Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ฉบับปรับปรุง

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ฉบับปรับปรุง

Description: กศน.อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี

Search

Read the Text Version

ก ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางปลามา้ สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดสพุ รรณบุรี สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก การลงนามให้ความเหน็ ชอบ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) บันทึกความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรุง) คณะกรรมการมีการประชุมเพ่ือ ขออนมุ ตั ิเห็นชอบแผนปฏบิ ัติการประจำปี 2564 (ฉบับ ปรบั ปรุง) ของ กศน.อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบุรี และมคี วามคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะดงั น้ี  เห็นชอบอนุมัติแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ของ กศน.อำเภอบางปลามา้  ไม่เหน็ ชอบ เน่อื งจาก .............................................................................................................................. (ลงช่ือ)......................................................ประธานกรรมการ (นายณัฐวฒุ ิ แสงดาว) (ลงชือ่ )......................................................กรรมการ (ลงชอื่ )......................................................กรรมการ (นายเชาว์ นวมทอง) (นายจตพุ ร อนุ่ วจิ ิตร ) (ลงชอ่ื )......................................................กรรมการ (ลงชื่อ)......................................................กรรมการ (นายสมพร วังอมรมติ ร) (ร.ต.อ.กำจร คำแกว้ ) (ลงชอ่ื )......................................................กรรมการ (ลงช่อื )......................................................กรรมการ (นายนธิ ิ คงสมจติ ต์) (นายชชู ีพ นนั ทาสทิ ธิ์) (ลงช่ือ)......................................................กรรมการ (นายสุเทพ ทองธรรมชาติ) (ลงช่ือ)......................................................กรรมการและเลขานุการ (นางสมควร วงษ์แก้ว) (ลงชื่อ)......................................................ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ (นายปรีชา พิทกั ษ์วงศ์)

ข การอนุมัตแิ ผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดสพุ รรณบุรี บนั ทึกความเหน็ ชอบของผูอ้ ำนวยการสำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัยจังหวัดสุพรรณบุรี กศน.อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2564 (ฉบับปรบั ปรงุ ) เพ่ืออนมุ ัติเหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิการประจำปี 2564 (ฉบับปรบั ปรงุ ) ของ กศน.อำเภอบางปลาม้า จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และมคี วามคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ ดังน้ี  เหน็ ชอบอนมุ ัติแผนปฏบิ ัติการประจำปี 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) ของ กศน.อำเภอบางปลามา้  ไม่เห็นชอบ เนื่องจาก ...................................................................................................... ........................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ทัง้ นี้ การเบิกจ่ายงบประมาณ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั การจำแนกประเภทรายจา่ ย ระเบียบ ปฏบิ ัตทิ ่ีเกยี่ วขอ้ งอยา่ งเครง่ ครัด มีประสิทธิภาพได้ประสิทธิผล เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ราชการ ลงชอื่ ............................................................. (นางสาวจันทร์ทพิ ย์ สินธวุ งษานนท์) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

ค คำนำ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) น้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี 2564 ตลอดจนบริบท และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายใน พื้นที่ เพื่อกำหนดเป็นแนวทางในการดำเนินงาน กศน.อำเภอบางปลาม้า ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางแผนไว้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี โดยความรว่ มมือ และการมสี ่วนรว่ มของ ภาคีเครอื ข่าย และผเู้ ก่ียวข้องร่วมกันระดมความคดิ เห็นโดยนำสภาพ ปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรงุ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ของ กศน.อำเภอบางปลามา้ เพอื่ สนองความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ีอย่างแทจ้ รงิ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) ของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของ บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้บรรลุตาม วัตถปุ ระสงค์และมคี ณุ ภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชนต์ ่อผูม้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งต่อไป ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลามา้ 23 มิถนุ ายน 2564

สารบญั ง ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานเพือ่ การวางแผน หน้า 1.1 ขอ้ มูลพนื้ ฐาน ของ กศน.อำเภอบางปลาม้า 1 1.2 บรบิ ททวั่ ไป ของ กศน.อำเภอบางปลาม้า 2 14 สว่ นที่ 2 นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 17 นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 18 สว่ นท่ี 3 ทิศทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 32 3.1 จดุ แขง็ (Strength) 33 3.2 จดุ ออ่ น (Weakness) 33 3.3 โอกาส (Opportunity) 35 3.4 อปุ สรรค (Threat) 35 3.5 ปรชั ญา /วสิ ัยทศั น์ /พันธกิจ /เป้าประสงค์ 36 3.6 กลยทุ ธ์ 37 38 สว่ นท่ี 4 โครงการ/กิจกรรม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 39 4.1 ตารางบญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม กศน.อำเภอบางปลามา้ 4.2 รายละเอียดตารางบัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/วเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งนโยบาย 42 และมาตรฐานการศึกษา 61 4.3 รายละเอยี ด โครงการ/กจิ กรรม กศน. อำเภอบางปลามา้ 61 1) กลุ่มงานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 61 1.1) โครงการส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 70 1.2) โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น 78 1.3) โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื ไทย 1.4) โครงการนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดำเนินงานตามนโยบายและจดุ เนน้ 84 การดำเนินงาน 89 1.5) โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 94 2) กลุ่มงานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง 94 2.1) โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน 1 อำเภอ 1 อาชีพ 100 2.2) โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชัว่ โมงขึน้ ไป) 2.3) โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน พัฒนาอาชีพระยะส้ัน 107 (กลมุ่ สนใจ ไมเ่ กิน 30 ชัว่ โมง)

สารบัญ (ตอ่ ) จ 2.4) โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต หน้า 2.5) โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 116 2.6) โครงการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 123 3) กลุ่มงานการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 131 3.1) โครงการการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2564 138 3.2) โครงการสง่ เสรมิ การอ่านและพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ในระดับตำบล 138 ประจำปีงบประมาณ 2564 146 4) กลุ่มงานโครงการพิเศษตามนโยบาย 152 152 4.1) โครงการศูนย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน 4.2) โครงการการจัดและสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตเพื่อคงพฒั นาการ 158 164 ทางกาย จติ และสมองของผู้สงู อายุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 4.3) โครงการจิตอาสา ของ กศน.อำเภอบางปลามา้ ภาคผนวก แบบ กศน.กผ.-01 แบบ กศน.กผ.-02 มาตรฐาน กศน. คณะผูจ้ ัดทำ

1 สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐานเพื่อการวางแผน แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของ กศน.อำเภอบางปลาม้า 1.สภาพท่ัวไปของอำเภอบางปลาม้า 1) ประวัติอำเภอบางปลาม้า อำเภอบางปลาม้า ได้ตั้งมาเป็นเวลา 96 ปี สมัยกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นเสนาบดี กระทรวงมหาดไทย มีเจ้าพระยาศรีวิชัยเป็นสมุหเทศาภิบาล พระสมุทรคณานุรักษ์ เป็นข้าหลวงประจำจังหวัด สุพรรณบุรี และนายชติ เป็นนายอำเภอบางปลาม้าคนแรก ทีม่ าของชือ่ อำเภอบางปลามา้ มาจากชื่อปลาม้า ซ่ึงมีชุก ชมุ ในบรเิ วณที่ตัง้ เดิม ซ่งึ อย่ทู างตอนใต้ของตลาดเก้าห้องลงมาจนถึงคงุ้ วงั ตาเพช็ ร บรเิ วณนเ้ี ป็นท่ีลุ่ม น้ำในห้วยบึง ไหลมารวมกันในแม่น้ำ จงึ ทำให้เกิดเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศยั ของปลา มีปลาชุกชุมมาก โดยเฉพาะปลาม้ามีเป็นจำนวน มากกวา่ ปลาชนิดอน่ื จงึ ได้ชือ่ วา่ อำเภอบางปลามา้ ต่อมาพ.ศ. 2442 ได้เกิดเพลิงไหม้ ที่ว่าการอาคารไม้หลังคามุงจาก ประกอบกับอำเภอตั้งอยู่ติดกับ แม่น้ำ ริมตลิ่งถูกน้ำกัดเซาะอยู่ตลอดเวลา จึงย้ายอำเภอมาตั้งใหม่ที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกคราม ในปีพ.ศ. 2504 สมยั นายตอม พรหมมายน เปน็ นายอำเภอ และยงั คงใช้ชอ่ื เดิมมาจนถงึ ปจั จุบัน 2) ทีต่ ้ังอาณาเขต อำเภอบางปลามา้ มพี น้ื ท่ี 481.3 ตารางกิโลเมตร ตัง้ อยู่ท่ที ศิ ใต้ของจังหวดั สุพรรณบุรี ระยะทางห่าง จากจังหวดั 10 กโิ ลเมตร ระยะทางหา่ งจากกรงุ เทพฯ ประมาณ 100 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดนิ สาย 340 ทิศเหนอื ตดิ กบั อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ทศิ ใต้ ติดกบั อำเภอสองพน่ี ้อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ทิศตะวันออก ติดกบั อำเภอผักไห่และอำเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับอำเภอเมอื งสพุ รรณบรุ แี ละอำเภออู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบุรี

3 3) ลกั ษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ดินดี มีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่าน และมีคู คลอง จำนวนมาก เหมาะแก่ การทำการเกษตรกรรม แตใ่ นระหวา่ งชว่ งเดอื น กันยายน – ธนั วาคม ของทกุ ปจี ะมนี ้ำหลาก 4) ลักษณะภมู ิอากาศ ภูมอิ ากาศ ลักษณะเป็นแบบลมมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูรอ้ น ต้ังแตเ่ ดือนกุมภาพนั ธ์ – เมษายน ฤดูฝน ตัง้ แตเ่ ดือนพฤษภาคม – ตุลาคม ฤดูหนาว ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน – กมุ ภาพนั ธ์ 1.2 ดา้ นการปกครอง อำเภอบางปลาม้า มลี ักษณะการปกครองทอ้ งที่ออกเปน็ 14 ตำบล 127 หม่บู ้าน ไดแ้ ก่ 1. โคกคราม (Khok Khram) 8. องครักษ์ (Ongkharak) 2. บางปลามา้ (Bang Pla Ma) 9. จรเขใ้ หญ่ (Chorakhe Yai) 3. ตะค่า (Takha) 10. บา้ นแหลม (Ban Laem) 4. บางใหญ่ (Bang Yai) 11. มะขามลม้ (Makham Lom) 5. กฤษณา (Kritsana) 12. วงั น้ำเยน็ (Wang Nam Yen) 6. สาลี (Sali) 13. วัดโบสถ์ (Wat Bot) 7. ไผ่กองดนิ (Phai Kong Din) 14. วัดดาว (Wat Dao) ท้องที่อำเภอบางปลามา้ ประกอบด้วย องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 18 แหง่ ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลโคกคราม ครอบคลุมพน้ื ท่ีบางส่วนของตำบลโคกคราม 2. เทศบาลตำบลบางปลาม้า ครอบคลมุ พื้นที่บางส่วนของตำบลบางปลาม้า 3. เทศบาลตำบลบ้านแหลมครอบคลมุ พื้นทบ่ี างสว่ นของตำบลบ้านแหลม 4. เทศบาลตำบลไผ่กองดิน ครอบคลมุ พน้ื ทบี่ างสว่ นของตำบลไผก่ องดนิ 5. เทศบาลตำบลตน้ คราม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกคราม (นอกเขตเทศบาลตำบลโคกคราม) 6. เทศบาลตำบลตะค่า ครอบคลุมพน้ื ที่ตำบลตะค่าทัง้ ตำบล 7. เทศบาลตำบลบา้ นแหลมพฒั นา ครอบคลุมพน้ื ที่ตำบลบ้านแหลม (นอกเขตเทศบาลตำบลบา้ นแหลม) 8. องค์การบริหารส่วนตำบลบางปลามา้ ครอบคลมุ พืน้ ท่ตี ำบลบางปลามา้ (นอกเขตเทศบาลตำบลบางปลามา้ ) 9. องค์การบริหารส่วนตำบลบางใหญ่ ครอบคลุมพื้นทต่ี ำบลบางใหญ่ทั้งตำบล 10. องค์การบริหารส่วนตำบลกฤษณา ครอบคลมุ พ้ืนทตี่ ำบลกฤษณาทง้ั ตำบล 11. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลสาลี ครอบคลุมพน้ื ทต่ี ำบลสาลที ้งั ตำบล แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

