Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นำเสนอ-อาการซึมเศร้าในประเทศไทยโดยมีสาเหตุจากโควิด-19-Depression-in-Thailand-that-is-caused-by-COVID-19-3

นำเสนอ-อาการซึมเศร้าในประเทศไทยโดยมีสาเหตุจากโควิด-19-Depression-in-Thailand-that-is-caused-by-COVID-19-3

Published by londagamezzz, 2021-11-18 05:46:01

Description: นำเสนอ-อาการซึมเศร้าในประเทศไทยโดยมีสาเหตุจากโควิด-19-Depression-in-Thailand-that-is-caused-by-COVID-19-3

Search

Read the Text Version

อาโกดายรมซีสมึ าเเศหรตา จุ ใานกปโรคะวเิดท-ศ1ไ9ทย Depression in Thailand that is caused by COVID-19

สมาชิก 01.ด.ช.คาเมรอน แม็คอนิ ทอช ม.3/1 เลขที่ 4 02.ด.ญ.เศรษฐชยาภรณ อุปจันทรสงา ม.3/1เลขท่ี 15 03.ด.ญ.จริ ัชญา เอกตาแสง ม.3/1 เลขที่ 19

1 01 บทนาํ

ความเปน มาและความสาํ คัญ 2 จากการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 เปน โรคใหมท่มี กี ารระบาดเปน วงกวาง นอกจากจะสง ผลตอรา งกาย ของผตู ดิ เช้ือแลวยังสงผลตอสภาพจิตใจของคนอกี หลาย ๆ คน จนในปจ จบุ นั สง ผลกระทบดา นทางจิตใจในกลมุ ประชากรทวั่ ไป ผทู ป่ี ระกอบอาชพี เสยี่ งหรอื พักอาศยั ในพื้นที่เสย่ี ง จะมีภาวะซมึ เศรา วติ กกังวล นอนไมห ลบั และ ภาวะเครียดมากกวา ประชากรทั่วไป ภาวะโรคซมึ เศรา ทาํ ใหจ ติ ใจรสู กึ หดหู สิ้นหวงั มองโลกในแงรายรูสึกวา ตนเองไรค า พบไดท ้ังในกลุมคน ทัว่ ไป

1.2 วตั ถปุ ระสงคของงานสมั มนา 3 เพอ่ื ศึกษาความปจจยั ทีเ่ ก่ยี วของกบั การรับรูความเครียด ภาวะซมึ เศรา ในผปู ว ยโควดิ 19 ในกรุงเทพมหานคร 1.3 ขอบเขตของงานสมั มนา ศกึ ษาโดยใชขอมูลจาก “.โครงการการดแู ลจติ ใจทางโทรศัพทแ กผ ูป วยโควดิ 19 ในเขตกรุงเทพมหานคร.” ตงั้ แตว ันที่ 1 เมษายน ถึง 29 พฤษภาคม 2563 จานวน 898 คน เจา หนาที่โครงการสมั ภาษณผ ปู วยทางโทรศัพทด วยแบบประเมินการรบั รคู วามเครียด ประเมินภาวะ ซึมเศรา และ ประเมินความเสีย่ งการฆา ตัวตาย

4 02 เน้อื หาคน ควาเพม่ิ เตมิ ทีเ่ กย่ี วขอ ง

5 2.1 อิทธพิ ลของความเครยี ดตอภาวะอารมณซ มึ เศรา: อิทธพิ ลตัวแปร กาํ กบั ของการสนับสนนุ จากเพอื่ นและการรับรปู ระสิทธภิ าพแหง ตน การวิจัยนเ้ี ปน การสอบถามเกย่ี วกบั อทิ ธิพลของความเครยี ดและภาวะอารมณซ ึมเศราท่สี ง ผลกระทบท่เี ปน อันตรายตอ สุขภาพและจติ ใจของบุคคล โดยตัง้ กลุมตวั อยา งคอื นกั ศกึ ษาวทิ ยาลัยที่มีความเสยี่ งตอ ภาวะอารมณซ ึมเศรา สถติ ิท่ใี ชใน การวเิ คราะหขอ มลู คอื การวเิ คราะหส หสมั พันธ

6 2.2.ความชุกของภาวะซึมเศราและปจ จัยที่สมั พันธกบั ภาวะซึมเศรา ในผปู วย เบาหวานทม่ี ารักษาในโรงพยาบาลละหานทรายอําเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี มั ย การวิจยั น้ีเปนการสอบถามเกย่ี วกับผปู ว ยโรคไมติดตอเรือ้ รงั ท่มี คี วามเส่ียงทีจ่ ะเกิดภาวะซมึ เศรา ไดมากเชน เบาหวาน ความดันโลหติ สูง มักเปน โรคทไี่ มหายขาด ตองไดรับการรกั ษาอยางตอ เน่ือง จงึ ทาใหจ ิตใจรสู ึกหดหสู ิน้ หวงั มองโลกในแงร า ยรสู ึกวา ตนเองไรค า และ รวบรวมขอ มลู โดยใชแ บบสอบถามทีผ่ ูศึกษาสรา งประมวลผลขอมูลดว ยโปรแกรมสําเรจ็ รูปวเิ คราะหข อ มูลโดยใชสถติ ิเชิงพรรณนา

