพรอ้ มร อยอู่ ยา่ งพอเพียง : การใช้ชวี ติ สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติภารกิจหน้า สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียน ทางการศึกษาในสถานศึกษาท่ีร่วมมอื ร่วมใจ รวมพลัง และเรียนรู้ร และภารกิจ บนพื้นฐานความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร โดยร่วมกัน และผลที่เกิดขึ้นโดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การว ผ้ดู แู ลสนับสนนุ สู่การเรยี นรู้และพัฒนาวชิ าชีพ ให้เกิดการเปลี่ยนแป สำคญั ตลอดจนความสขุ ของการทำงานร่วมกันของสมาชกิ ในชุมชน ความเป็นพลเมืองที่ดี : คุณลักษณะที่ดีที่แสดงออกถึงการมีควา รับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และต่อสถาบันหลักของชาติ รวมท รว่ มกันในสังคมอย่างสันตสิ ขุ สถาบันหลักของชาติ : สถาบันอนั เปน็ รากฐานให้ประเทศชาติมั่นคง โดยเฉพาะอย่างย่ิงสถาบันพระมหากษัตริย์ ซ่ึงเป็นเสาหลักในการ บ่อเกิดให้เกิดความรักใคร่ปรองดองกัน ความสามัคคี อยู่ด้วยกันอ ศาสตร์การพฒั นา ๓ ศาสตร์ : ศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์ หรือห ๑. ศาสตรช์ าวบ้าน หรอื ภูมิปญั ญา ๒. ศาสตร์สากล คือ องค์ความรู้ทั่วไ หรือหลักสตู รรายวชิ า
7 ยง/การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ : การจัดกิกรรรม นคุณค่าของการอยู่อย่างพอเพียง และมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง/อุ ปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง รบั การเปล่ียนแปลงใน ๔ มติ ิ ฐกจิ พอเพียง คอื คดิ พดู ทำ อยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล และมภี มู ิคมุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี โดยใชค้ วามรู้ าที่ให้เพื่อเจริญก้าวหน้าไปอย่างสมดุล และพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้ านวัตถุ/เศรษฐกิจ นรู้ (Professional Learning Community: PLC) : กระบวนการกลุ่มของครูและบุคลากร ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรูใ้ ห้บรรลวุ ิสัยทัศน์ เป้าหมาย นวางเป้าหมายการเรียนรู้ของผู้เรียน ตรวจสอบ และสะท้อนผลการปฏิบัติงานทั้งในส่วนบุคคล วิพากษ์วิจารณ์ และการทำงานเป็นแบบทีมการเรียนรู้ที่มีครูเป็นผู้นำร่วมกัน และผู้บริหารเป็น ปลงคุณภาพตนเองส่คู ุณภาพการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็น นการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ามรู้ความเข้าใจ ความคิดหรือเจตคติ และการปฏิบัติตนในทางที่ดีงามว่าเป็นบุคคลที่มีความ ทั้งมีความเคารพผูอ้ ื่นตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ง ประกอบด้วย ๓ สถาบนั หลกั ได้แก่ สถาบนั ชาติ สถาบนั ศาสนา และ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ รสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น เป็นศูนย์รวมและเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจของปวงชนชาวไทย อันเป็น อย่างสันติสุข และนำประเทศชาติพ้นภัยนานาประการ หลัก ๓ ศาสตร์ ประกอบด้วย าชาวบ้าน คือ องค์ความรู้ของชาวบ้านเกยี่ วกับวิถีการดำเนนิ ชีวิตของชาวบา้ น ไปท่ีเป็นสากลซ่ึงเป็นทย่ี อมรบั ได้แก่ เนื้อหาสาระ หรือ สาระการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
1 ๓. ศาสตร์พระราชา คือ องค์ความ ๓.๑ ความรู้จากพระราชกรณีย ๓.๒ ความรจู้ ากโครงการตามพ ๓.๓ ความรู้จากพระบรมราโช ถอดบทเรียนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง : การสกดั ข เป็นชุดของความรูท้ ่ชี ัดเจนและเกิดการเรียนรู้รว่ มกนั ของผู้ร่วมกระบ หลกั การเพื่อให้เกดิ ความสมดุลและพร้อมรบั ต่อการเปลีย่ นแปลงใน นวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ดี : วิธีการใหม่ หร หรือกระบวนการพัฒนาต่างๆ จนเกิดเป็นนวัตกรรมหรือรูปแบบห ตลอดจนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีได้ โดยมีเอกสารรายงานแสดงผลงานไม
8 มร้ขู องรัชกาลที่ ๙ ได้แก่ ยกิจของพระองค์ คอื หลักการทรงงาน พระราชดำริซ่ึงมีจำนวนมากกวา่ สี่พนั โครงการ ชวาท และ พระราชดำรสั ตา่ งๆทไี่ ด้พระราชทานข้อคิด คำส่งั สอน ตกั เตือน และให้สติ ขอ้ มลู ต่าง ๆ จากประสบการณ์ในการทำกิจกรรม หรือ การลงมือปฏิบตั ิที่ผา่ นมา ซึ่งทำใหเ้ กิด บวนการถอดบทเรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งประกอบดว้ ย ๒ เงื่อนไข ๓ น ๔ มิติ รือรูปแบบ หรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการปรับปรุงและพัฒนาด้วยวงจร P – D – C - A หรือวิธีการที่ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ มีคุณภาพ เหมาะสมกับผู้เรียน และบริบทของสถานศึกษา ม่เกิน ๕ หน้ากระดาษ A4