4 12. องค์การบริหารสว่ นตำบลไผ่กองดนิ ครอบคลมุ พ้นื ทีต่ ำบลไผก่ องดิน (นอกเขตเทศบาลตำบลไผก่ องดนิ ) 13. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลองครักษ์ ครอบคลมุ พ้ืนทีต่ ำบลองครกั ษ์ทัง้ ตำบล 14. องค์การบริหารส่วนตำบลจรเขใ้ หญ่ ครอบคลุมพ้ืนที่ตำบลจรเขใ้ หญ่ทั้งตำบล 15. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลมะขามล้ม ครอบคลุมพ้นื ทตี่ ำบลมะขามลม้ ท้งั ตำบล 16. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวังน้ำเยน็ ครอบคลุมพ้ืนที่ตำบลวังนำ้ เย็นท้ังตำบล 17. องค์การบริหารส่วนตำบลวดั โบสถ์ ครอบคลุมพนื้ ทต่ี ำบลวดั โบสถ์ทงั้ ตำบล 18. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลวดั ดาว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวดั ดาวทง้ั ตำบล 1.3 ด้านประชากร มีประชากร 51,505 คน เป็นชาย 24,611 คน เปน็ หญิง 26,894 คน มีครวั เรือน 18,821 ครวั เรอื น (ทมี่ า : ระบบ จปฐ.ออนไลน์ป2ี 563 กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย http://ebmn.cdd.go.th/) ข้อมูลการปกครองและประชากรอำเภอบางปลาม้า ตำบล ชาย หญงิ รวม ครวั เรือน โคกคราม 2,037 2,190 4,227 1,351 เทศบาลตำบลโคกคราม 533 598 1,151 544 บางปลามา้ 2,142 2,308 4,450 1,462 เทศบาลตำบลบางปลามา้ 671 760 1,431 474 ไผก่ องดิน 1,483 1,566 3,049 1,197 เทศบาลตำบลไผ่กองดนิ 438 471 909 384 บ้านแหลม 1,064 1,252 2,316 709 เทศบาลตำบลบ้านแหลม 301 353 654 302 เทศบาลตำบลตะค่า 1,761 1,911 3,672 1,351 บางใหญ่ 1,377 1,440 2,817 1,130 กฤษณา 1,484 1,547 3,031 884 สาลี 1,860 2,106 3,966 1,587 องครักษ์ 1,815 2,020 3,835 1,347 จรเข้ใหญ่ 1,701 1,789 3,490 1,171 มะขามลม้ 1,632 1,843 3,475 1,313 วงั น้ำเยน็ 763 846 1,609 975 วดั โบสถ์ 1,464 1,614 3,078 1,163 วัดดาว 2,065 2,280 4,345 1,477 รวม 24,591 26,894 51,505 18,821 (ท่มี า : ระบบ จปฐ.ออนไลน์ป2ี 563 กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย http://ebmn.cdd.go.th/) แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี

5 1.4 ด้านการศึกษา 1. สถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 1 แหง่ 2. สถานศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษา จำนวน 3 แห่ง 3. สถานศึกษาระดบั ประถมศึกษา จำนวน 54 แห่ง 4. ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ จำนวน 20 แหง่ 5. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 1 แหง่ จำนวนข้อมูลด้านการศึกษาของประชากร การศึกษา เพศชาย เพศหญงิ รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ไม่เคยศึกษา 620 1.20 775 1.50 1,395 2.71 อนุบาล/ศนู ยเ์ ด็กเล็ก 702 1.36 659 1.28 1,361 2.64 ต่ำกวา่ ช้ันประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 634 1.23 720 1.40 1,354 2.63 ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 12,281 23.84 14,599 28.34 26,880 52.19 ม.ตน้ (มศ.1-3 หรอื ม.1-3) 4,855 9.43 3,911 7.59 8,766 17.02 ม.ปลาย (มศ.4-5 หรือ ม.4-6 หรอื ปวช.) 2,974 5.77 2,866 5.56 5,840 11.34 อนปุ ริญญา หรอื เทยี บเทา่ หรือ ปวส. 862 1.67 710 1.38 1,572 3.05 ป.ตรี หรือเทยี บเท่า 1,565 3.04 2,501 4.86 4,066 7.89 สูงกว่าปริญญาตรี 118 0.23 153 0.30 271 0.53 รวม 24,611 47.78 26,894 52.22 51,505 100.00 (ทีม่ า : ระบบ จปฐ.ออนไลน์ปี2563 กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย http://ebmn.cdd.go.th/) 1.5 ดา้ นการสาธารณสขุ 1. โรงพยาบาลประจำอำเภอ 1 แหง่ 2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ คุณภาพ จำนวน 18 แหง่ 1.6 ด้านศาสนา วัฒนธรรม เทศกาลประเพณี/เศรษฐกิจ/อาชพี ด้านศาสนา วฒั นธรรม เทศกาลประเพณี มีวดั ทางพระพุทธศาสนา จำนวน 75 แห่ง และ วัฒนธรรม เทศกาลประเพณี ดงั นี้ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบุรี

6 จำนวนข้อมูลดา้ นการนับถอื ศาสนาของประชากร เพศชาย เพศหญงิ รวม ศาสนา จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ พทุ ธ 24,588 47.74 26,860 52.15 51,448 99.89 คริสต์ 19 0.04 24 0.05 43 0.08 อิสลาม 3 0.01 6 0.01 9 0.02 ซิกส์ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 ฮินดู 0 0.00 0 0.00 0 0.00 อ่ืนๆ 1 0.00 4 0.01 5 0.01 รวม 24,611 47.78 26,894 52.22 51,505 100.00 (ทมี่ า : ระบบ จปฐ.ออนไลน์ปี2563 กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย http://ebmn.cdd.go.th/) ประเพณีทำบญุ วันขึน้ ปีใหม่ ประเพณีทีส่ ำคัญ บรเิ วณริมเขอื่ นหน้าทวี่ ่าการอำเภอ ประเพณีทำบุญวันขน้ึ ปีใหม่ อำเภอบางปลามา้ บางปลามา้ จัดใหม้ ีการทำบุญวนั ข้ึนปีใหม่ ในวนั ที่ 1 มกราคม ของทกุ ปีโดยมีการ นมิ นต์พระรับบิณฑบาตขา้ วสารอาหารแห้งจากประชาชนในเขตอำเภอ ประเพณแี ขง่ ขันเรอื ยาว บางปลาม้า บรเิ วณริมเข่ือนหน้าทว่ี า่ การอำเภอบางปลาม้า ชงิ ถว้ ยพระราชทานฯ ประเพณีแข่งขนั เรอื ยาวชงิ ถ้วยพระราชทาน ณ ลำนำ้ ท่าจีนหน้าวัดสวนหงส์ เปน็ การแข่งขนั เป็นเรือยาวที่ชนะการแข่งขนั จากสนามทั่วประเทศมา หมทู่ ี่ 8 ตำบลบางปลามา้ แลว้ เข้าร่วมการแขง่ ขันชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จะแขง่ ขันในสปั ดาห์ท่ี 3 ของเดือนพฤศจิกายน ประเพณบี ุญบั้งไฟชาวไทยพวน ของทุกปี ณ ลำน้ำท่าจนี หน้าวดั สวนหงส์ หมทู่ ี่ 8 ตำบลบางปลาม้า ณ เทศบาลตำบลบางปลามา้ ประเพณบี ุญบั้งไฟชาวไทยพวน เป็นประเพณชี าวไทยพวนเปน็ การ (บา้ นเกา้ ห้อง) ประกวดแข่งขนั บ้งั ไฟของหมู่บ้านชาวไทยพวนที่อยู่ในอำเภอบางปลามา้ เพื่อการสนุกสนาน สามัคคี และเปน็ การอนุรกั ษป์ ระเพณีของชาวไทย ประเพณีตักบาตรกลางน้ำ พวนซึ่งจะจดั เปน็ ประจำทุกปี ในชว่ งวนั ท่ี 11-13 เมษายน วดั ปา่ พฤกษ์ ตำบลบ้านแหลม ณ เทศบาลตำบลบางปลาม้า(บา้ นเก้าห้อง) ตำบลบางปลาม้า ประเพณตี กั บาตรกลางนำ้ ประเพณีตักบาตรกลางน้ำจะมีข้ึนในแรม12 คำ่ เดอื น 12 มีชาวบ้านมารว่ มกนั ตกั บาตรขา้ วสาร อาหารแห้ง มีราษฎรใน ตำบลและตำบลใกล้เคยี งมาร่วมตกั บาตรในตอนเช้าประมาณ 6 โมงเช้า มพี ระสงฆ์พายเรอื มาจากหลายวัดมารบั บิณฑบาตโดยจดั ใส่บาตรทแ่ี พหน้า วดั ปา่ พฤกษ์ เสรจ็ มกี ารแข่งขันกฬี าฟุตบอลเยาวชนแตล่ ะหมู่บ้าน แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

