Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) “การจัดการศึกษาโดยใช้ภาคีเครือข่าย”

ผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) “การจัดการศึกษาโดยใช้ภาคีเครือข่าย”

Description: นางนิรันดร ทองขาว
ครู กศน.ตำบลเหล่ากวาง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโนนคูณ สำนักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ

Search

Read the Text Version

ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี (Best Practice) “การจดั การศกึ ษาโดยใชภ้ าคเี ครอื ขา่ ย” . นางนริ นั ดร ทองขาว ครู กศน.ตำบลเหลา่ กวาง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอโนนคณู สำนักงาน กศน.จงั หวัดศรสี ะเกษ

ผลการปฏบิ ตั งิ านที่ดี (Best Practice) ผลงานการปฏิบัตงิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน : การจัดการศึกษาโดยใชภ้ าคีเครือขา่ ย . ชอ่ื ผู้นำผลงาน : ตำแหนง่ : นางนิรันดร ทองขาว . กศน. อำเภอ : โทรศพั ทบ์ า้ น : ครู กศน. ตำบล . โทรสาร : โนนคูณ กศน.ตำบล : เหลา่ กวาง . - โทรศัพทม์ อื ถอื : 0898441669 . - e - mail : [email protected] 1. ความเป็นมา/ความสำคัญของผลงาน ตามท่ี สำนักงาน กศน. มีนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ได้ส่งเสริม ให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาใน รปู แบบต่างๆ อาทิ เช่น ค่ายพฒั นาทักษะชีวติ การจัดต้ังชมรม/ชุมนมุ การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่างๆ ท่ีมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถในการจัดการ บริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุขส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพ่ือสร้างจิตสำนึกและวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสริม คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การจัด กิจกรรมจิตอาสา ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล การดูแล รกั ษาสขุ ภาพ ฯลฯ จากเห ตุ ผ ลท่ีกล่ าวมาข้างต้ น ศูน ย์ การศึกษาน อกระบ บ แล ะกา รศึ กษ าต ามอัธ ยาศัยอำเภ อ โนนคูณ ได้ใช้รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้ภาคีเครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งที่เป็นภาคส่วน ด้านประชาชน หน่วยงาน และองค์กรภายในชุมชน ตลอดจนสถาบันการจดั การศกึ ษาให้เข้ามามี ส่วนร่วม ใน การบ ริ การด้ าน วิช าการอั น จ ะส่ งผ ล ให้ ส ถาน ศึ กษ าจั ด ก ารศึ กษ าได้ อย่ างมี ป ระสิ ท ธิภ าพ แ ล ะเกิ ด ประสิทธิผลแก่ชุมชนอยา่ งสงู สดุ ผลงาน Best Practice 1