1 ระดบั คณุ ภาพ ระดบั ๑ ระดับ ๒ ร องคป์ ระกอบ ๓. นกั เรยี น - นักเรยี นทุกคน - ตามระดับ ๑ - ตามระดับ ๒ ตระหนักใน - นกั เรยี นทุกคนมคี วามรู้ความ - นกั เรียนทุกค ความสำคญั และเห็น เขา้ ใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ ของเศรษฐกิจพ คณุ ค่าของหลัก พอเพยี งที่ถกู ต้อง ดำรงชวี ติ ปรัชญาของเศรษฐกิจ - นักเรียนแกนนำทุกคนเกิดการ - นกั เรยี นแกน พอเพียง เรียนรแู้ ละปฏิบตั ติ นตาม การทำงาน ทัก - นักเรยี นแกนนำทุก ปศพพ. จนเห็นผล เหน็ คณุ คา่ และมีอปุ นสิ ยั อ คนมีความรู้ความ เกดิ ศรัทธา และสามารถ - นกั เรียนแกน เขา้ ใจหลัก ปศพพ. ถา่ ยทอดได้อยา่ งชัดเจน ถอดบทเรยี นต และอธบิ าย ปศพพ. ศาสตร์การพัฒ ไดอ้ ย่างถูกต้อง การทำกิจกรร ได้อย่างถกู ตอ้ - นกั เรยี นแกน ขับเคล่ือน ปศ จนใน ๒ ปีที่ผ อุปนิสัยอยู่พอ เป้าหมาย หรอื รอ้ ยละ ๑๐ ต นิยามศัพท์ นกั เรียน : ผู้เรยี น นักเรียน นกั ศึกษา หรือ ผรู้ ับบริการทางการศกึ ษา นักเรียนแกนนำ : ผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา หรือ ผู้รับบริการทางการศ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่างๆ เช่น การวางแผน การลงมือปฏิบัต การนำเสนอความรู้และประสบการณก์ ารเรียนรู้ การเป็นวิทยากร การแลก เกดิ การเรียนรู้ : เขา้ ใจ ซึมซบั ฝึกฝน ปฏิบตั ิ และเห็นคณุ คา่ ของการอยอู่ ย
9 ระดบั ๓ ระดบั ๔ ระดบั ๕ ๒ - ตามระดับ ๓ - ตามระดบั ๔ คนนำหลักปรัชญา - นักเรียนแกนนำร้อยละ ๒๕ มี - นักเรียนแกนนำทุกคนเป็นหลกั พอเพยี งไปใช้ในการ ส่วนรว่ มในการขับเคล่ือน ในการขบั เคล่ือน ปศพพ. ปศพพ. ภายนอกสถานศึกษา ในสถานศึกษา นนำทุกคนมีทักษะ - นักเรยี นแกนนำปฏบิ ตั ติ นให้มี - นักเรียนแกนนำร้อยละ ๒๕ กษะการคิดวเิ คราะห์ คณุ สมบัติของคนไทยท่ีพึง เปน็ แกนนำหลกั ในการขับเคล่ือน อยู่อย่างพอเพยี ง ประสงคต์ ามพระบรมราโชบาย ปศพพ. ภายนอกสถานศึกษา นนำทุกคนสามารถ ของในหลวงรชั กาลที่ ๑๐ - นกั เรียนแกนนำทุกคนเรียนรู้ ตาม ปศพพ.และ - นักเรียนแกนนำทุกคนมี ตาม ปศพพ. และบูรณาการ ฒนา ๓ ศาสตรใ์ น จิตสำนึกท่ีดีและปฏิบัตติ นต่อ ศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์ ได้ รมการเรยี นรตู้ ่าง ๆ ความเป็นพลเมืองท่ีดีต่อสงั คม บรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ อง และสถาบนั หลกั ของชาติ - นกั เรยี นแกนนำทุกคนสามารถ นนำมสี ่วนร่วมในการ ปรับตัวพรอ้ มรบั ตอ่ การ ศพพ. ในสถานศึกษา เปล่ียนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ ผา่ นมามผี ูเ้ รียนที่มี ส่ิงแวดลอ้ ม และธำรงวฒั นธรรม อเพียงเพ่ิมขน้ึ ตาม ความภาคภูมิใจของทอ้ งถิน่ อเพ่มิ ขน้ึ ไมน่ ้อยกว่า และสถาบันหลักของชาติ ตอ่ ปี ศึกษา ที่เป็นแกนนำที่มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมการขับเคล่ือน ติ การทดลอง การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินกิจกรรมต่าง ๆ ในฐานการเรียนรู้ กเปลี่ยนเรยี นรู้ การถอดบทเรียน เป็นต้น ย่างพอเพยี ง
2 อยู่อยา่ งพอเพียง : การใชช้ วี ติ สอดคล้องกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเ คุณธรรมเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติภารกิจหน้าที่ให้เพื่อเจ ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ผู้เรียนมีส่วนร่วม : ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมการเรียนร การแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม การนำเสนอ เป็นตน้ คุณสมบัติของคนไทยที่พึงประสงค์ตามแนวพระบรมราโชบายด้านการ ท่พี งึ ประสงค์ ๔ ดา้ น ได้แก่ ๑. มที ัศนคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งต่อบ้านเมือง ๒. มีพนื้ ฐา สถาบันหลักของชาติ : สถาบันอันเป็นรากฐานให้ประเทศชาติมั่นคง ปร อย่างยิ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ซ่ึงเป็นเสาหลักในการสร้างชาติให้เป็นป ความรักใคร่ปรองดองกัน ความสามัคคี อยู่ด้วยกันอย่างสันติสุขและนำป ศาสตรก์ ารพฒั นา ๓ ศาสตร์ : ศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์ หรือ หลัก ๓ ๑. ศาสตร์ชาวบา้ น หรือ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ ๒. ศาสตรส์ ากล คอื องค์ความร้ทู ว่ั ไปทเี่ ป หรอื หลกั สตู รรายวิชา ๓. ศาสตรพ์ ระราชา คอื องคค์ วามรขู้ องรัช ๓.๑ ความรู้จากพระราชกรณยี กิจของ ๓.๒ ความรจู้ ากโครงการตามพระราช ๓.๓ ความร้จู ากพระบรมราโชวาท แล