7 สถานทสี่ ำคัญ วัดสวนหงส์ วัดสวนหงส์ เปน็ วัดท่เี กา่ แก่ ชาวบ้านใหค้ วามศรัทธาและเลอ่ื มใส หมทู่ ่ี 8 ตำบลบางปลาม้า ซึง่ มีพระครูคุณารักษ์ (หลวงพ่อปลืม้ )เปน็ เจ้าอาวาส เปน็ พระเกจิ อาจารย์ด้านพระพุทธคุณทช่ี าวอำเภอบางปลามา้ และใกลเ้ คียง ให้ความเคารพนบั ถือศรัทธาในตวั พระคุณท่าน วัดอานบา้ นบางแม่หมา้ ย ตำบลบางใหญ่ วดั อาน มหี ลวงพ่อจนั ทรังษีเป็นท่ีสักการะของประชาชนท่ัวไป วดั ดอกบวั วัดดอกบวั เปน็ วดั ทเี่ ปน็ ที่ตัง้ ของห้องสมุดเจดยี ์ หมู่ที่ 5ตำบลโคกคราม ที่สวยงามและมีหนังสอื ท่ีน่าสนใจเป็นจำนวนมาก วดั บางเลน หมู่ 1 วดั บางเลน เป็นวดั ท่ีมีอโุ บสถ์สวยงาม มพี ระทเ่ี ป็นท่เี คารพนบั ถือ ตำบลกฤษณา ของชาวบา้ นอยหู่ ่างจากจังหวัดประมาณ 24 กม. ภายในบริเวณวัด มีคา้ งคาวแมไ่ กอ่ ยเู่ ป็น จำนวนมากอาศยั เกาะอยตู่ ามต้นไม้ อทุ ยานมจั ฉา วัดป่าพฤกษ์ อทุ ยานมจั ฉาวัดป่าพฤกษ์ ทีห่ น้าวดั ปา่ พฤกษ์มีปลาธรรมชาติที่ทางวัดสงวน หมู่ 3 ตำบลบ้านแหลม พันธ์ปุ ลาไว้ ไมใ่ ห้บุคคลใดมาจับปลาและทางวัดได้ให้อาหารเพ่ือทำเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวใหป้ ระชาชนได้มาพักผ่อนหย่อนใจ มพี ันธ์ปุ ลามากมายหลายชนดิ โดยเฉพาะปลาสวายตวั ละหลายกิโลกรัม ประมาณหลายร้อยตวั และปลา อืน่ ๆ รวมหลายพันตัว มนี กั ทอ่ งเทยี่ วมากมายหลายพ้นื ที่มาเท่ียว วังมัจฉา วัดสาลี วงั มจั ฉา วัดสาลี เปน็ อุทยานมัจฉา มีปลามากมาย หมู่ 2 ตำบลสาลี บรเิ วณคลองหนา้ วดั เชน่ ปลาสวย ปลากราย ปลาเทโพ เป็นต้น วัดวังน้ำเยน็ วัดวงั นำ้ เยน็ เปน็ วดั เกา่ แก่ของตำบลวังน้ำเย็น เป็นท่ตี ัง้ หมู่ 2 ตำบลวงั น้ำเยน็ ของศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กวงั นำ้ เยน็ เปน็ แหล่งรวมของชาวบา้ น ดา้ นเศรษฐกิจ 1. ขา้ วนาปี พน้ื ท่ี 171,700 ไร่ ผลผลิตเฉลีย่ 850 กก./ไร่ 2. ไม้ผล/ไม้ยนื ตน้ 5,816 ไร่ 3. พืชผัก 1,006 ไร่ 4. ทำการเกษตร 213,381 ไร่ 5. ไมด้ อกไม้ประดับ 85 ไร่ 6. มี 3 ธนาคาร ไดแ้ ก่ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรธนาคารออมสนิ และ ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา 7 โรงสขี ้าว จำนวน 29 แห่ง 8. โรงเล่อื ยจักร จำนวน 4 แหง่ 9. โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก จำนวน 6 แหง่ 10. พนื้ ที่เกษตรกรรม จำนวน 182,872 ไร่ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสพุ รรณบุรี

8 จำนวนขอ้ มูลดา้ นการประกอบอาชพี ของประชากร เพศชาย เพศหญิง รวม อาชพี จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ กำลังศกึ ษา 4,389 8.52 4,280 8.31 8,669 16.83 ไม่มีอาชีพ 1,589 3.09 2,691 5.22 4,280 8.31 เกษตร-ทำนา 4,654 9.04 4,128 8.01 8,782 17.05 เกษตร-ทำไร่ 65 0.13 56 0.11 121 0.23 เกษตร-ทำสวน 118 0.23 137 0.27 255 0.50 เกษตร-ประมง 374 0.73 317 0.62 691 1.34 เกษตร-ปศุสัตว์ 88 0.17 81 0.16 169 0.33 พนักงาน-รับราชการ 596 1.16 810 1.57 1,406 2.73 พนกั งาน-รัฐวิสาหกิจ 66 0.13 70 0.14 136 0.26 พนักงานบริษทั 397 0.77 521 1.01 918 1.78 รับจา้ งทั่วไป 9,596 18.63 9,611 18.66 19,207 37.29 คา้ ขาย 1,269 2.46 2,028 3.94 3,297 6.40 ธรุ กิจสว่ นตวั 455 0.88 404 0.78 859 1.67 อาชพี อนื่ ๆ 955 1.85 1,760 3.42 2,715 5.27 รวม 24,611 47.78 26,894 52.22 51,505 100.00 (ท่มี า : ระบบ จปฐ.ออนไลนป์ ี2563 กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย http://ebmn.cdd.go.th/) 1.7 ดา้ นการคมนาคม ทางบก 1. ทางหลวงแผ่นดนิ สายสพุ รรณ – บางบวั ทอง (สาย 340) 2. ทางหลวงแผ่นดินสายสพุ รรณ – บางลี่ 3. ทางหลวงแผน่ ดนิ สายเกา้ หอ้ ง - ดอนแจง 4. ทางหลวงชนบท 5. ถนนลกู รงั ตดิ ต่อระหวา่ งตำบลและหม่บู ้าน ทางเรอื มบี างหมบู่ ้านใชเ้ รือพายติดตอ่ ระหว่างหมู่บ้าน ไมม่ ที ่าเรอื สำคัญ ทางอากาศ ไมม่ ี แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบุรี

9 1.8 ด้านการทอ่ งเที่ยว 1) หมบู่ า้ นบางแมห่ ม้าย อยู่ที่ตำบลบางใหญ่ อำเภอบางปลามา้ เป็นหนงึ่ ในหม่บู ้าน OTOP เพ่ือการทอ่ งเที่ยว หม่บู า้ นบางแมห่ ม้ายเปน็ ชุมชนเกา่ แก่อายุนับร้อย ปี อยใู่ นบริเวณพ้ืนที่ราบลุ่มทางตอนใตข้ องเมืองสุพรรณบรุ ี ในเขตอำเภอบางปลาม้า กลมุ่ บา้ นทรงไทยโบราณกว่า 100 หลัง ล้อมรอบด้วยธรรมชาติและบรรยากาศของชนบท ท้องทุ่ง และคลองบางแม่หม้าย เป็นสถานที่ท่ี ยังคง รูปแบบและวิถีชีวิตด่ังเดิมของอดีต ที่นา่ ชมและ นา่ สัมผสั กับความเป็นอยู่ของคนในชนบท บ้านบางแมห่ ม้าย ภาพ วิถีชวี ิตริมคลอง ทีร่ ายลอ้ มด้วยท้องทุ่งนาและทิวตน้ ตาลยาวสดุ ลูกหูลูกตา กจิ กรรมการท่องเทียว น่ังเรอื ชมวิถีชีวิต รมิ คลองบางแมห่ ม้าย นงั่ รถอแี ตน๋ ชมท้องทงุ่ ขจี่ ักรยานชมบรรยากาศของชมชนและบ้านทรงไทยโบราณ ยอ้ นอดีต บ้านทรงไทย กับวิถีชีวิตริมคลองและท้องทุ่งเมืองสุพรรณบุรี เป็นหมู่บ้านเก่าแก่มาแต่โบราณมีอายุประมาณ 300 ปี สมัยก่อนบริเวณนี้เป็นชุมชนใหญ่และมีความเจริญรุ่งเรืองด้านวัฒนธรรม ประเพณีมาเก่าแก่ดั้งเดิมเพราะ มีวัด ร้างอยู่ในปัจจุบันถึง 7 วัด ชื่อบ้านบางแม่หม้าย มีประวัติที่เล่าต่อๆ มีสองเรื่องราว 1) ในประวัติศาสตร์ไทยสมัย โบราณ ชายไทยต้องออกรบเพื่อปกป้องบ้านเมือง ทำให้เสียชีวิตเป็นเป็นจำนวนมาก ทำให้ภรรยาต้องเป็นหม้าย 2) นยิ ายประรำประรา เล่าว่า ในหมบู่ า้ นมีสองสาวงามท่ีมีความสวยงามเป็นที่เล่ืองลอื และมีหนุ่มสองพน่ี ้องจากต่าง บ้านไดม้ าสขู่ อแต่งงาน แตร่ ะหว่างการเดินทางขบวนขันหมากแหม่ าทางน้ำ โดยเรอื สำเภาไดเ้ กดิ ล่มระหว่างทางทำ ให้ชายหนุ่มทั้งสองเสียชีวิต สองสาวงามจึงได้บวชชีเพราะเป็นหม้ายขันหมากและแสดงถึงความรักเดียวใจเดียว เปน็ ท่กี ลา่ วขานรำ่ ลือ จึงไดช้ ื่อวา่ บ้านบางแมห่ ม้ายจนถึงปจั จบุ ัน การเดนิ ทางจากกรุงเทพฯ ใชเ้ ส้นทางบางบัวทอง ถนนกาญจนาภิเษก (9) แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 340 มุ่งหน้าสุพรรณบุรี เลี้ยวซ้ายแยกวัดไผ่โรงวัว (เส้นทาง หมายเลข 3422) เลีย้ วขวาเข้าเส้นทางหมายเลข 3351 ประมาณ 10 กิโลเมตร 2 ) ตลาดเก้าห้อง หมู่ที่ 2 ตำบลบางปลาม้า อำเภอบางปลาม้า เป็นตลาดห้องแถวเก่าแก่ ตั้งอยู่ริม ฝัง่ แมน่ ้ำทา่ จนี อายุประมาณ 100 ปี สรา้ งประมาณต้น รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ปัจจุบัน ตั้งอยู่ ในเขตเทศบาลตำบล บางปลาม้า หมู่ที่ 2 ตำบล บางปลาม้า อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จาก เอกสารที่มีผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติตลาดเก้าห้อง และจากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุ คำว่า “ตลาดเก้าห้อง” น่าจะ นำมาจากชอื่ ของบา้ นเก้าห้อง ซ่ึงเป็นบ้านโบราณมีประวัตสิ บื ทอดมายาวนาน ตลาดเกา้ หอ้ งเลา่ กันวา่ สรา้ งขนึ้ โดย ชาวจีนคนหนึ่งชื่อ “นายฮง” อพยพมาจากกรุงเทพฯ มาทำมา ค้าขายอยู่บริเวณละแวกบ้านเก้าห้อง กิจการค้า รุ่งเรอื งดี ในราว พ.ศ. 2424 ได้แต่งงานกบั “นางแพ” ซงึ่ เป็นหลานสาวของขุนกำแหงฤทธ์แิ หง่ บา้ นเก้าห้อง และได้ ประกอบอาชีพค้าขายที่แพซึ่งสร้างขึน้ ไว้ 1 หลัง จอดอยู่ริมน้ำหน้าบ้านเก้าห้อง ซึ่งในสมัยก่อนเป็นย่านค้าขายที่มี เรอื นแพขายของสองฝั่งแม่นำ้ นายฮง หรือที่ชาวบา้ นมักนิยมเรียกว่า “เจก๊ -รอด” ทำการค้าขายสินค้าทุกประเภท โดยเฉพาะเครื่องบวช เครื่องมืออปุ กรณ์ทำนาและเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคท้งั หลายจนร่ำรวยและรู้จักกันในนามต่อมา ว่า “ นายบุญรอด เหลยี งพานชิ ” ในปี พ.ศ. 2467 โจรได้ปล้นแพของนายบุญรอด และได้ทำการประทุษร้ายนางแพจนถึงแก่กรรม หลังจากนั้นไม่นานนายบุญรอดได้สมรสกับ นางส้มจีน นายบุญรอดเริ่มวางแผนผังและสร้างตลาดบริเวณฝั่งตรง ข้ามบ้านเก้าห้อง โดยโยกย้ายแพทั้งหลายขึ้นไปค้าขายบนบกคือในตลาด เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าขายทางน้ำใ น บริเวณนั้น และเปิดการค้าทางบกมากขึ้นและนำชื่อบ้านเก้าห้องมาเป็นชื่อตลาด คือ “ตลาดเก้าห้อง”ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 นายบุญรอดได้สร้างป้อม ซึ่งกว้างประมาณ 4 เมตร ยาวประมาณ 4 เมตร มี 5 ชั้น ชั้นบนสุดเป็น แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสพุ รรณบุรี