2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมาย ของการดำเนนิ งาน 2.1 จดุ ประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาทางการศึกษาที่ตรง ตามความต้องการของทอ้ งถิ่น 2) เพอื่ พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพตามมาตรฐานการศกึ ษา แห่งชาติ 3) เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและได้ประสบการณ์ตรงอัน จะสง่ ผลต่อการคุณภาพการเรียนรูท้ ีย่ ง่ั ยืน 2.2 เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ - ประชาชนทว่ั ไป เชงิ คุณภาพ - ภาคีทุกภาคเี ครอื ขา่ ยเขา้ มามีส่วนร่วมในการบริหารจดั การศึกษา 3. กระบวนการผลิตผลงาน หรอื ข้ันตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนดำเนินงานใช้หลักการบริหารจดั การศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SCHOOL BASE -MANAGEMENT)โดย ใช้การมสี ่วนร่วมของ ภาคีเครอื ขา่ ยโดยอาศัยหลักการจดั การ ดงั น้ี 1. การประสานงาน (Coordination) หมายถึง การมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบปฏิบัติด้วย ความสามัคคี สมานฉันท์ และมปี ระสิทธภิ าพท่ีสดุ เพ่ือให้เจ้าหน้าทฝ่ี ่ายตา่ งๆ ร่วมมอื ปฏิบตั ิงานเป็นนำ้ หนึ่ง ใจเดยี วกัน ตรงกับวัตถุประสงคแ์ ละนโยบายขององค์กร 2. ความร่วมมือ (Cooperatoin) หมายถึง ความเต็มใจของแต่ละคนในการช่วยเหลือซึ่งกัน และกันเพื่อไปสู่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง ตามเป้าหมายขององค์การหรอื หน่วยงาน ความร่วมมือเป็นการ ชว่ ยเหลือด้วยความสมคั รใจ แม้จะไมม่ ีหน้าทีโ่ ดยตรง อาจจะทำเรื่องเดยี วกนั ในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลาก็ ได้ แม้กระทั่งอาจใหค้ วามรว่ มมือทำบางเร่อื งบางเวลา 3. การทำงานรว่ มกัน (Collaboration)หมายถงึ การท่ีบุคคล ต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป หรือองค์กร ตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป มาทำงานร่วมกัน มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่ม และรับรู้ว่าตนเป็นส่วนหน่ึง ของกลุ่มตามโครงสร้างที่มีอยู่ในองค์กร รวมท้ังเข้าใจวัตถุประสงค์ของการทำงานร่วมกัน เพ่ือให้บรรลุ จุดมุง่ หมายเดยี วกันอย่างมีประสทิ ธิภาพ และผู้ปฏิบตั ิงาน ตา่ งก็เกดิ ความพอใจในการทำงานน้ัน ผลงาน Best Practice 2

4. การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การที่สมาชิก ทุกคนของหน่วยงานหรือองค์กร รว่ มกันดำเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีลักษณะของกระบวนการ (Process) มีขั้นตอนที่ มุ่งหมายจะให้ เกิดการเรยี นรู้ (Learning) อย่างต่อเนื่อง ซึ่งนำไปสู่ แนวคิด “ใจเขา ใจเรา” โดยใชห้ ลักการ 3 ป. และหลกั 3 บ. ดังนี้ หลัก 3 ป. คอื เปดิ ใจ เปิดบ้าน เปดิ ตัวตน หลกั 3 บ. คอื บรกิ าร บริเวณ บริบท โดยมีกระบวนการดำเนนิ งานดังต่อไปนี้ 1) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง องค์กรต่างๆ และ บุคลากรภายในสถานศึกษา เพื่อช้ีแจงรายละเอียดและวัตถุประสงค์ของการจัดทำนวัตกรรมรูปแบบการ จัดการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้ภาคีเครือข่าย ตลอดจนร่วมเสนอแนวทางในกำหนดรูปแบบการจัด กจิ กรรม ที่สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องนวัตกรรมโดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครอื ข่าย มกี ารประสานใหค้ วามรู้ประชาชนในชนุ ชนได้เกิดการรวมกลุ่มกัน สรา้ งรายได้อยา่ งต่อเนื่อง อาทเิ ชน่ โครงการคดั แยกขยะในชุมชนใหเ้ กดิ รายได้ 2) แต่งต้ังคณะทำงาน และจัดให้มีการประชุมคณะทำงานเพ่ือวางแผนการดำเนินงานและเตรียมการจัด กิจกรรมต่างๆ ประชุมคณะทำงานเพ่อื วางแผนการดำเนินงาน 3 ผลงาน Best Practice

3) ประชาสัมพันธ์การดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ จดหมาย ข่าวถงึ ผูป้ กครอง หนงั สือเชญิ หนว่ ยงานและองค์กรต่างๆ 4) ดำเนนิ งานตามกิจกรรม ดังต่อไปน้ี กิจกรรมการให้บริการวิชาการอาทิ การให้หน่วยงาน/องค์กรต่างๆ ให้ความรู้แก่ นักศึกษา บุคลากร และชุมชนกิจกรรมสัมพันธ์ชุมชน อาทิ การเยี่ยมบ้าน การประชุมสัญจร การระดม ทรัพยากร การให้บริการด้านสถานที่ การร่วมมือกันพัฒนาชุมชนและสถานศึกษา กิจกรรมการจัดการ เรียนรู้โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น กศน. ได้เชิญภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ นกั ศกึ ษาโดยจัดทำเป็นหลักสตู รท้องถิ่น ผลงาน Best Practice 4