7 2.4.การฟน หายจากโรคซมึ เศราในผูปวยโรคซมึ เศรา เปน การใหขอ มูลเก่ียวกับการรกั ษาผูปว ยโรคซึมเศรา ดว ยวิธีการตางๆ ทกุ ประเทศท่วั โลกรวมทง้ั ประเทศไทยเปน โรค ซึมเศรา และความชกุ ของโรคซมึ เศรา ในประเทศไทยกรมสขุ ภาพจติ ไดส ํารวจทางระบาดวิทยาพบวา อตั ราความชุกของโรค ซึมเศรา ในประชากรทีม่ ีอายุ 15 ปขึ้นไป

8 2.3.การฟน ฟูทางใจในฐานะตวั แปรสง ผา นระหวางปจ จยั เชิงสาเหตดุ า น จติ สังคมเชิงบวกกับสุขภาวะทางใจและภาวะซมึ เศราในผูป ว ยโรคซึมเศรา การวจิ ัยนเี้ ปน การทดลองทจ่ี ะใหก ารศกึ ษาปจจัยดานจติ สงั คมเชิงบวกใหแกผูปว ยโรคซมึ เศรา แมจะมีแนวทางการรกั ษาดวยยาและ จติ บําบดั หากไดรับการศึกษาปจจยั ดานจิตสงั คมเชิงบวกโดยเฉพาะการฟน ฟูทางใจ

2.5 ผลของโปรแกรมการบาบดั ทางความคิดและพฤตกิ รรมรวมกับการ 9 เจรญิ สตติ อ ภาวะซึมเศรา ในผปู ว ยโรคซึมเศรา เปน การทดลองทจ่ี ะใหผ ูป ว ยทาํ แบบสอบถามในโปรแกรม ทจี่ ะประเมินจํานวน ระดับอาการและความรสู กึ ของผูป วย มี กลุมตวั อยา ง 40 คน คอื ผปู ว ยโรคซึมเศรา ทค่ี ลินิกจิตเวชโรงพยาบาลมะการักษ และจะชว ยบําบัดทางความคิด พฤตกิ รรม และการเจรญิ สตติ ามขอ มลู ทไี่ ดรบั จากโปรแกรม

10 03 เนอื้ หาหลัก

3.1 วิธีการรวบรวมขอมลู 11 3.1.1 ขอ มลู เกณฑ และปจจยั ทีใ่ ชในการรวบรวมขอมลู ใชข อ มลู ทุติยภมู ิจากโครงการการดแู ลจิตใจทางโทรศพั ทแกผปู วยโรคโควิด 19 มีเกณฑก ารคัดเลอื กเขารวมการวจิ ัย คือ อายุ 15 ปข ึน้ ไป สามารถฟง และพดู ภาษาไทยได โดยใช คาถาม 3 ขอ เพ่อื ประเมินการรับรูความเครียดจาก ปจ จยั กระตุนดา นโรคโควดิ 19 ดงั น้ี 1) ทานมีความเครียดหรอื ความกังวลตอ อาการปวยดวยโรคโควดิ 19 หรือไม 2) ทา นมีความเครยี ดหรือความกงั วลตอการถกู แยกจากครอบครวั ดวยโรคโควดิ 19 หรือไม 3) ทานมีความเครียดหรือความกังวลเกี่ยวกบั บุคคลรอบขา งทรี่ วู าทานปว ยดวยโรคโควดิ 19 หรือไม

3.2 ผลของการรวบรวมขอ มูล 12 3.2.1 ความชุกของการรับรคู วามเครียดและปจ จยั กระตนุ พบวา ความชุกของการรับรคู วามเครียดในผปู ว ยโรคโควิด-19..อยทู ่รี อยละ 30.8 แตใ นรอยละ 30.8 นั้นมรี อ ยละ 59.6 ที่มดี า นโรคโควิด-19 เปน สาเหตุ มีดานชมุ ชนและสังคมท่ีรอ ยละ 39.8 และมีดานครอบครัวรอ ยละ 29.8 และ มีผูทไ่ี มร ูส ึกเครียดหรือวิตกกงั วลทีร่ อยละ 69.2 ดงั ตารางท่ี 3.1 ตารางที่ 3.1 ความชกุ ของการรบั รคู วามเครยี ดและปจ จยั กระตุน