10 ดาดฟ้า แต่ละชั้น บริเวณฝาผนังของทุกด้านมีรูกลมโต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 นิ้ว โดยมีพระยารามราชภักดี เจ้าเมืองสุพรรณบุรีในสมัยนั้นมาเป็นผู้ทำพิธีเปิด เหตุที่สร้างป้อมขึ้นมาเพราะในระยะนั้นพวกโจรหรือที่เรียกว่า “เสือ” หลายคนออกปล้นฆ่าตามริมน้ำท่าจีนเสมอ จึงได้สร้างป้อมไว้สังเกตการณแ์ ละมีการเตรยี มการป้องกนั การ ปล้นสะดมของเสือทง้ั หลายดว้ ย ถ้าเสอื มาคนจะขนึ้ ไปประจำอยู่ในป้อมตามชั้นตา่ งๆ เอาปนื สอ่ งยงิ ตามรทู ั้ง 4 ดา้ น ของป้อม เพื่อต่อสู้กับเสือที่มาปล้น และจากคำบอกเล่าว่าในสมัยสงครามโลก เวลากลางคืนจะมียามขึ้นไปคอย สังเกตการณ์บนป้อม ถ้ามีเครื่องบินบินมาก็จะส่งสัญญาณให้คนในตลาดหรี่ หรือดับตะเกียงเพื่อไม่ให้เครื่องบิน มองเหน็ ไป จะไดไ้ มท่ ิง้ ระเบิดลงมา 1 ในอดีตตลาดเก้าห้องนอกจากจะเป็นศูนย์กลางการค้าขายแล้วยังเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางน้ำ ที่สำคัญ ผู้คนจากพื้นที่ใกล้เคียงที่จะเดินทางหรือไปทำการค้าขายในตัวเมืองสุพรรณบุรี และกรุงเทพฯ จะต้องมา ลงเรือโดยสารที่ตลาดเก้าห้อง เพราะสมัยก่อนหนทางยังไม่เจริญ จึงต้องใช้การคมนาคมทางน้ำ เป็นหลัก ในสมัย เมื่อผู้เขียนเป็นเด็กยังเคยเห็นคนขี่ม้าเข้ามาในตลาดเก้าห้อง เพื่อมาลงเรือโดยสารเข้ากรุงเทพฯสภาพในอดีตของ ตลาดเก้าห้องที่เป็นศูนย์กลางการค้าขายและศูนย์กลางการคมนาคมทางน้ำนับวันแต่จะหายไป เนื่องจากการ คมนาคมเจริญมากขึ้น ถนนเข้ามาแทนที่แม่น้ำ ตลาดเก้าห้องก็ยังเป็นชุมชนริมน้ำที่ใช้ชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่าย พึง่ พาอาศัยเออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่ซึ่งกันและกัน ยงั รกั ษาเอกลกั ษณ์ประเพณวี ฒั นธรรมอันดีไว้ แม้กาลเวลาจะล่วงเลยผ่าน ไปแต่ตลาดเก้าห้องยังคงยืนหยัดตระหง่านอยู่คู่แม่น้ำท่าจีน ตลาดเก้าห้อง ในปัจจุบัน อาจจะไม่คึกคักเหมือนใน สมัยโบราณแล้ว แตก่ ย็ งั คงเก็บรักษาสถาปัตยกรรมและส่งิ ปลูกสร้างต่าง ๆ เทา่ ท่ีพอจะรักษาไว้ได้ ให้คนรุ่นหลังได้ เข้าไปชมและศึกษาประวัติศาสตร์ของไทยจากสถานที่จริงๆ การเดินทางมายัง ตลาดเก้าห้อง ร้อยปีจากตัวเมือง สุพรรณบุรี ใช้เส้นทางสุพรรณบุรี- บางแม่หม้ายประมาณ 9 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าตลาดเก้าห้อง นอกจากนี้ ยังมีรถประจำทางสายสุพรรณฯ – เก้าห้อง มาลงที่ตลาดเก้าห้อง ตลาดจะเปิดตลาดเพียงวัน เสาร์ อาทิตย์และวันหยุดนกั ขตั ฤกษต์ ่างๆ ประมาณเวลา 9.00 – 16.00 น.เท่านัน้ 1.9 ด้านแหล่งเรียนรใู้ นชุมชน 1. โรงเรียนชาวนาบา้ นโพธ์ิศรี หมู่ที่ 12 อยู่ท่ีบ้านโพธิศ์ รี ตำบลบางปลามา้ เรียนรูเ้ รอ่ื ง เกษตรธรรมชาติในการลดต้นทนุ การผลติ การทำน้ำหมักชวี ภาพสตู รตา่ งๆ หลกั การบรหิ ารศตั รูพชื 2. โรงเรียนชาวนาบา้ นดอนกลาง หมู่ 10 ตำบลวัดดาว เรยี นรู้เรอื่ ง เกษตรธรรมชาติในการลดตน้ ทนุ การผลิต การทำนำ้ หมักชีวภาพสูตรตา่ งๆ หลกั การบรหิ ารศัตรพู ชื 3. ศูนย์เกษตรอินทรยี ์ บ้านบางแมห่ มา้ ย หมู่ 2 ตำบลบางใหญ่ เรยี นรูเ้ รือ่ งการทำปุ๋ยอัดเม็ดชีวภาพ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

11 1.10 ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญช์ าวบ้าน ชอื่ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ท่อี ยู่ 1.นางดารณี วงษ์จันทร์ จกั สานผลติ ภัณฑ์ตา่ งๆ หมู่ 12ตำบลบางปลามา้ 2.นางลำดวน อภเิ ดช การทำขนมหวาน /ขนมไทย 57 หมู่ 9 ตำบลโคกคราม 3.นายสมยั ศรที องอินทร์ การทำเกษตรอนิ ทรยี ์ หมทู่ ี่ 4 ตำบลบางใหญ่ 4.นางทุเรียน ศรีเพียงจนั ทร์ การทำเกษตรอินทรยี ์ 134/3 หมู่ที่ 3ตำบลกฤษณา 5.นายเฉลา นิลวรรณ เกษตรกรรม 24/1 หมทู่ ่ี 12 ตำบลบางปลาม้า 6.นางสาวสายร้งุ ศรหี ริ ัญ งานศลิ ปะประดษิ ฐ,์ จัดดอกไม้ 44 หมทู่ ี่ 2 ตำบลตะคา่ 7.นางทองหล่อ ปาละกะวงศ์ การทำอาหารวา่ ง 22 หมู่ 9 ตำบลมะขามลม้ 8.นางวงเดอื น จันทกิจ การทำขนมไทย บ้านลำบวั หมู่ 3 ตำบลจรเขใ้ หญ่ 9.นางถวิล ใกล้บุปผา การทำน้ำพริก 23/1 หมู่ 6 ตำบลมะขามลม้ 10.นายจอม บญุ ลำ้ การทำเกษตรผสมผสาน 67 หมู่ 5 ตำบลวงั น้ำเย็น 11.นางสาวเพ็ญแข นำ้ ทบั ทิม การทำขนมหวาน/ศิลปะประดษิ ฐ์ 38 หมู่ 7 ตำบลบางใหญ่ 12.นายประสงค์ บรุ ุษชาติ การแปรรูปสมนุ ไพร 117 หมู่ 9 ต.วดั โบสถ์ 13.นางพุ่ม เจริญผล ศลิ ปะประดิษฐ์ /หัตถกรรม 19 หมู่ 7 ตำบลไผก่ องดิน 14.นางโปรง่ ใจ พันธเ์ ณร ศิลปะประดษิ ฐ์ /หัตถกรรม 9 หมู่ 10 ตำบลโคกคราม 15.นางมาลี เล็กจินดา การถนอมอาหาร 65/4 หมู่ที่ 1 ตำบลสาลี 16.นางสาวสมลกั ษณ์ จันทร์ตรี งานประดิษฐ์ดอกไม้ 132 หมู่ 5 ตำบลไผ่กองดนิ 17.นางประจวบ วงษบ์ ัณฑติ การทำขนมกง 84 หมู่ 4 ตำบลวงั น้ำเยน็ 18.นางบงั อร ปาละพันธ์ การทำไสก้ รอก – แหนมหมู หมู่ 2 ตำบลกฤษณา 19.นางสงั วาลย์ จิตชุ่ม ศลิ ปะประดษิ ฐ์ /หตั ถกรรม 25 ม.5 ตำบลสาลี 20.นางกาเหวา่ เทพณรงค์ การจกั สานไมไ้ ผ่ /หวาย 170/1 หมู่ 1 ตำบลบา้ นแหลม แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบุรี

12 1.11 ด้านภาคีเครอื ข่าย ท่ตี ้ัง / ที่อยู่ หมทู่ ี่ 3 ตำบลไผ่กองดิน ชื่อภาคเี ครอื ขา่ ย หมทู่ ี่ 3 ตำบลบางใหญ่ โรงเรยี นวดั ชอ่ งลม หมู่ท่ี 4 ตำบลมะขามล้ม โรงเรียนบางแมห่ มา้ ย “รัฐราษฏร์รังสฤษดิ์” หมูท่ ่ี 5 ตำบลโคกคราม โรงเรยี นหรรษาสจุ ติ ตว์ ิทยา 2 หมู่ที่ 4 ตำบลบางใหญ่ โรงเรยี นบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 หมู่ที่ 3 ตำบลวัดดาว องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบางใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลวัดโบสถ์ องค์การบริหารส่วนตำบลวดั ดาว หมทู่ ่ี 5 ตำบลกฤษณา องค์การบริหารสว่ นตำบลวดั โบสถ์ หมู่ที่ 4 ตำบลมะขามล้ม องค์การบรหิ ารส่วนตำบลกฤษณา หมทู่ ่ี 2 ตำบลวงั น้ำเย็น องค์การบรหิ ารส่วนตำบลมะขามล้ม หมู่ที่ 2 ตำบลจรเขใ้ หญ่ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวงั น้ำเยน็ หมู่ที่ 1 ตำบลองครกั ษ์ องค์การบริหารสว่ นตำบลจรเข้ใหญ่ หมูท่ ่ี 5 ตำบลบางปลาม้า องค์การบริหารส่วนตำบลองครกั ษ์ หมทู่ ่ี 1 ตำบลไผก่ องดนิ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบางปลามา้ หมู่ที่ 2 ตำบลสาลี องค์การบริหารสว่ นตำบลไผก่ องดิน หมทู่ ่ี 2 ตำบลโคกคราม องค์การบรหิ ารส่วนตำบลสาลี หมทู่ ี่ 5 ตำบลโคกคราม เทศบาลตำบลต้นคราม หมู่ท่ี 3 ตำบลไผ่กองดิน เทศบาลตำบลโคกคราม หมทู่ ่ี 7 ตำบลบางปลามา้ เทศบาลตำบลไผ่กองดนิ หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านแหลม เทศบาลตำบลบางปลาม้า หมูท่ ี่ 2 ตำบลบา้ นแหลม เทศบาลตำบลบ้านแหลมพัฒนา หมู่ที่ 2 ตำบลตะคา่ เทศบาลตำบลบ้านแหลม หมู่ที่ 4 ตำบลโคกคราม เทศบาลตำบลตะค่า หมู่ท่ี 4 ตำบลตะคา่ วดั ดอกบัว หมทู่ ี่ 1 ตำบลบ้านแหลม วัดเจา้ ขาว หมทู่ ่ี 4 ตำบลบางปลามา้ วดั ใหมพ่ ณิ สุวรรณ หม่ทู ี่ 2 ตำบลบางปลาม้า วัดบา้ นด่าน หมู่ท่ี 6 ตำบลโคกคราม วัดบ้านสตู ร หมทู่ ่ี 5 อำเภอบางปลามา้ วดั กลาง หมทู่ ่ี 5 อำเภอบางปลามา้ สถานตี ำรวจภธู ร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางปลามา้ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