4. ผลการดำเนินการ ผลสมั ฤทธิ์ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ 4.1 นกั ศึกษา ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น มีความกระตอื รือรน้ และมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงข้ึน 4.2 ผู้ปกครองนักศึกษาผู้นำชุมชน และภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญและให้ความร่วมมือ มสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนุนการจัดการศึกษามากยิ่งข้นึ 4.3 ชมุ ชนมีความพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษาและให้การสนบั สนุนทรัพยากร 4.4 สถานศึกษาไดร้ ับรางวลั ระดับต่าง ๆ ท้ังดา้ นผบู้ ริหาร ครู และนกั ศึกษา กศน.ตำบลเหล่ากวาง มีส่วนช่วยส่งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วม จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดำเนินกิจกรรม ของศูนย์การเรียน และแหล่งการเรียนรู้อ่ืนในรูปแบบต่างๆ ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการ ศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอกระบบซ่ึง กศน.ตำบล เหล่ากวาง ถือเป็นตัวแปรหน่ึงท่ีจะสร้างองค์ความรู้ให้แก่ผู้เรียน และแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ ตามบริบทชุมชนและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้านอีกด้วยเป็นการสร้างคว ามร่วมมือหรือเครือข่าย กับชมุ ชน ทำใหม้ กี ารทำงานเปน็ ทีมอย่างสร้างสรรค์ ทำงานกับเครอื ข่ายชมุ ชนจติ อาสาให้บริการสงั คมและชุมชน 5. ปจั จัยความสำเรจ็ การสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่าย โดยการให้เกียรติยกย่อง การเสริมแรงตลอดจนการ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีด้วยรูปแบบของการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและส่งเสริมให้ภาคีเครือข่าย ได้มีส่วน แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เห็ น ใน ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท ำ ให้ มี เป้ า ห ม า ย ร่ ว ม กั น ใน ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ ชั ด เจ น ผลงาน Best Practice 5

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการไหลเวียนข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเน่ืองและมีบทสรุปร่วมกันในการ จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารในปีต่อไป 6. บทเรยี นทีไ่ ดร้ บั 6.1 กศน.ตำบลไดร้ ปู แบบการบรหิ ารจดั การท่สี ่งผลตอ่ การพัฒนาการจดั การศึกษา 6.2 ครไู ดร้ ับการพฒั นาการจัดการเรียนรทู้ ่สี ง่ ผลตอ่ การพฒั นาผ้เู รียน 6.3 นักศึกษาได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรงและนำมาบูรณาการสู่การพัฒนาการเรียนรไู้ ด้เต็ม ตามศักยภาพของตนเอง 6.4 กศน.มีรูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 6.5 กศน.ตำบลสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีอยู่ในชุมชนมาบูรณาการ จดั การเรียนรเู้ ข้ากบั กล่มุ สาระต่างๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 7. ขอ้ เสนอแนะ 7.1 ควรดำเนนิ การให้ตอ่ เนอื่ ง และขยายผลกจิ กรรม สูอ่ งค์กรต่างๆ ในพ้ืนท่ี 7.2 หาแหล่งเรยี นรู/้ ปราชญ์ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เพิ่มเติมและประสานงานต่อเนื่อง 7.3 พฒั นาให้เป็นคลังภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ บนส่ือออนไลน์เพื่อให้ชนรนุ่ หลงั ได้ศึกษาขอ้ มูลได้ เอกสารอ้างอิง สำนักงานสง่ เสริการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564. (ระบบออนไลน)์ .เข้าถงึ ได้จาก https://drive.google.com/file/d/1GST6E8ImFy8tgEbD6ql578itd7JOX_dk/view (วนั ท่คี น้ หาข้อมลู 30 สิงหาคม 2564) ผลงาน Best Practice 6