3.2.2 ระดับความรุนแรงของโรคซมึ เศรา และความเส่ยี งตอ ภาวะฆาตวั ตาย 13 พบวาผลความรนุ แรงของโรคซึมเศรา ไดม ีการแบงออกเปน 5 ระดับ และมีผลรอยละดงั น้ี 1) ไมม ภี าวะซมึ เศรา อยทู ่รี อยละ 83.5 2) มรี ะดบั ความรนุ แรงเลก็ นอ ย อยูทร่ี อยละ 12.6 3) มรี ะดบั ความรุนแรงปานกลาง อยทู ร่ี อ ยละ 3.4 4) มรี ะดับความรนุ แรงมาก อยูท ่รี อ ยละ 0.4 5) มีภาวะโรคซึมเศรา อยูทร่ี อยละ 16.5 และผลความเส่ียงตอ ภาวะฆา ตัวตายแยกเปน ความเสย่ี งต่าํ ทร่ี อยละ 75 และความเสยี่ งสงู ท่รี อ ยละ 25 ดังตารางท่ี 3.2

3.2.3 ปจ จัยกระตนุ ความเครียดที่ไดแ บงแยกเปนหมวดหมู 14 พบวา ผลของความเครียดน้ันมคี วามแตกตางของแตละคน โดยไดแ ยกหมวดหมูออกตาม เพศ เปน ชายและหญิง, อายุ เปน อายุ 15-59 ป และอายุ >60 ป และสถานะการรกั ษา เปนรบั การรักษา และจาหนาย ดงั ตารางที่ 3.3 ตารางท่ี 3.3 ปจจัยกระตนุ ความเครยี ดทีไ่ ดแ บงแยกเปนหมวดหมู

15 04 สรปุ ผลการสมั มนา

16 สรุปผล พบสภาวะซมึ เศรา จากโรคโควดิ 19 ปานกลางถงึ มาก อยูที่รอ ยละ 3.8 นอ ยกวาความชุกในตางประเทศ โดยอธบิ ายไดจ ากวิธีการ สัมภาษณท างโทรศัพทแ ละการคดั เลือกเฉพาะผูท่ีมีความเครยี ดเพ่อื ประเมนิ ภาวะซมึ เศรา จึงอาจทาํ ใหไดคานอยกวาความเปนจรงิ อกี ท้งั กลุม ตวั อยา งสว นใหญใ นการศกึ ษาน้ีมอี าการหายทเุ ลาจาํ หนายแลว หรอื มอี าการคงที่พอท่ีจะเขา รว มโครงการได ปจ จัยทม่ี คี วามสมั พันธตอภาวะซมึ เศราในการศกึ ษาน้ี คอื เพศ และการรบั รูความเครียดมากกวา 2 ดา นขึน้ ไป โดยการศึกษาภาวะ ซมึ เศรา ในประชากรปกติ ก็พบวา ผหู ญิงมีภาวะซมึ เศรามากกวาผูช าย ความชกุ ของการรับรู ความเครียดในผูป วยโรคโควดิ 19 อยทู ี่รอยละ 30.8 โดยพบความชกุ ของการรับรูความเครยี ดดานโรคโควดิ 19 มากท่สี ดุ รองมาเปน การรบั รคู วามเครยี ดดานชุมชนและสังคม และการรบั รคู วามเครียดดา นครอบครวั สอดคลอ งกับงานวจิ ยั

17 เอกสารอา งองิ วรินทพิ ย สวางศร. (2564). ความชกุ ของการรับรคู วามเครยี ด ภาวะซมึ เศรา และปจจัยท่ีเกย่ี วของในผูปว ยโรค โควดิ 19 เขตกรงุ เทพมหานคร ณฐั ชนน มงุ มี. (2563). อทิ ธิพลของความเครียดตอภาวะอารมณซมึ เศรา: อิทธิพลตวั แปรกากบั ของการสนบั สนนุ จากเพอื่ นและการรบั รปู ระสิทธภิ าพแหงตน สภุ าวดี ศรรี ัตนประพนั ธ. (2561). ความชกุ ของภาวะซมึ เศรา และปจ จัยท่สี มั พนั ธก บั ภาวะซมึ เศราในผปู วย เบาหวานท่ีมารักษาในโรงพยาบาลละหานทรายอําเภอละหานทราย จงั หวดั บุรีรัมย นนั ทชตั สัณห สกุลพงศ. (2564). การฟนฟูทางใจในฐานะตัวแปรสง ผานระหวา งปจจัยเชงิ สาเหตุดานจิตสงั คมเชงิ บวกกับสุขภาวะทางใจและภาวะซึมเศราในผปู วยโรคซมึ เศรา นนั ทภคั ชนะพนั ธ. (2556). การฟน หายจากโรคซมึ เศรา ในผูป วยโรคซมึ เศรา พรเพ็ญ อารีกจิ . (2555). ผลของโปรแกรมการบาบัดทางความคดิ และพฤติกรรมรวมกบั การเจรญิ สติตอภาวะ ซมึ เศราในผปู วยโรคซมึ เศรา .

18 THANK YOU