13 ช่ือภาคเี ครอื ข่าย ทต่ี งั้ / ที่อยู่ วดั ดาว หมทู่ ี่ 4 ตำบลวดั ดาว โรงพยาบาลสุขเสริมสขุ ภาพตำบลบางใหญ่ หมทู่ ่ี 2 ตำบลบางใหญ่ โรงพยาบาลสขุ เสรมิ สุขภาพบ้านดอนขาด หมทู่ ่ี 3 ตำบลวดั โบสถ์ โรงพยาบาลสขุ เสรมิ สุขภาพตำบลกฤษณา หมู่ท่ี 3 ตำบลกฤษณา โรงพยาบาลสขุ เสริมสขุ ภาพตำบลองครักษ์ หมู่ท่ี 2 ตำบลองครกั ษ์ โรงพยาบาลสุขเสริมสขุ ภาพตำบลสาลี หมู่ที่ 2 ตำบลสาลี โรงพยาบาลสขุ เสริมสุขภาพตำบลวัดโบสถ์ หมทู่ ี่ 9 ตำบลวัดโบสถ์ โรงพยาบาลสุขเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหลม หมทู่ ่ี 5 ตำบลบา้ นแหลม โรงพยาบาลสุขเสริมสขุ ภาพตำบลบางปลามา้ หมูท่ ี่ 2 ตำบลบางปลาม้า โรงพยาบาลสขุ เสริมสขุ ภาพตำบลวดั ดาว หมทู่ ่ี 4 ตำบลวดั ดาว โรงพยาบาลสุขเสรมิ สุขภาพตำบลจรเข้ใหญ่ หมทู่ ี่ 2 ตำบลจรเข้ใหญ่ โรงพยาบาลสขุ เสรมิ สขุ ภาพตำบลมะขามลม้ หมู่ท่ี 3 ตำบลมะขามล้ม โรงพยาบาลสุขเสริมสุขภาพตำบล บ้านสามัคคีธรรม หมู่ที่ 4 ตำบลองครกั ษ์ โรงพยาบาลสุขเสริมสขุ ภาพตำบล บา้ นราษฎร์บูรณะ หมู่ท่ี 6 ตำบลกฤษณา โรงพยาบาลสขุ เสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นเสาธงทอง หมทู่ ่ี 6 ตำบลสาลี แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

14 บรบิ ททวั่ ไปของ กศน.อำเภอบางปลามา้ ช่อื สถานศึกษา : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางปลามา้ ที่อยู่ : ศูนย์ราชการอำเภอบางปลาม้า หมู่ที่ 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลาม้า จังหวดั สุพรรณบุรี รหัสไปรษณยี ์ 72150 เบอร์โทรศพั ท์ : 035 - 586415 โทรสาร: 035-586415 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] Location ละติจูด 14.401864 ลองติจูด 100.154118 ห่างจากโรงเรียนในระบบ 1 กโิ ลเมตร กรรมสิทธิ์ของพน้ื ที่ กศน. ลักษณะสถานที่ มอี าคารหรอื ห้องเป็นสดั สว่ น เวบ็ ไซต์ http://suphan.nfe.go.th/5/ Fanpage Fackbook https://www.facebook.com/bangplamaNFE/ สังกดั : สำนกั ส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสุพรรณบุรี สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ประวัติความเปน็ มาของสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า เป็นสถานศึกษาใน ราชการส่วนกลาง สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(เดิมคือสำนักบริหาร งานการศึกษาโรงเรียนและกรมการศึกษานอกโรงเรียน) ได้รับจัดตั้งโดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ.2536 และกรมการศึกษานอกโรงเรียนได้มีคำสั่งแต่งตั้ง นายสมพงษ์ เคนเผ่าพงษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ 2 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวดั สุพรรณบุรี มาปฏิบัติราชการในหน้าที่ผู้บริหารเป็นต้นมา โดยใช้อาคารห้องสมดุ ประชาชนอำเภอบางปลาม้าเป็นทีป่ ฏบิ ัติงาน ต่อมาในปีงบประมาณ 2543 ได้รับการจัดสรร งบประมาณก่อสร้างอาคารอำนวยการเป็นอาคารคอนกรีตสองชั้น และในปี พ.ศ. 2545 ได้มีคำสั่งแต่งตั้ง นายชชู พี เปลง่ อารมณ์ ดำรงตำแหนง่ ผู้บรหิ าร จนกระทัง่ ในปี พ.ศ.2548 นายมนตรี ศรีบัวทอง ได้รบั การแต่งต้ังให้ มาดำรงตำแหน่งผู้บริหาร จนถึงปี พ.ศ.2552 สำนักงาน กศน.ได้แต่งตั้งโยกย้ายสับเปลี่ยนผู้บริหารโดยให้ นายสมพงษ์ เคนผาพงษ์ มาดำรงตำแหนง่ ผูบ้ รหิ ารและเกษียณราชการในเดือนกันยายน 2556 ในการน้สี ำนักงาน กศน.ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้นายชูชีพ เปล่งอารมณ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองสุพรรณบุรี รักษาการในตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางปลาม้า เมอ่ื วนั ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 นางบุญปลูก สัจจะเวทะ ไดร้ ับการแต่งต้ัง ให้มาดำรงตำแหน่งผู้บริหารและเกษียณราชการในเดือนกันยายน 2562 จนกระทั่งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2563 นางสมควร วงษ์แกว้ ได้รบั การแต่งต้งั ใหม้ าดำรงตำแหน่งผ้บู ริหารจนถึงปจั จบุ นั แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี

15 บทบาทและภารกิจของ กศน.อำเภอ อำนาจและหน้าที่ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 เรื่อง การกำหนด อำนาจหน้าทขี่ องสถานศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอ มอี ำนาจและหนา้ ท่ดี ังน้ี 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. ส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครอื ข่ายเพอื่ จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั 3. ดำเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสรา้ งความมน่ั คงของชาติ 4. จัดสง่ เสรมิ สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ในพ้นื ท่ี 5. จัด สง่ เสรมิ สนับสนนุ พฒั นาแหล่งเรยี นรู้และภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น 6. วิจยั และพฒั นาคุณภาพหลกั สตู ร สือ่ กระบวนการเรยี นรแู้ ละมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 7. ดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี น การเทยี บโอนความร้แู ละประสบการณ์ 8. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจดั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ดำเนินการประกนั คุณภาพภายใน ให้สอดคลอ้ งกบั ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการทกี่ ำหนด 12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย คณะกรรมการสถานศกึ ษา กศน.อำเภอ 1.นายณัฐวฒุ ิ แสงดาว ประธานกรรมการ 2. นายเชาว์ นวมทอง กรรมการ 3. นายจตุพร อ่นุ วิจติ ร กรรมการ 4. นายสมพร วังอมรมิตร กรรมการ 5. ร.ต.อ.กำจร คำแกว้ กรรมการ 6. นายนิธิ คงสมจติ ต์ กรรมการ 7. นายสุเทพ ทองธรรมชาติ กรรมการ 8. นายชูชพี นันทาสิทธ์ิ กรรมการ 9. นางสมควร วงษ์แก้ว กรรมการและเลขานุการ 10. นายปรีชา พทิ ักษว์ งศ์ ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบุรี

16 ข้อมูลบุคลากร กศน.อำเภอบางปลาม้า ประจำปีงบประมาณ 2564 ที่ ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง วุฒิการศกึ ษา สาขา 1 นางสมควร วงษแ์ กว้ ผู้อำนวยการฯ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต การศึกษาผู้ใหญ่ 2 นายปรชี า พทิ ักษว์ งศ์ ครู ชำนาญการพิเศษ ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ พลศึกษา 3 นายนรินทร์ธร พฒั นไชยการ ครผู ชู้ ว่ ย บรหิ ารธุรกิจบัณฑติ คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 4 นางอัญชลี ดว้ งประสทิ ธ์ิ ครู อาสาสมคั ร กศน. ศิลปศาสตรบณั ฑติ การพัฒนาชุมชน 5 นางจีระภา โกพัฒน์ตา ครู อาสาสมคั ร กศน. วทิ ยาศาสตร์บณั ฑติ เอกสถติ ิประยุกต์ 6 นายไพศาล สขุ สำราญ ครู อาสาสมคั ร กศน. ศิลปศาสตรบัณฑติ การพัฒนาชุมชน 7 นางสาวราตรี นว่ มใจดี ครู อาสาสมคั ร กศน. ครศุ าสตรบัณฑติ การพัฒนาชมุ ชน 8 นางสาวเพญ็ จันทร์ วงศ์ศรเี ผอื ก ครู อาสาสมคั ร กศน. ศิลปศาสตรบัณฑติ สือ่ สารมวลชน 9 นายสิทธิวุฒิ จนั ทรมะโน ครู อาสาสมัคร กศน. ครุศาสตรบณั ฑติ พลศกึ ษา 10 นางสาวทศั นีย์ ดำรงค์ฤทธ์ิ ครู กศน.ตำบล ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ การศึกษานอกระบบ 11 นางสาวลัดดาวลั ย์ ลาภบงั เกิด ครู กศน.ตำบล ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ พลศกึ ษา 12 นางกชกานต์ บัวบาน ครู กศน.ตำบล ครศุ าสตรบณั ฑิต สังคมศึกษา 13 นางสาวนิลาวัณย์ เยน็ มาก ครู กศน.ตำบล วิทยาศาสตรบัณฑิต วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 14 นางสาวนงลักษณ์ อว่ มปว่ น ครู กศน.ตำบล ครุศาสตรบณั ฑิต สขุ ศกึ ษา 15 นางสาวยพุ รตั น์ ศรีธนานันท์ ครู กศน.ตำบล บริหารธุรกิจบณั ฑิต การจัดการการทอ่ งเท่ยี วและการโรงแรม 16 นางสาววิภามาศ แสงเทียน ครู กศน.ตำบล ครุศาสตรบณั ฑติ สังคมศึกษา 17 นายสุทธิพร สขุ สุคนธ์ ครู กศน.ตำบล รัฐศาสตรบัณฑติ นติ ศิ าสตร์ 18 นายอภิรักษ์ ขำสุวรรณ ครู กศน.ตำบล ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ ประถมศึกษา 19 วา่ ที่รอ้ ยตรีหญิงศริ พิ ร ศรีหิรญั ครู กศน.ตำบล บรหิ ารธุรกิจบัณฑิต คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ 20 นางทพิ วลั ย์ จิตสชุ น ครู กศน.ตำบล บริหารธุรกิจบัณฑติ คอมพิวเตอร์ธุรกจิ 21 นางสาวดจุ ฤดี เจริญผล ครู กศน.ตำบล บรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต การจัดการระบบสารสนเทศ 22 นายวรรณรตั น์ กมลชัยกลุ ครู กศน.ตำบล คุรศุ าสตรบณั ฑติ วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป 23 นางธนัญพสั ร์ เคลือบสุวรรณ ครู กศน.ตำบล ศึกษาศาสตรบัณฑติ ประถมศกึ ษา 24 นางสาวชลธิชา บุญเจรญิ บรรณารกั ษ์ ศิลปศาสตรบณั ฑติ บรรณารักษ์ 25 นางสาวช่อผกา พนั ตัน บรรณารักษ์อัตราจ้าง บริหารธรุ กจิ บัณฑติ วทิ ยาศาสตร์ 26 นางสาวสายรุ้ง สุนทรพงษ์ เจ้าหนา้ ท่บี นั ทกึ ข้อมลู วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต เกษตรศาสตร์ เอกพืชไร่ 27 นางสาวสุนิสา จันทรก์ ระจา่ ง พนกั งานบริการ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 - แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