0 เพียง คือ คดิ พูด ทำ อย่างพอประมาณ มเี หตุผล และมภี ูมิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี โดยใช้ความรู้และ จริญก้าวหน้าไปอย่างสมดุล และพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน วัตถุ เศรษฐกิจ สังคม รู้ต่าง ๆ เช่น การลงมือเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การทดลอง รศึกษาของรัชกาลที่ 10 : การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้คนไทยหรือผู้เรียนมีคุณสมบัติ านชวี ติ ท่มี ่นั คง – มีคุณธรรม มรี ะเบียบวนิ ัย ๓. มงี านทำ – มีอาชพี ๔. เป็นพลเมอื งท่ีดี ระกอบด้วย ๓ สถาบันหลัก ได้แก่ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะ ปึกแผ่น เป็นศูนย์รวมและเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจของปวงชนชาวไทย อันเป็นบ่อเกิดให้เกิด ประเทศชาติพ้นภัยนานาประการ ๓ ศาสตร์ ประกอบดว้ ย าน คือ องค์ความร้ขู องชาวบ้านเกย่ี วกับวิถีการดำเนนิ ชวี ิตของชาวบา้ น ปน็ สากลซง่ึ เปน็ ท่ยี อมรับ ไดแ้ ก่ เนื้อหาสาระ หรอื สาระการเรียนรตู้ ามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ชกาลที่ ๙ ได้แก่ งพระองค์ คอื หลักการทรงงาน ชดำริซ่งึ มีจำนวนมากกว่าสี่พันโครงการ ละ พระราชดำรสั ต่างๆทไี่ ด้พระราชทานขอ้ คดิ คำสงั่ สอน ตกั เตือน และให้สติ
2 ระดับคุณภาพ ระดบั ๑ ระดบั ๒ องค์ประกอบ ๑.๔ คณะกรรมการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา - ตามระดบั ๑ และ - ตามระดับ คณะกรรมการสถานศกึ ษาทกุ - คณะกรรม สถานศกึ ษา ทกุ คน ตระหนกั ใน คน รบั ร้กู ารขับเคล่อื น เหน็ คุณคา่ แ ปศพพ. ของสถานศึกษา ขบั เคลื่อน ความสำคญั และมคี วามรู้ - คณะกรรม สว่ นร่วมกา ความเขา้ ใจ ปศพพ. สถานศึกษา นิยามศพั ท์ คณะกรรมการสถานศกึ ษามีส่วนร่วม : คณะกรรมการสถานศึกษามีส่ว เช่น การร่วมประชมุ การเสนอความคิดเหน็ การเสนอแนะการดำเนนิ กา ความยั่งยืน : ๑. การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยให้ความสำคัญกับการพัฒน ไดอ้ ยา่ งม่นั คง และนำไปสูก่ ารพัฒนาท่ีมคี ณุ ภาพและยงั่ ยืน ๒. การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทยเป็นการพัฒนาที่ต้อ ภมู ปิ ัญญา และวฒั นธรรมไทย ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทกุ กล่มุ ด้วย ๓. การคงสภาพของการดำเนินงาน/กิจกรรมและผลการ
1 ระดบั ๓ ระดบั ๔ ระดับ ๕ บ ๒ และ - ตามระดับ ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ มการสถานศึกษาทุกคน - คณะกรรมการสถานศึกษาทุกคน มี คณะกรรมการสถานศกึ ษาทกุ คน และศรัทธาในการ ส่วนร่วม สนบั สนนุ และสบื สาน มสี ว่ นรว่ ม และสนับสนุน ปศพพ. ของสถานศกึ ษา กจิ กรรมการขบั เคลือ่ น ปศพพ.ภายใน กิจกรรมการขับเคล่อื น ปศพพ. มการสถานศึกษาทกุ คนมี สถานศกึ ษา สู่ภายนอกสถานศกึ ษา ารขบั เคล่ือน ปศพพ. ของ - คณะกรรมการสถานศึกษาทุกคน - คณะกรรมการสถานศึกษาทุก า รับทราบการรายงานผล การขบั เคล่อื น คนส่งเสริมและสนบั สนุนการ ปศพพ. ภายในสถานศึกษา และให้ สืบสาน ปศพพ. ของสถานศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาท่เี ป็น ให้มคี วามย่ังยืน ประโยชน์ตอ่ สถานศึกษา - คณะกรรมการสถานศกึ ษารว่ ม สนับสนนุ การขบั เคลอ่ื น ปศพพ. ของสถานศกึ ษา วนร่วมในการดำเนนิ กจิ กรรมการขับเคลอื่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา ารบริหารสถานศึกษา การสนับสนนุ ด้วยกำลังกาย กำลังทรัพย์ และกำลังใจ เปน็ ต้น นาที่สมดุล ทั้งด้านวัตถุเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถดำรงอยู่ องคำนึงถึงความเป็นองค์รวมของทุก ๆ ด้าน อย่างสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ยความเออ้ื อาทร เคารพซ่ึงกนั และกนั เพือ่ ความสามารถในการพึ่งตนเอง และคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ท่าเทียม รดำเนินงาน/กจิ กรรม ท้งั ด้านปริมาณ และคณุ ภาพ
2 ด้านท่ี 2 การจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ระดบั คุณภาพ ระดับ ๑ ระดบั ๒ องคป์ ระกอบ 2.1 อาคารสถานทแ่ี ละ - มีผู้รับผดิ ชอบการใช้ - ตามระดับ ๑ ตามระดบั สงิ่ แวดล้อม ปรับปรุง ดูแล รักษา - มแี ผนงาน/โครงการ/ - มีศนู ย์รว อาคาร สถานท่ี อาคาร งบประมาณการในการ ปศพพ. ข ต่าง ๆ และมีการจดั พฒั นาปรบั ใชอ้ าคาร 1 ศนู ย์ท่มี สภาพแวดลอ้ มสำหรบั สถานทแ่ี ละส่ิงแวดลอ้ มให้ กจิ กรรมท การเรยี นรอู้ ย่าง เปน็ ไปตาม ปศพพ. ทุกปี เสรมิ สรา้ ง เหมาะสม การศึกษา พอเพยี งแ จิตสำนกึ ท ความเปน็ และสถาบ เหมาะสม - มแี ผนผ การเรยี นร อย่างน้อย ความ ถูก ชัดเจนแล - สภาพแ รม่ รนื่ ปล นยิ ามศพั ท์ ศูนย์รวมข้อมูลการขบั เคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา โครงการในพระราชดำริของรัชกาลที่ ๙ พระราชดำรัสและพระบ ของฐานการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เอกสารการประเมินต่า ต่อการเรยี นรแู้ ละการเสรมิ สรา้ งค่านิยมในการเทดิ ทนู และแสดงควา