17 สว่ นท่ี 2 นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2564 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบุรี

18 วิสยั ทัศน์ คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกจิ 1. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีคุณภาพ สอดคลอ้ ง กบั หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพอ่ื ยกระดับการศึกษา และพฒั นา สมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายให้เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัย ให้พรอ้ มรับ การเปลยี่ นแปลง และการปรบั ตัวในการดาํ รงชีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม ก้าวสูก่ ารเป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ อยา่ งยงั่ ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด และประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ใน ปจั จบุ ัน 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กบั ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอยา่ งทั่วถงึ 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ใน การสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ใหก้ บั ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของธรรมาภบิ าล มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคล่องตวั มากย่ิงขึ้น 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมที่ดี เพอื่ เพิ่มประสทิ ธภิ าพของการใหบ้ ริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ทีม่ คี ุณภาพมากยิง่ ข้นึ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้องกับหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือ พัฒนา ไปสูค่ วามมั่นคงและยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบุรี

19 3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่อง ทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยที ี่เหมาะสม สามารถคดิ วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตผุ ล และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน รวมถึง การแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตได้อย่างสร้างสรรค์ 4. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และ พัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบท ด้าน เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม 5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล มาพฒั นา เพือ่ เพ่มิ ช่องทางการเรยี นรู้ และนาํ มาใชใ้ นการยกระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นรูแ้ ละโอกาสการเรยี นรู้ ให้กบั ประชาชน 6. ชมุ ชนและภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วน มสี ่วนร่วมในการจัด ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทงั้ การขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการองค์กรทที่ นั สมัย มีประสทิ ธิภาพ และเป็นไป ตาม หลักธรรมาภิบาล 8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

20 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

21 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

22 นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนนิ งาน กศน. ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2554 1. น้อมนาํ พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ 1.1 สบื สานศาสตร์พระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศนู ย์สาธิตและเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือ เป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตา่ ง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และส่งเสรมิ การใช้พลงั งานทดแทนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.2 จดั ให้มี “หนึ่งชมุ ชน หน่งึ นวัตกรรมการพฒั นาชุมชน” เพอ่ื ความกินดี อยู่ดี มงี านทาํ 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ พฒั นา ผู้เรยี นโดยการใชก้ ระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด 2. สง่ สริมการจัดการศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวิตสําหรบั ประชาชนทเ่ี หมาะสมกับทกุ ช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผรู้ ับบรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรูค้ วามสามารถเพอื่ นาํ ไปใช้ในการพฒั นาอาชพี ได้ 2.2 สง่ เสริมและยกระดับทักษะภาษาองั กฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3 สง่ เสริมการเรยี นการสอนที่เหมาะสมสาํ หรับผทู้ ่เี ขา้ สูส่ งั คมสูงวยั อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ทีเ่ หมาะสม รองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผู้สูงวัย โดยเนน้ การมสี ่วนรว่ มกับภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเข้าส่สู งั คมสูงวัย 3. พฒั นาหลักสตู ร ส่ือ เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบ การจดั การศกึ ษา และการเรยี นรู้ ในทกุ ระดบั ทกุ ประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจดั การศึกษาทเ่ี หมาะสม กับทกุ กลุ่มเปา้ หมาย มี ความทันสมยั สอดคลอ้ งและพรอ้ มรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการ ของผเู้ รยี น และ สภาวะการเรียนรู้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดข้ึนในอนาคต 3.1 พัฒนาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Leaming Platform ทีร่ องรบั DEEP ของกระทรวงศกึ ษาธิการ และช่องทางเรยี นรู้รปู แบบอ่ืน ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้ สามารถ “เรยี นร้ไู ดอ้ ย่างทั่วถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-exam) แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

23 4. บรู ณาการความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กับ ประชาชนอยา่ งมี คณุ ภาพ 4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง สง่ เสริมและสนบั สนนุ การมสี ว่ นร่วมของชุมชน อาทิ การสง่ เสริมการฝึกอาชพี ท่เี ป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชน สง่ เสริมการตลาดและขยายช่องทางการจําหน่ายเพอ่ื ยกระดับผลติ ภณั ฑ/์ สนิ ค้า กศน. 4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ ภูมภิ าค 5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทาํ งานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหก้ บั บคุ ลากรทกุ ประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวมทัง้ พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชํานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสือ่ การเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะ การคิดวเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบและมีเหตุผล เปน็ ข้นั ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิม่ ประสิทธภิ าพ ในการทํางาน รว่ มกนั ในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ การแขง่ ขนั กฬี า การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน 6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบรหิ ารจดั การองคก์ ร ปัจจัยพืน้ ฐานในการจัดการศกึ ษา และการ ประชาสัมพันธ์สรา้ งการรับรตู้ ่อสาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สําเร็จ และปรับโครงสร้าง การบริหาร และอัตรากาํ ลงั ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทการเปลี่ยนแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แตง่ ตัง้ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อจัดทํา ข้อมลู กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรู้ทุกแห่ง ใหส้ ะอาด ปลอดภยั พรอ้ มให้บริการ 6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม วิชาการ กศน. การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของ สาํ นักงาน กศน. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 ส่งผล กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออก ประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้น แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

24 ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ห้ามการใชอ้ าคารสถานท่ขี องโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา ทกุ ประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิด สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรปู แบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบ ออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การ สอื่ สารแบบทางไกลหรือดว้ ยวิธีอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานในภารกิจ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจําวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความ จําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ีเข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้าง มือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือดิจิทัล และเทคโนโลยีออนไลน์ในการจดั การเรยี นการสอน ภารกจิ ต่อเนอื่ ง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย ดําเนินการ ให้ผ้เู รียนไดร้ ับการสนับสนุนค่าจดั ซ้ือหนงั สือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และค่าจัดการ เรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรยี นรู้ด้วยตนเอง การพบกลมุ่ การเรียนแบบช้นั เรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมินผล การเรียน และระบบการให้บริการนกั ศกึ ษาในรูปแบบอน่ื ๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความ ตอ้ งการ ของกลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วม ปฏิบัติ กิจกรรม เพ่อื เป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสตู ร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สรา้ งความสามัคคี กจิ กรรมเก่ียวกับการ ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

25 กจิ กรรม จิตอาสา และการจดั ต้ังชมรม/ชมุ นมุ พร้อมท้งั เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนนํากจิ กรรมการบาํ เพ็ญประโยชน์อื่น ๆ นอกหลกั สูตรมาใช้เพ่ิมชัว่ โมงกิจกรรมให้ผู้เรยี นจบตามหลกั สตู รได้ 1.2 การส่งเสริมการร้หู นังสือ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบ เดียวกัน ท้ังสว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการ ส่งเสริมการร้หู นังสอื ทสี่ อดคล้องกบั สภาพและบริบทของแตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะ การ จัดกระบวนการเรยี นรู้ให้กบั ผูไ้ ม่รู้หนงั สอื อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และอาจจัดให้มีอาสาสมคั รส่งเสรมิ การร้หู นังสือ ใน พ้ืนทีท่ ี่มคี วามตอ้ งการจําเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึก ษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยา่ งยั่งยนื โดยให้ความสําคัญกบั การจัดการศกึ ษาอาชีพ เพื่อการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการ รวมถงึ การเน้นอาชพี ช่างพน้ื ฐาน ทส่ี อดคลอ้ งกับศักยภาพของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแต่ละ พื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การ พฒั นา หนง่ึ ตาํ บลหนงึ่ อาชีพเด่น การประกวดสินคา้ ดีพรเี มีย่ ม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและ จดั หาช่องทางการจาํ หนา่ ยสินคา้ และผลิตภัณฑ์ และให้มีการกํากบั ติดตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพ เพ่อื การมีงานทาํ อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแตล่ ะบุคคล และมุ่งเน้นให้ทกุ กลุ่มเป้าหมายมีทกั ษะการดํารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่งึ พาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม ได้ อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เตรียมพรอ้ มสําหรับการปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยสี มัยใหม่ในอนาคต โดย จัดกิจกรรมทม่ี เี นอื้ หาสําคัญต่าง ๆ เชน่ การอบรมจิตอาสา การใหค้ วามร้เู พ่ือการป้องการการแพรร่ ะบาด ของเช้ือ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพฒั นาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจรยิ ธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและ ทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรม ส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ เป็นต้น แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

26 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลกั สูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรา้ งชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ และรูปแบบอื่นๆ ทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย และบรบิ ทของชมุ ชน แต่ละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง จิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมือง ที่ดี ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์ พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการพฒั นาสังคมและชุมชนอยา่ งย่ังยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด ชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่ นคง และมีการ บริหารจดั การ ความเสีย่ งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดลุ และยง่ั ยนื 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนา ศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตําบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครอื ข่าย สง่ เสรมิ การอา่ น จดั หนว่ ยบรกิ ารห้องสมุดเคลื่อนท่ี ห้องสมดุ ชาวตลาด พร้อมหนงั สอื และอุปกรณ์เพ่ือจัด กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรทู้ ่ีหลากหลายให้บริการกบั ประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ อยา่ งทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ การอา่ น อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 2) จัดสรา้ งและพัฒนาศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา ใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจํา ทอ้ งถิ่น โดยจัดทําและพฒั นานทิ รรศการสอ่ื และกจิ กรรมการศกึ ษาท่ีเน้นการเสรมิ สร้างความรู้และสรา้ งแรงบนั ดาล ใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ คณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับ ภูมิภาค และระดับโลกเพือ่ ให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไปประยกุ ต์ใช้ในการดาํ เนินชวี ติ การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถใน การปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง ( Disruptive Changes) ไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือ ส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เชน่ พิพิธภัณฑ์ ศนู ย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถึงภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ เปน็ ตน้ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

27 2. ด้านหลักสูตร สื่อรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลักสูตรทอ้ งถิน่ ที่สอดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทของพื้นทแ่ี ละความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เ รียน กล่มุ เปา้ หมายทวั่ ไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นรูไ้ ดท้ ุกท่ี ทุกเวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ หอ้ งเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพ่อื ให้มคี ณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมท้ัง มีการประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับรแู้ ละสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานให้ไดม้ าตรฐานโดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจดั สง่ เสริม และสนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศยั รวมท้งั ใหม้ ีการนําไปสู่การปฏิบัติอยา่ งกวา้ งขวางและมกี ารพัฒนาให้เหมาะสมกบั บริบทอย่างต่อเนื่อง 2.7 พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายใน ที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดําเนินการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มี ระบบ สถานศึกษาพีเ่ ลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกลช้ ิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมนิ คุณภาพ ภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ ําหนด 3. ด้านเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สําหรบั กลมุ่ เป้าหมายตา่ ง ๆ ใหม้ ที างเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพฒั นาตนเองให้รู้เท่า ทัน ส่อื และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การส่ือสาร เช่น รายการพฒั นาอาชีพเพ่ือการมงี านทํา รายการติวเขม้ เติมเต็ม ความรู้ รายการ รายการทาํ กินก็ได้ ทาํ ขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานวี ทิ ยุศึกษา สถานวี ิทยุโทรทัศนเ์ พอ่ื การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเ์ น็ต แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

28 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี ดจิ ิทลั และชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เชน่ Youtube Facebook หรอื Application อ่ืน ๆ เพ่ือส่งเสริม ให้ครู กศน. นําเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย เครอื ขา่ ยการรบั ฟังให้สามารถรับฟงั ไดท้ ุกที่ ทุกเวลา ครอบคลมุ พื้นทีท่ ว่ั ประเทศและเพ่ิมชอ่ งทาง ใหส้ ามารถรับชม รายการโทรทศั นไ์ ดท้ ง้ั ระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเ์ นต็ พรอ้ มที่จะ รองรับการพัฒนา เปน็ สถานวี ทิ ยุโทรทศั น์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้กลุม่ เป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพื่อเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ไู ดต้ ามความตอ้ งการ 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อนําผล มาใช้ ในการพฒั นางานให้มีความถูกต้อง ทันสมยั และสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ 4. ด้านโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเน่อื งจากราชวงศ์ 4.1 สง่ เสริมและสนบั สนุนการดาํ เนินงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริหรอื โครงการ อันเกี่ยวเน่ือง จากราชวงศ์ 4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อให้ เกิดความเขม้ แข็งในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”เพ่ือให้มคี วามพร้อมในการจัดการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าท่ีท่ีกําหนดไวอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่นทุรกันดาร และพื้นทชี่ ายขอบ 5. ด้านการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นที่บรเิ วณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความ ตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งอตั ลกั ษณแ์ ละความเป็นพหวุ ฒั นธรรมของพืน้ ที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพื่อให้ ผู้เรียน สามารถนําความรทู้ ่ไี ด้รับไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบุรี

29 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.ตลอดจนผู้มาใช้บริการอย่างทวั่ ถึง 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบท ของแต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ พัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพ้ืนท่ี 5.3 จดั การศกึ ษาเพอื่ ความมนั่ คงของศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน(ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพ่ือใหเ้ ปน็ ศูนยฝ์ ึกและสาธิต การประกอบ อาชพี ดา้ นเกษตรกรรม และศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตน้ แบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาํ ริปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียง สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรียนรู้ที่หลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้านอาชพี ท่ีเน้นเร่อื งเกษตรธรรมชาตทิ สี่ อดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้านบุคลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง การดํารง ตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดใี นการปฏิบตั งิ านให้มคี วามรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาํ แหน่ง ใหต้ รงกบั สายงาน ความ ชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของหน่วยงานและ สถานศกึ ษาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพรวมทั้งส่งเสริมให้ขา้ ราชการในสงั กัดพัฒนาตนเองเพื่อเล่ือนตาํ แหน่ง หรือเลื่อน วทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจักษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยใน สถานศึกษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และ การปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย ความ สะดวกในการเรยี นรู้เพ่ือให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรทู้ ีม่ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างแท้จรงิ 4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่เี กี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้อย่าง มีคุณภาพโดยส่งเสริมใหม้ ีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และ ประเมินผล และการวจิ ยั เบอ้ื งต้น 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ และมคี วามเปน็ มอื อาชีพในการจดั บริการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชน แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสพุ รรณบุรี

30 6) สง่ เสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บรหิ ารการ ดําเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ใหส้ ามารถทาํ หน้าที่สนบั สนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตาม อธั ยาศัยได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน รว่ มกันในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยา่ งต่อเนื่องอาทิ การแขง่ ขนั กฬี า การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ใน การทาํ งาน 6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและอตั รากาํ ลงั 1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ พรอ้ มในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และ ลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสรา้ งการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่กําหนดไว้ ให้เกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ ในการปฏบิ ัติงาน 3) แสวงหาความรว่ มมอื จากภาคีเครือขา่ ยทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพอื่ นํามาใช้ ในการปรับปรุง โครงสรา้ งพ้ืนฐานให้มคี วามพร้อมสาํ หรบั ดําเนินกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย และการ สง่ เสริมการเรยี นรู้สําหรับประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็น ระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด การ เบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายทก่ี าํ หนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกัน ทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและ การบรหิ ารจัดการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพื่อ สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธภิ าพการดาํ เนินงานที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประชาชน และชุมชน พร้อมทั้งพฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

31 5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือ ในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ อ้ งประชมุ เปน็ ต้น 7) พัฒนาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏิบัตริ าชการให้ทันสมัย มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิ ชอบ บริหารจัดการบนข้อมลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง่ ใส 6.4 การกํากับ นิเทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เชือ่ มโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายทง้ั ระบบ 2) ให้หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผล การนํานโยบายสกู่ ารปฏิบัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเร่อื งได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ หน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของสํานักงาน กศน.ให้ดาํ เนนิ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่กําหนด 5) ใหม้ ีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ท้งั หน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ สว่ นกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนา งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สุพรรณบุรี

32 ส่วนที่ 3 ทิศทางการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2564 แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบุรี

33 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า ได้ดำเนินการจัดประชุม บุคลากร เพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยใช้หลักการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจาก สภาพแวดล้อมภายนอก อันเป็นปัจจัยต่อการส่งเสริมการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปกำหนดทิศ ทางการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน ซึง่ ได้ผลการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงานเป็นดังนี้ สภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แขง็ (Strength) จุดออ่ น (Weakness) 1.บุคลากร 1.บุคลากร - ผู้บริหารมภี าวะผู้นำ มวี ิสัยทัศน์ในการบรหิ ารงาน - มีการเปลี่ยนแปลงบุคลากร เนื่องจากขาดความมั่นคง - จำนวนบุคลากรผู้ปฏิบัติงานมีจำนวนเพียงพอ ในอาชีพ ขาดขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ทำให้ขาด เตม็ พื้นที่ การต่อเนื่อง ขาดทักษะ และประสบการณ์ ในการ - บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ ปฏบิ ตั งิ าน ปฏบิ ตั ิหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบไดต้ ามนโยบาย - ครู ต้องปฏิบัติงานในหลายหน้าที่ เช่น หน้าที่การสอน - บุคลากรมีการทำงานเป็นทีม มีมนุษย์สัมพันธ์ดี และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย ทำให้ขาดทักษะ และ สามารถทำงานติดต่อกับภาคีเครือข่ายได้อย่างมี ความชำนาญในบางภาระงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น ประสิทธิภาพ มีความพร้อมในการรับการพัฒนา งานการเงนิ บญั ชี พัสดุ เป็นต้น ตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง - ครู ขาดความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ - ผู้บริหารและบุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม เรยี นการสอน และการสื่อสารด้านภาษาองั กฤษ มีจรรยาบรรณความเปน็ ครู - บุคลากร กศน.อำเภอบางปลาม้า มีความรู้ความ ชำนาญตาม ตำแหน่ง มภี าวะความเป็นผนู้ ำ 2.งบประมาณ 2.งบประมาณ - มีการจัดทำแผนการใช้งบประมาณให้สอดคล้อง - การจดั สรรงบประมาณทม่ี ีความล่าช้า กบั นโยบาย และแผนการปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่ - บุคลากร ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในระเบียบการ กำหนดไว้ เบกิ จ่ายงบประมาณ - มกี ารจดั สรรงบประมาณ และบรหิ ารงบประมาณ - งบประมาณด้านการบริหารจัดการ บางกิจกรรมได้รับ ตามแนวทางการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย การจัดสรรไม่เพยี งพอ ประจำปี ของ สำนักงาน กศน.จงั หวดั สุพรรณบรุ ี - การใชจ้ ่ายงบประมาณ บางกจิ กรรมไมเ่ ป็นไปตามแผน - มรี ะบบการควบคมุ งบประมาณ ทีส่ ามารถ ท่กี ำหนด ควบคมุ กำกบั ติดตาม มีความชัดเจน แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรุง) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

34 - มีการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตาม ประเภทงบประมาณรายจ่าย ตามแนวทางและ ระเบียบทเ่ี ก่ียวข้องไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 3.ทรัพยากร 3.ทรัพยากร - มีวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน สำหรับใช้ในการ - บุคลากรขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแล รักษา ปฏิบัตงิ านอยา่ งเพยี งพอ รวมถึงการซ่อมบำรงุ วสั ดุ อุปกรณ์ เบื้องตน้ - มีสถานที่รองรับสำหรับจัดกิจกรรมได้อย่าง - สถานท่ีจดั กจิ กรรม มกี ารใช้งานเปน็ ระยะเวลานาน ทำ เพยี งพอ ใหม้ ีสภาพชำรดุ ทรุดโทรม เกิดความไม่ปลอดภัยสำหรับ - บคุ คล ชุมชน และภาคีเครอื ข่าย ให้การสนบั สนุน การจัดกิจกรรม ในการจัดกจิ กรรม - ขาดระบบการจัดเก็บขอ้ มลู แหลง่ เรียนรู้ และ - มีแหล่งเรียนรู้ และภมู ิปัญญา ครอบคลุมทกุ พน้ื ที่ ภูมปิ ัญญา ทเ่ี ป็นปจั จุบนั - มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่รองรับการ นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน และจัดกิจกรรม ให้ สอดคล้องกับนโยบายของ สำนกั งาน กศน. 4. การจัดกิจกรรม และบริการการเรยี นรู้ - มีการจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีมีความหลากหลาย 4. การจดั กิจกรรม และบรกิ ารการเรยี นรู้ - หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั - รูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีรายวิชาเลือกที่ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ไม่ดึงดูดความสนใจต่อ หลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการของ ผรู้ บั บรกิ าร กลุ่มเปา้ หมายอย่างมคี ณุ ภาพ - หลักสูตรต่อเนื่อง มีความหลากหลาย สามารถ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายอย่างมี คณุ ภาพ - การจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีความ หลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ และเข้าถึงทุกพื้นท่ี ให้บรกิ าร - มีการสนับสนุนสื่อ และสิ่งอำนวยความสะดวก ที่ เพียงพอ ตอบสนอง และตรงความต้องการ ของ กลมุ่ เป้าหมาย แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรับปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

35 5. การบรหิ าร – การจดั การ - มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน มีการ 5.การบรหิ าร – การจดั การ บริหารงานแบบมีส่วนร่วม - มกี ารโยกยา้ ย ปรับเปลี่ยนตำแหน่งหน้าที่ของบุคลากร - มีหลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจดั การ ทำใหก้ ารบรหิ ารจัดการไม่ตอ่ เน่ือง - มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายใน - บุคลากร ขาดทักษะ และประสบการณ์ เช่น การทำ - การวางแผนงานอย่างมีระบบชัดเจนสามารถ วจิ ยั ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ เป็นต้น นำมาปฏบิ ตั ิได้ ระบบบริหารจัดการตอบสนองความต้องการของ กล่มุ เป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat) - ภาคีเครือข่ายให้ความสนับสนุน มีส่วนร่วม ใน - ความเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ การจัดกิจกรรมทั้งการศึกษานอกระบบและ ส่ิงแวดล้อม การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีดี - การปรบั เปล่ียนนโยบายในการปฏบิ ัติงาน - หน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นภาคีเครือข่ายให้ความ - กศน.ตำบล ไมเ่ ปน็ เอกเทศ เชอื่ ถอื ในผู้บริหารและบุคลากรที่ปฏิบตั งิ านในพน้ื ท่ี - ผ้เู รียนมีภารกิจในการประกอบอาชีพจึงไม่สามารถเข้าร่วม - มีแหล่งเรียนรู้ สถานที่ท่องเที่ยวมากมาย ทั้งด้าน กิจกรรมได้ วัฒนธรรม/ภมู ิปญั ญา/ประวัติศาสตรท์ ี่มีชือ่ เสียง - ปัญหาความยากจน/ความเหลือ่ มลำ้ ทางสังคม/ยาเสพติด - การคมนาคมและโทรคมนาคมสะดวก งา่ ยตอ่ การ - พฤตกิ รรมเบ่ยี งเบนในวัยรุ่น/ท้องก่อนวัยอนั ควร/ติดเกมส์ ตดิ ต่อประสานงานและการให้บริการ - ภยั ธรรมชาติ - องค์กรมีศักยภาพในการให้บริการประชาชน (กศน.) เปน็ ศนู ยก์ ลางในการติดตอ่ ประสานงานที่ดี อัตลกั ษณ์ มีวนิ ัย มคี วามพอเพียง มีจติ อาสา สุภาพ เอกลักษณ์ ยม้ิ ไหว้ ทักทาย แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบับปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