2 ระดบั ๓ ระดบั ๔ ระดบั ๕ บ ๒ ตามระดบั ๓ ตามระดับ ๔ วมขอ้ มลู การขับเคล่ือน - ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้และ - ชุมชน องค์กร ภาคีเครอื ข่าย ของสถานศกึ ษา จำนวน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น มีการใช้ หรือหนว่ ยงานอนื่ ใช้ประโยชน์ มีบรรยากาศและ ศูนย์รวมข้อมลู ในการเสรมิ สรา้ ง ศนู ย์รวมขอ้ มลู การขบั เคลอื่ น ทเ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรเู้ พอื่ ผเู้ รยี นให้มอี ุปนิสยั อยูอ่ ย่าง ปศพพ.อยา่ งนอ้ ย ๑ ครง้ั /ภาค งอุปนิสยั อยูอ่ ย่าง พอเพียง และมีจิตสำนกึ ท่ีดีและ เรยี น และการเสริมสร้าง ปฏิบตั ติ นต่อความเปน็ พลเมอื งที่ดี - ชมุ ชน องค์กร ภาคเี ครอื ขา่ ย ท่ีดีและปฏิบัตติ นต่อ ตอ่ สังคมและสถาบนั หลกั ของชาติ และหนว่ ยงานอนื่ มสี ่วนรว่ มใน นพลเมอื งท่ีดี ต่อสงั คม อย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครงั้ การสง่ เสรมิ ดูแลรักษา และ บันหลักของชาติอย่าง - ครแู ละนกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการ พัฒนาอาคารสถานท่ี ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาคาร - ชมุ ชน องคก์ ร ภาคีเครือข่าย ผงั แสดงแหลง่ เรยี นร/ู้ ฐาน สถานท่ี ใหเ้ อื้อตอ่ การเรยี นรตู้ าม และหน่วยงานอื่นมีความพงึ รู้ ปศพพ.ในสถานศกึ ษา ปศพพ. พอใจและใช้ประโยชน์อาคาร ยจำนวน ๑ แผนผงั ทม่ี ี - มกี ารจดั บรรยากาศการเรียนรู้ สถานทีอ่ ย่างนอ้ ย ๑ ครั้ง/ภาค กต้อง สอ่ื ความหมายได้ ภายในสถานศึกษาทชี่ ว่ ย เรยี น ละเขา้ ใจ เสรมิ สร้างให้ผเู้ รียนมอี ุปนสิ ัยอยู่ แวดล้อมมคี วามสะอาด อย่างพอเพยี ง ลอดภยั งของสถานศกึ ษา : ห้องที่รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ สาระความรู้ ชิ้นงาน และผลงานที่เกี่ยวกบั และศาสตร์พระราชา เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงานของรัชกาลที่ ๙ บรมราโอวาทของรัชกาลที่ ๙ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ ราชการที่ ๑๐ สื่ออุปกรณ์ าง ๆ สื่ออุปกรณ์สำหรับการเรยี นรูแ้ ละการขยายผล เป็นตน้ ตลอดจนมีการจดั บรรยากาศใหเ้ อื้อ ามจงรกั ภกั ดตี อ่ สถาบันพระมหากษัตริย์
2 ระดบั คุณภาพ ระดบั ๑ ระดับ ๒ องคป์ ระกอบ ๒.๒ แหลง่ มแี หล่งเรยี นรู้ หรือฐานการเรียนรู้ - ตามระดับ ๑ และ - เรียนร/ู้ ฐานการ เรยี นรู้และหรอื หรือกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่สี ่งเสรมิ - มสี อื่ ประกอบการเรยี นรู้ - กจิ กรรมการ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้กลมุ่ เรยี นรเู้ พอื่ สาระการเรียนรแู้ ละกจิ กรรม ประจำทุกแหลง่ เรียนร/ู้ ฐาน 1 เสริมสร้าง พัฒนาผเู้ รยี น เพ่ือเสริมสรา้ งอุ อุปนิสยั อยอู่ ยา่ ง นสิ ัยอยอู่ ย่างพอเพยี งทง้ั ภายใน การเรียนร/ู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ น ทสี่ ามารถส่ือความไดถ้ ูกตอ้ ง ป และเพียงพอ เร พอเพยี ง และ/หรือภายนอกสถานศึกษาที่ ถ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท ภมู สิ งั คมของ - สถานศกึ ษาและมกี ารจดั การ เร อยา่ งพอเพยี ง ฐ เร ถ น ได
3 ระดบั ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕ ตามระดบั ๒ และ - ตามระดับ๓ และ - ตามระดับ ๔ และ มคี รแู กนนำอยา่ งน้อย - ฐานการเรยี นรู้ทุกฐาน - มีการประเมินผลและ 1 คน นักเรียนแกนนำอยา่ ง สอดคลอ้ งกบั การ สรุปผลประเมนิ ผลทกุ แหลง่ นอ้ ย ๓ คน เป็นวิทยากร เสรมิ สรา้ งผ้เู รยี นให้มี เรียนรู้/ฐานการเรยี นรู้/ ประจำแหลง่ เรียนรู/้ ฐานการ คณุ สมบตั ิของคนไทยท่ีพงึ กจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ รียนร้ทู ีส่ ่อื สารได้อย่าง ประสงค์ตามพระบรมรา รปู ธรรม ถูกต้องและชัดเจน โชบายด้านการศึกษาของ - ทกุ แหลง่ เรียนร/ู้ ฐานการ มแี ผนการจัดกิจกรรมการ ในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ ครบ เรียนร/ู้ กิจกรรการเรียนรใู้ ช้ รียนรู้ของทุกแหล่งเรียนร/ู้ ทัง้ ๔ ด้าน ขอ้ มูลจากการประเมนิ ผล ฐานการเรียนร/ู้ กจิ กรรมการ - ครแู ละบคุ ลากรใน นำมาปรับปรงุ พฒั นา หรอื ต่อ รียนรู้ตาม ปศพพ. ท่ี สถานศึกษาสามารถเป็น ยอดฐานการเรยี นรู้/แหลง่ ถูกต้องและชัดเจน สามารถ วทิ ยากรอธิบายการใช้ เรียนรู้/กิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้ นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประโยชน์จากแหล่งเรยี นรู้ มีคณุ ภาพมากย่ิงขนึ้ ด้บรรลุตามจุดประสงค์ /ฐานการเรียนร้/ู กจิ กรรม - ทกุ แหลง่ เรยี นรู้/ฐานการ การเรียนรู้ ตาม ปศพพ. เรียนรู้/กิจกรรมการเรยี นร้มู ี ในการเสรมิ สร้างอปุ นิสัย การปรับปรุงพฒั นาให้ อยู่อยา่ งพอเพยี งได้อย่าง สอดคลอ้ งกบั การมุง่ สร้าง ถกู ต้องและชัดเจน ผูเ้ รียนใหม้ ีคุณสมบัติของคน ไทยท่ีพึงประสงคต์ ามพระ บรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐
2 นิยามศัพท์ อาคาร : อาคารเรยี น อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ ห้องผูบ้ สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ประจำแหล่ง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู้ : ปา้ ยช จัดกิจกรรมการเรียนรู้ประจำฐานการเรียนรู้ แผ่นพับ ภาพกิจกรรม ข เอกสารเน้อื หาสาระหรอื องค์ความรู้ แบบประเมินความพงึ พอใจ เปน็ ต้น แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรบู้ รู ณาการตาม ปศพพ.ประจำฐานการ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผล ในการใชห้ ลักปรชั ญาขอ ฐานการเรยี นรู้ของนักเรยี นแกนนำหรือผเู้ รยี นทร่ี ว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ต คุณสมบัติของคนไทยที่พึงประสงค์ไทยตามแนวพระบรมราโชบายด คุณสมบัติที่พึงประสงค์ ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้าน ๔. เป็นพลเมอื งทด่ี ี
4 ครบทัง้ 4 ด้าน ให้มคี ุณภาพมากยิ่งขึน้ - ชมุ ชน หนว่ ยงาน องค์กร ภาคเี ครอื ขา่ ยต่าง ๆ ใช้แหลง่ เรียนร้/ู ฐานการเรียนรใู้ นการ เสริมสร้างพฒั นา และ/หรือ ต่อยอดการขบั เคลือ่ นหลัก ปศพพ. ภาคเรียนละ 1 คร้ัง บรหิ าร หอ้ งพกั ครู เป็นต้น ชื่อฐาน แผนการการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แผนการ ของจริง ของจำลอง อุปกรณ์ ป้ายโมเดลหรือแผนภูมิการถอดบทเรียน ๒ – ๓ – ๔ - ๓ น รเรยี นรู้ : แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ รี่ ะบุจุดประสงค์การเรยี นรู้ประจำฐานการเรยี นรู้ องเศรษฐกิจพอเพยี งในการฝกึ และพัฒนาผู้เรียนในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในแหลง่ เรียนรู้/ ต่างๆ ในแหลง่ /ฐานกิจกรรมการเรียนรู้น้นั ๆ ด้านการศึกษาของรัชกาลที่ 10 : การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้คนไทยและผู้เรียนมี นเมือง ๒. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย ๓. มีงานทำ – มีอาชีพ
2 ดา้ นท่ี 3 ความสัมพนั ธ์กับหน่วยงานภายนอก ระดับคุณภาพ ระดบั ๑ ระดับ ๒ ร องค์ประกอบ 3.1 ความสัมพนั ธ์ - มเี ครอื ข่ายการ - ตามระดับ ๑ และ - ตามระดับ กับสถานศึกษาอ่ืน เรยี นรู้ ปศพพ. - มีประสบการณ์ในการรบั - สามารถบ ในการขยายผล จำนวนอย่างน้อย ๑ หนว่ ยงาน/องค์กร/ชุมชน/ รองรบั การ การขบั เคลือ่ น แห่ง สถานศึกษา หน่วยงาน ปศพพ. - มกี ารจดั ทำบันทึก มาศกึ ษาดงู านจำนวน สถานศึกษา ความเขา้ ใจ (MOU) อย่างน้อย ๑ ครัง้ /ภาค ภารกิจหลกั กบั เครือขา่ ยการ เรียน ไม่นอ้ ยกว่า ขบั เคลื่อน ปศพพ. อย่างน้อย จำนวน ๑ แหง่
5 ระดับ ๓ ระดบั ๔ ระดับ ๕ บ ๒ และ - ตามระดบั ๓ และ - ตามระดบั ๔ และ บริหารจดั การเพ่อื - เป็นสถานศกึ ษาแกนนำใน -สามารถเป็นพเ่ี ล้ียงพัฒนา ขอศกึ ษาดงู านจาก การพฒั นาเครอื ขา่ ยการ สถานศึกษาอน่ื ใหเ้ ป็น /องคก์ ร /ชมุ ชน / ขบั เคล่อื น ปศพพ. ไม่น้อยวา่ สถานศึกษาพอเพยี ง หรอื า โดยไม่กระทบ ๑ ครง้ั /ภาคเรียน พฒั นาหน่วยงาน/ชุมชน/ กของสถานศึกษา องค์กร/ภาคเี ครือขา่ ยตา่ ง ๆ า ๑ คร้ัง/ภาคเรยี น ได้นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้จนได้ยอมรับและ เหน็ ผลสำเร็จเชงิ ประจกั ษ์อย่าง นอ้ ยจำนวน ๑ แหง่
นินามศัพท์ 2 บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU : บันทึกความเข้าใจ (MOU-M ซึง่ ฝา่ ยหนึง่ แสดงความสมคั รใจจะปฏบิ ัติอย่างหนงึ่ อยา่ งใด และต น้ีไม่ถือวา่ เป็นสัญญาผูกมดั แต่แสดงความตอ้ งการอันแน่วแนข่ องผ การบรหิ ารจัดการเพ่ือรองรบั การขอศึกษาดูงาน : สถานศึกษาบร โดยไม่กระทบภารกิจหลักของสถานศกึ ษาด้วยการจดั ทำแผนงานโ การศึกษาดูงาน กำหนดหลักเกณฑ์และวธิ กี ารศึกษาดูงาน กำหนด กำหนดกจิ กรรมและเวลาการศึกษาดูงาน การจัดทำสือ่ /เอกสารต่าง เรียนรู้ แผ่นพับ แบบประเมินต่าง ๆ เปน็ ต้น องค์กร : การรวมตัวของบุคคลกลุ่มหนึ่งที่มาทำงานรวมตัวกัน โ กิจกรรมบางอย่างร่วมกันอย่างมีขั้นตอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประส การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มาร่วมปฏิบัติงาน กา ๑. องคก์ รเพอื่ การแสวงผลกำไร คอื องคก์ รท่ีดำเนนิ กจิ และการบรกิ าร โดยผลประโยชนห์ รือกำไรจะตกแกบ่ ุคคล กลุ่มบุค โรงงานอตุ สาหกรรม เป็นต้น ๒. องค์กรเพื่อผลประโยชน์ตอบแทนของสมาชิก คือ สโมสร สมาคมวิชาชพี เปน็ ตน้ ๓. องค์กรเพ่ือการบริการ คือ องคก์ รท่ีดำเนนิ กิจกรรมเ สถาบนั สมาคมเพ่ือการสังคมสงเคราะห์ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ๔. องค์กรเพ่ือสวสั ดภิ าพของประชาชน คอื องคก์ รซึ่งเป ในทางสาธารณะหรือบรกิ ารประชาชน เช่น สถานตี ำรวจ สถานีดับ ภาคีเครือข่าย : บุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุม ประกอบการ และ องค์กรต่าง ๆ ที่มีเป้าหมายร่วมกัน มารวม ประเมินผล โดยมีความสัมพันธก์ ัน มีความเกื้อหนุนพ่ึงพากัน มีค เครือขา่ ยผู้สูงอายุ เครือขา่ ย อสม. เครอื ขา่ ยสิ่งแวดล้อม เครอื ข่ายเ หมบู่ ้านหรือชุมชนตน้ แบบตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