36 ปรัชญา เรียนรู้ตลอดชวี ิต คดิ เปน็ เนน้ พอเพียง วสิ ัยทัศน์ ประชาชนอำเภอบางปลามา้ ได้รบั โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิตอยา่ งท่ัวถงึ มที กั ษะ พน้ื ฐานทีจ่ ำเปน็ ต่อการดำเนินชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกจิ 1.จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 2.สร้างโอกาสและจัดการศึกษาในรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมาย มีคุณธรรม และให้มีทักษะการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.พัฒนาหลักสูตรและระบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาให้สามารถจัดการศึกษาให้ เป็นไปตามความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดการความรู้ด้วยการระดมทรัพยากร องค์ความรู้ และร่วมจัดการศึกษา ให้กับชุมชน เป้าประสงค์ 1. คนไทยไดรบั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคณุ ภาพอยางทัว่ ถึง และเปนธรรม 2. ผ้เู รียน / ผ้รู บั บรกิ ารได้รับการศึกษาท่มี คี ุณภาพได้มาตรฐาน และมคี ุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3. สถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การทีม่ คี ุณภาพ สามารถจดั บริการตอบสนองกบั ความต้องการของ ผูเ้ รียน / ผ้รู บั บรกิ ารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4. ชุมชนมีการจัดการความรู้ และกระบวนการเรียนรูเ้ พ่อื สร้างสังคมแหง่ ภูมิปัญญาและการเรยี นรู้ 5. มีแหลง่ เรยี นรู้อย่างท่วั ถึง และไดร้ บั การพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมโอกาสและชอ่ งทางการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ทม่ี คี ุณภาพและสนองตอบความต้องการของประชาชน 6. สถานศกึ ษานำเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาใชใ้ นการบริหาร องค์กรและบริการการเรยี นรู้ใหแ้ กป่ ระชาชน 7. ภาคีเครือขา่ ยเข้ามามีสว่ นร่วมอย่างกว้างขวาง 8. บคุ ลากรมีสมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี

37 ตวั ชว้ี ดั 1. ประชาชนได้รบั บริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่วั ถึง มคี วามพงึ พอใจ ต่อบริการทไ่ี ดร้ บั 2. ผเู้ รยี น / ผรู้ ับบริการมีผลสมั ฤทธต์ิ ามจุดมุง่ หมายการเรียนร้ขู องแต่ละหลักสูตรหรือกิจกรรมมี คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 3. ภาคสว่ นต่างๆของสงั คมเขา้ มามีสว่ นร่วมเป็นภาคเี ครือขา่ ยในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวิต 4. ชมุ ชนเขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มีการจดั การความรู้และ กระบวนการเรยี นรู้ 5. กศน.ตำบล ส่งเสริมสนับสนนุ กิจกรรมการอา่ นที่มคี ณุ ภาพ 6. สถานศกึ ษานำเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มาใชใ้ นการบริหาร องค์กร และบริการการเรยี นรู้ให้แกป่ ระชาชน 7. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ของหนว่ ยงาน 8. บคุ ลากรได้รบั การพัฒนาสมรรถนะในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ กลยทุ ธท์ ี่ 2 สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพใหป้ ระชาชนในการสร้างชีพสรา้ งรายได้ กลยุทธ์ที่ 3 พฒั นาระบบริหารจดั การ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงาน กลยทุ ธ์ท่ี 4 พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการพัฒนาองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมในการจดั กลยทุ ธท์ ี่ 5 พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 6 การขยายพฒั นาแหล่งเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 2564 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กศน.อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

38 โค / ่ ท่ 4 . .2564 ำ 2564 ( ) .

39 4.1 ญช /โค / .ำ : ยุทธศาสตรส์ ร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตัง้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กจิ กรรมการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 คา่ หนังสือเรยี น 2 คา่ จดั การเรยี นการสอน 136,160 130,240 266,400 3 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 443,808 676,905 1,120,713 167,070 161,334 328,404 611,014 968,479 1,715,517 : พืน้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 4 ผรู้ บั บรกิ าร การศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ึ ษ ื่ ฒ ท ษ ช 35,420 14,490 49,910 2 กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ การจัดการศึกษาต่อเน่ือง 72,800 33,600 106,400 ย ู ชญ ข ษฐ ย 70,000 44,800 114,800 3 กิจกรรมการศึกษานอกระบบ การจดั การศึกษาต่อเน่ือง ึ ษ ื่ ฒ ค ช ช 47,600 15,800 63,400 225,820 108,690 334,510 4 กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ การจดั ศึกษาต่อเนื่อง ่ ูื 2564 ( ) .

40 : ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือสนบั สนุนด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการ ขบั เคลือ่ นการพฒั นาการศกึ ษาท่ียัง่ ยนื กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน งบรายจ่ายอ่ืน ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 คา่ ใช้จ่ายโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน 50,400 25,200 75,600 1ำ 1 ช 2 ค่าใช้จา่ ยโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน 147,000 68,600 215,600 ู ย ้ ( ่ ใ ไ ่ 30 ช่ โ ) 3 ค่าใช้จ่ายโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน 151,200 88,200 239,400 ช้ ย ช ช (31 ช่ โ ข้ึ ไ ) 348,600 182,000 530,600 : พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผู้รบั บริการการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 คา่ ใช้จา่ ยในการบริหารหน่วยงาน ค่ 12,852 15,010 27,862 2 ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารหนว่ ยงาน ค่ ื ่ื 14,000 6,450 20,450 3 ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารหนว่ ยงาน ค่ ื ์ 1,825 1,830 3,655 4 ค่าใช้จา่ ยในการบริหารหน่วยงาน ค่ 5,000 4,500 9,500 5 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบริหารหนว่ ยงาน ค่ ธ ู โ ค 2,950 8,350 11,300 6 ค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารหนว่ ยงาน ค่ ช่ ์ ็ 17,400 17,400 34,800 7 คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหารหน่วยงาน ค่ ื ์ . ำ 16,660 16,520 33,180 8 ค่าใช้จา่ ยในการบริหารหน่วยงาน ค่ ย ู . ำ 5,000 5,000 10,000 75,687 75,060 105,747 2564 ( ) .

41 : ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทัล โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทลั กิจกรรมศนู ย์ ดจิ ิทลั ชุมชน งบรายจา่ ยอ่ืน ค่าใชจ้ ่ายโครงการศนู ยด์ ิจิทัลชมุ ชน ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) 1 โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 0 114,520 114,520 : ยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ค่าใช้จ่ายโครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษา ตลอดชวี ิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 โครงการการจดั และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพื่อ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผูส้ ูงอายุ ประจำปี 22,400 0 22,400 งบประมาณ พ.ศ.2564 : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการ ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาการศึกษาท่ยี ่ังยืน รายการคา่ ใชจ้ ่ายโครงการหลักสูตรจิตอาสา 904 ท่ ค่ ใช ่ ย ำ ( ท) ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 รวม 1 โครงการจติ อาสา ของ กศน.อำเภอบางปลามา้ 0 10,200 10,200 2564 ( ) .

4.2 รายละเอยี ดตารางบัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม งานการศึก งบประมาณตา ช่อื โครงการ กจิ กรรมหลัก เปา้ หมาย ไตรมาส1 ไตรมาส 2 ไต โครงการสง่ เสรมิ 1.เบกิ ค่าตอบแทน เจา้ หนา้ ที่บนั ทกึ 1 คน 11,000 33,000 การจดั การเรียน ข้อมลู 1,206 คน - 47,730 การสอน 27 คน - 3,674 การศึกษา 2.ดำเนินการสอบปลายภาคเรยี น 140 คน - 35,500 ขนั้ พน้ื ฐาน 2/2563 และ 1/2564 1,206 คน - 3. คา่ ข้อสอบวิชาเลอื กเสรี 140 คน - - 4.กจิ กรรมเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 1 แห่ง - 38,000 ของนกั ศกึ ษา โดยระบบออนไลน์ 131,420 5.ประชาสัมพันธร์ ับสมคั รนกั ศึกษา 27 คน - ภาคเรยี นท่ี 1/2564 3,288 6.กจิ กรรมป้องกนั การแพร่ระบาด โควดิ 19 สำหรบั นักศกึ ษา กศน. 7.คา่ บรหิ ารจัดการพสั ดุอุปกรณ์ ดำเนนิ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 8.ไปราชการตา่ งๆบรหิ ารจดั การ การศึกษาหลกั สูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ม/วเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งนโยบายและมาตรฐานการศกึ ษา กษาขนั้ พ้ืนฐาน ามไตรมาส งบประมาณรวม สอดคลอ้ งกับ หนว่ ยงาน ตรมาส 3 ไตรมาส 4 งบ งบ งบ นโยบายจดุ เนน้ / ที่ เงินอุดหนุน ดำเนินงาน รายจ่ายอื่น มาตรฐาน กศน. รับผดิ ชอบ 33,000 33,000 110,000 ภารกิจ กศน.อำเภอ ต่อเนือ่ ง บางปลาม้า - 50,000 97,730 ขอ้ 1 (1.1) มาตรฐาน - - 3,674 การศกึ ษา - 40,000 75,500 นอกระบบ ระดับ 6,000 8,000 14,000 การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 1-3 - - 38,000 8,000 135,405 274,825 - 30,000 33,288 42

งบประมาณตามไต ชือ่ โครงการ กิจกรรมหลัก เป้าหมาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมา 1 2 โครงการส่งเสรมิ 9.กิจกรรมนิเทศภายใน 14 ตำบล - 8,275 - การจดั การเรียน สถานศึกษา 14 ตำบล - การสอน 10.กิจกรรมการเรียนรู้อาชีพ - 9,580 - การศึกษา - ข้ันพน้ื ฐาน (ต่อ) 11.คา่ สาธารณปู โภค 1 แห่ง 10,236 - 12.บรหิ ารจดั การวัสดุอุปกรณ์ 14 ตำบล - 40,846 42,0 ดำเนินงานการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขน้ั 30 คน - 2,995 - พ้ืนฐานของ กศน.ตำบล 13.ประชมุ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา 14.การจัดหาสือ่ วสั ดุอุปกรณ์ใช้ 140 คน -- ในการจัดการเรียนการสอน และกจิ กรรมผู้เรยี น กศน. อำเภอบางปลามา้ -โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ “การตา้ น โควดิ สู่ วถิ ีชวี ติ ทีด่ ี” โดยระบบออนไลน์