6 Memorandum Of Understanding) เป็นเอกสารหรือหนังสือที่เป็นลายลักษณ์อักษร ตามเงอ่ื นไขท่ีปรากฏในเอกสารหรือหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง โดยที่เอกสารหรือหนังสือ ผู้ลงนามวา่ จะปฏิบตั ิดังทไ่ี ด้ระบไุ ว้ รหิ ารจัดการเพื่อรองรบั การศึกษาดูงานของหน่วยงาน/องคก์ ร/สถานศึกษา/ชมุ ชน ต่าง ๆ โครงการรองรบั การกำหนดผู้รบั ผดิ ชอบการเปน็ วิทยากรหรอื ผูน้ ำเสนอ จัดทำหลกั สตู ร ดวนั หรอื ช่วงเวลาการศึกษาดูงาน กำหนดสถานทหี่ รือแหล่งเรยี นรู้หรอื ฐานการเรียนรู้ ง ๆ ประกอบการศึกษาดูงาน เชน่ คู่มือการศกึ ษาดงู าน เอกสารความรู้ แผนการจัดการ โดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน และดำเนิน สงค์นั้น โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ ภารกิจ บทบาทหน้าท่ี การแบ่งหน้าที่ทำงาน ารควบคุม และสายการบังคับบัญชา องค์กรจำแนกตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ได้แก่ จกรรมทางธุรกิจที่แสวงหาผลกำไรเพื่อการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ผลประโยชนท์ างการค้า คคลทเี่ ปน็ เจา้ ของ เชน่ บริษทั ห้างหุ้นสว่ น สถาบันการเงิน ห้างสรรพสนิ ค้า ร้านคา้ ตา่ ง ๆ องค์กรที่มีเป้าหมายหลักเพื่อรักษาผลประโยชน์ของสมาชิกในองค์กร เช่น สหกรณ์ เพื่อการบริการและสาธารณประโยชนเ์ ป็นหลัก ไมแ่ สวงหาผลกำไร เช่น สมาคม มูลนิธิ ป็นหน่วยงานทางราชการต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้นเพ่อื ประโยชนส์ ว่ นร่วมของประชาชน ทำหน้าที่ บเพลิง หรอื องค์กรต่าง ๆ ที่อย่ใู นระบบราชการ เปน็ ต้น มชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน มตัวกันทำกิจกรรมด้วยความสมัครใจ ได้ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำกิจกรรม ร่วม ความเสมอภาค และเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อทำกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย เชน่ เกษตรอินทรยี ์ เครอื ข่ายทางศาสนา กลมุ่ สนใจต่าง ๆ กลุ่มอาชพี ต่าง ๆ กลุ่มยวุ ชนตา่ ง ๆ
2 ระดบั คณุ ภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ร องค์ประกอบ - ตามระดับ ๑ และ - ตามระดบั - ประสานความร่วมมือ - มวี ธิ กี ารต ๓.๒ มกี ิจกรรมสร้าง กบั หน่วยงาน/ชมุ ชน/ สัมพนั ธก์ ับห องค์กร/ภาคีเครือขา่ ย องค์กร/ภา ความสัมพนั ธ์กบั ความสัมพนั ธ์อนั ดกี บั ต่างๆ เพ่ือให้ และ/หรือ ในการขับเค รบั การสนบั สนนุ เพ่ือการ ได้อย่างเหม หน่วยงานทสี่ งั กัด หนว่ ยงาน/ชุมชน/ ขับเคลือ่ น ปศพพ. ไม่ ประสิทธิภา น้อยกว่า ๓ หน่วยงาน/ ๓ วิธี/แนว และ/หรอื หนว่ ยงาน องค์กร/ภาคีเครือข่าย แห่ง ภายนอก (ภาครัฐ ตา่ งๆ ในการ ภาคเอกชน และ ขบั เคลอ่ื น ปศพพ. ให้ ชุมชน) บรรลผุ ลตาม จุดประสงค์ ไม่น้อย กว่า ๓ กิจกรรม
7 ระดับ ๓ ระดบั ๔ ระดบั ๕ บ ๒ และ - ตามระดับ ๓ และ ตามระดบั ๔ และ ติดต่อประสาน - มีหน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/ - ประสานความรว่ มมือกบั บหนว่ ยงาน/ชุมชน/ ภาคเี ครือขา่ ยต่าง ๆ ไมน่ ้อย หนว่ ยงาน/ชมุ ชน/องค์กร/ภาคี าคีเครือข่ายตา่ งๆ กวา่ ๓ หน่วยงานให้การ เครอื ข่ายต่าง ๆ อย่างต่อเน่อื ง คลอื่ น ปศพพ. ยอมรับและรว่ มมือกับ จนพฒั นาสถานศึกษาอ่ืนเปน็ มาะสมและมี สถานศึกษาในการขยายผล สถานศกึ ษาพอเพยี ง หรือ าพ ไม่นอ้ ยกวา่ การขับเคล่ือน ปศพพ. ท้งั พฒั นาหนว่ ยงาน/ชุมชน/ วทาง/กจิ กรรม ภายในสถานศกึ ษาและสู่ องค์กร/ภาคเี ครือข่ายตา่ ง ๆ ภายนอกสถานศกึ ษา ไดน้ ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้จนได้รบั การ ยอมรบั และเห็นผลสำเร็จเชิง ประจกั ษ์ อยา่ งน้อย ๑ แหง่
28 มาตรฐานและตวั บง่ ช้ีของศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา 1. ผู้บริหารเป็นผู้บริหารมืออาชพี บริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างมีประสิทธิภาพที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน มีการพัฒนานวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีคุณภาพ และเป็นที่ยอมรับของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหนว่ ยงานอืน่ ๑.๑ ผู้บริหารมีความรคู้ วามเข้าใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งถกู ต้อง ๑.๒ ผู้บริหารปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี ๑.๓ ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นและสามารถบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งอย่างมีคณุ ภาพ ๑.๔ ผู้บริหารพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสม และสอดคล้องกบั บริบท ภูมิสงั คม ผเู้ รียน ท้องถน่ิ และพหุวัฒนธรรม ๑.๕ ผู้บริหารพัฒนานวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีบริหารจัดการสถานศึกษาที่ดีตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ๑.๖ ผู้บริหารเป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ (PLC) ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้บรรลวุ ัตถุประสงค์ ๑.๗ ผู้บริหารขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษา ได้บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ๑.๘ ผู้บริหารมีความสัมพันธ์อันดีและเป็นที่ยอมรับของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่าย และหนว่ ยงานอ่นื ๑.๙ ผู้บริหารมีการพัฒนานวัตกรรม/รูปแบบ/ วิธีการบริหารจัดการสถานศึกษา และ/หรือการพัฒนา หลกั สูตรสถานศกึ ษาทด่ี ีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นทยี่ อมรับ และเผยแพรผ่ ่านวิธีการท่ีเหมาะสม ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างมีคุณภาพท่ี สง่ ผลต่อคุณภาพของผูเ้ รียน มกี ารพัฒนานวัตกรรม/รูปแบบ/ วิธีการจดั การเรียนรู้ท่ีดีตาม ปศพพ. โดยบูรณาการ ศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์จนเป็นผลงานท่ีมคี ณุ ภาพเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีและเปน็ ที่ยอมรบั ๒.๑ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มคี วามรู้ความเขา้ ใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างถูกตอ้ ง ๒.๒ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ เป็นแบบอย่างทดี่ ี ๒.๓ ครู และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาหลักสตู ร หน่วยการเรยี นรู้ และจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงไดเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับบรบิ ท ภูมสิ ังคม ผูเ้ รยี น ท้องถ่นิ และพหุวัฒนธรรม ๒.๔ ครู และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงและโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง หลากหลาย และเป็นแบบอย่างท่ดี ใี นการจดั การเรียนรู้ ๒.๕ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ใช้ฐานการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา พฒั นาผู้เรียนให้มีอปุ นสิ ัยอยู่อย่างพอเพียง มจี ติ สำนึกทีด่ ีและปฏบิ ัตติ นต่อความเปน็ พลเมอื งที่ดี ตอ่ สงั คม และ สถาบนั หลกั ของชาติอย่างเหมาะสม
29 ๒.๖ ครู และบุคลากรทางการศึกษา จัดการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัฒนา ผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอยพู่ อเพยี งไดต้ ามบรบิ ท ภูมิสงั คม ผเู้ รยี น ท้องถ่ินและพหุวฒั นธรรมของสถานศึกษา ๒.๗ ครู และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนานวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ดี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการศาสตร์การพัฒนา ๓ ศาสตร์ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาการ เรียนรู้ของผ้เู รียน และเป็นทย่ี อมรับ ๒.๘ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนา การจัดการเรยี นรู้ (PLC) ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเนอื่ ง ๒.๙ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ร่วมมือในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงสภู่ ายนอกสถานศึกษาได้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑๐ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความสัมพันธ์อันดีและเป็นที่ยอมรับของครู นักเรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชน ภาคีเครือข่าย และหนว่ ยงานอนื่ ๒.๑๑ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เผยแพร่สอ่ื /นวตั กรรม/รปู แบบ/วธิ กี ารจัดการเรยี นรูท้ ด่ี ีตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งผา่ นวิธกี ารทเ่ี หมาะสม ๓. นักเรียนมีความรู้ ทักษะการคิด และทักษะการทำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสำนึกที่ดีและปฏิบัติตนต่อความเป็นพลเมืองที่ดี ต่อสังคม และ สถาบันหลักของชาติ สามารถปรับตัวพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และ ธำรงวัฒนธรรมความภาคภมู ใิ จของท้องถ่นิ และสถาบนั หลักของชาติ ๓.๑ นักเรียนตระหนักในคุณค่าและความสำคัญ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นการดำรงชวี ติ ๓.๒ นักเรยี นแกนนำมีความรคู้ วามเข้าใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยา่ งถูกตอ้ ง ๓.๓ นักเรียนแกนนำปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นแบบอย่างที่ดี ๓.๔ นักเรียนแกนนำมีความสามารถในการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๕ นักเรียนแกนนำมีทักษะการคิด ทักษะการทำงาน ทักษะความสามารถในการถอดบทเรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตรก์ ารพัฒนา ๓ ศาสตร์ ๓.๖ นกั เรียนแกนนำเกดิ คุณลักษณะอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มจี ิตสำนกึ ทด่ี ี และปฏิบตั ติ นต่อความเป็นพลเมือง ทีด่ ตี ่อสังคม และสถาบันหลักของชาติอย่างเหมาะสม ๓.๗ นักเรียนแกนนำมีคุณสมบัติของคนไทยที่พึงประสงค์ตามแนวพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของรชั กาลท่ี ๑๐ ๓.๘ นักเรียนแกนนำมีอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง สามารถปรับตัวพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคม เศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ ม และธำรงวฒั นธรรมความภาคภูมใิ จของทอ้ งถน่ิ และสถาบันหลักของชาติ ๓.๙ นกั เรียนแกนนำมสี ว่ นร่วมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท้ังภายใน และ ภายนอกสถานศกึ ษา /๔. คณะกรรมการสถานศึกษา...
30 ๔. คณะกรรมการสถานศึกษาตระหนักในความสำคัญ และเห็นคณุ ค่าของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และสืบสานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา อยา่ งต่อเนื่องจนสถานศึกษาเป็นทยี่ อมรบั ๔.๑ คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔.๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาเหน็ คณุ คา่ และศรทั ธาการขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของสถานศึกษา ๔.๓ คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุน ส่งเสริม และสืบสานการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาจนเห็นผล ๔.๔ คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุน ส่งเสริม และสืบสานการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงของสถานศึกษาสภู่ ายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล 5. อาคาร สถานท่ี และสง่ิ แวดล้อมเอื้อตอ่ การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕.๑ อาคาร สถานท่ีมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย และเอื้ออำนวยตอ่ การจัดการเรยี นรู้ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕.๒ มีแผนงาน/โครงการและงบประมาณในการดูแลรักษา และปรับใช้อาคาร สถานที่ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕.๓ มีศูนย์รวมข้อมูลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา มีสื่อ อุปกรณ์ เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๕.๔ มีแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สอดคลอ้ งกับบรบิ ท ภูมิสังคม และท้องถิ่น ๕.๕ ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาคาร และสถานที่ให้เอ้ือ ต่อการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งสม่ำเสมอ ๕.๖ ชุมชน องค์กร และหน่วยงานอ่ืนสามารถใช้ประโยชน์ และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม ดูแลรกั ษา และพฒั นาอาคาร สถานท่ี สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง ๖. แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้สอดคล้องกับบริบท และภูมิสังคมของสถานศึกษาที่ส่งเสริม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อเสริมสร้างอุนิสัยอยู่อย่าง พอเพียง การมีจิตสำนึกที่ดีและปฏิบัติตนต่อความเป็นพลเมืองที่ดี ต่อสังคมและสถาบันหลักของชาติ และการเสริมสรา้ งผูเ้ รียนให้มีคณุ สมบัติของคนไทยที่พึงประสงคต์ ามแนวพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของรัชกาลท่ี 10 ๖.๑ แหล่งเรยี นรู้/ฐานการเรียนรู้ท้งั ภายในและ/หรอื ภายนอกสถานศึกษา สอดคล้องกบั บรบิ ทและ ภูมิสังคมของสถานศึกษา เหมาะสมในการเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง และการเสริมสร้างผู้เรียนให้มี คณุ สมบัตขิ องคนไทยทพี่ งึ ประสงคต์ ามแนวพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของรัชกาลท่ี 10 /6.๒ แหลง่ เรยี นร.ู้ ..
Search