Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัสดุในชีวิตประจำวัน

วัสดุในชีวิตประจำวัน

Published by imsorrylove30, 2019-08-06 03:08:23

Description: วัสดุในชีวิตประจำวัน

Search

Read the Text Version

วิ ช า อ อ ก แ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี วสั ดใุ นชวี ติ ประจาํ วนั ด . ญ . ภ า นุ ว ร ร ณ ดี มี การนาํ เสนอนีเปนรายวิชาส่วนหนึงของวิชาออกแบบเทคโนโลยี

คํานาํ ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี เ ป น ร า ย ว ช า ส่วนหนึงของวชา การ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ว22103 โดยเนือหา ภายในเล่มนีว่าด้วย เรอง วั ส ดุ ใ น ชี ว ต ป ร ะ จํา วั น ผู้ จั ด ทํา ห วั ง ว่ า ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี จ ะ เ ป น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ อ่าน หากผิดพลาด ประการใดต้องขออภัย ณ ที นี ด้ ว ย ผจู้ ดั ทาํ ด.ญ. ภานวุ รรณ ดีมี

สารบญั 1.ไม้ 2.โลหะ 3.พลาสติก 4.ยาง

äÁŒ (WOOD) ไม้ เปนวสั ดเุ นอื แขง็ ทีเกิดขนึ จากกระบวนการ ธรรมชาติ โดยเปนทรพั ยากรสาํ คัญทีสง่ อิทธพิ ลต่อมนษุ ยท์ กุ ปจจยั อาทิ งานโครงสรา้ ง สถาปตยกรรม งานตกแต่งเฟอรน์ เิ จอรส์ นิ ค้า การแพทยแ์ ละการรกั ษา การผลิตเชอื เพลิง เพอื สรา้ งพลังงาน ไม้ เปนทรพั ยากรคณุ ค่าทีมนษุ ยน์ ยิ มใชง้ าน ตังแต่ครงั อดตี เนอื งจากแปรรปู ไดห้ ลากหลาย ยดื หยุน่ จาํ นวนมหาศาล สามารถพบเหน็ ได้ ตามเขตพนื ทีทัวไป แบง่ ออกเปนหลายประเภท เชน่

ไ ม้ เ ที ย ม ห ร อ ไ ม้ สั ง เ ค ร า ะ ห์   เ ป น อี ก ห นึ ง ท า ง เ ลื อ ก ที กาํ ลั ง ม า แ ร ง ใ น ป จ จุ บั น โ ด ย เ ป น วั ส ดุ ผ ส ม ร ะ ห ว่ า ง ไ ม้ แ ล ะ ส า ร เ ค มี บ า ง ช นิ ด ใ ห้ มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ที ย บ เ คี ย ง ห ร อ เ ห นื อ ก ว่ า ไ ม้ จ ร ง ไ ม้ เ ที ย ม ไ ฟ เ บ อ ร์ ซี เ ม น ต์ ( F i b e r C e m e n t ) ผ ลิ ต จ า ก เ ส้ น ใ ย เ ซ ล ลู โ ล ส ปู น ซี เ ม น ต์ ป อ ร์ ต แ ล น ด์ ซิ ลิ ก้ า บ ร สุ ท ธิ ด้ ว ย ว ธี ก า ร อั ด ขึ น รู ป ใ ห้ แ ข็ ง แ ก ร่ ง และเรยบ ไ ม้ เ ที ย ม วู ด พ ล า ส ติ ก ค อ ม โ พ สิ ต ( W P C ) ส่ ว น ใ ห ญ่ ผ ลิ ต จ า ก ไ ม้ แ ล ะ พ ล า ส ติ ก เ พื อ ส ร้ า ง สั ม ผั ส ส ม จ ร ง เ ป น ต้ น

กล่มุ ไมเ้ นอื แกรง่  ลักษณะกายภาพเนอื แขง็ วงปถี มอี ายุไมต่ ํากวา่ 70 ป เหมาะสาํ หรบั ทํา เปนโครงสรา้ ง เชน่ ไมม้ ะค่าโมง แดง พยุง ชงิ ชนั เต็ง ตะเคียน กล่มุ ไมเ้ นอื แขง็  ลักษณะกายภาพเนอื ไม้ มี รขู นาดเล็ก-ใหญ่ ผวิ หยาบ เชน่ ไมป้ ระดู่ ตะแบก เสลา มะเกลือ เคียม หลมุ พอ บุนนาค กรนั เกรา กล่มุ ไมเ้ นอื อ่อน ลักษณะกายภาพเนอื ไม้ ไร้ รพู รนุ ผวิ เนยี นสวย ยดื หยุน่ เชน่ ไมโ้ อ๊ค สน ยางแดง ยางพารา จาํ ปาปา กระบาก สกั ทอง อินทนลิ พะยอม พญาไม้ กะบาก กระเจา (หลายคนอาจเขา้ ใจผดิ วา่ ไมส้ กั เปนไมเ้ นอื แขง็ แท้จรงิ แล้วไมส้ กั ถกู จดั ในกล่มุ ไมเ้ นอื อ่อนทีมคี ณุ สมบตั ิแขง็ แรงทนทาน)

2.âÅËÐ (Metal) โลหะ คือ วสั ดทุ ีประกอบดว้ ย ธาตโุ ลหะทีมอี ิเล็กตรอนอิสระอยู่ มากมาย นนั คืออิเล็กตรอนเหล่า นไี มไ่ ดเ้ ปนของอะตอมใดอะตอม หนงึ โดยเฉพาะ ทําใหม้ คี ณุ สมบตั ิ พเิ ศษหลายประการ เชน่

• เปนตัวนาํ ไฟฟาและนาํ ความรอ้ นไดด้ มี าก • ไมย่ อมใหแ้ สงผา่ น • ผวิ ของโลหะทีขดั เรยี บจะมลี ักษณะเปนมนั วาว • มจี ุดเดอื ดและ จุดหลอมเหลวสงู สว่ นใหญม่ สี ถานะเปน ของแขง็ (ยกเวน้ ปรอทซงึ มสี ถานะเปนของเหลว) • โลหะมคี วามแขง็ และเหนยี ว จงึ สามารถแปรรปู ไดจ้ งึ ถกู ใช้ งานในดา้ นโครงสรา้ งอยา่ งกวา้ งขวาง ธาตทุ ีมสี มบตั ิความเปนโลหะสงู คือ ธาตทุ ีสามารถให้ หรอื สญู เสยี อิเล็กตรอนแก่ธาตอุ ืน ๆ ไดด้ ี ธาตสุ ว่ นใหญใ่ นตารางธาตเุ ปนโลหะ และจะอยูด่ า้ นซา้ ยของ ตาราง โดยความเปนโละหะจะค่อย ๆลดลงจากซา้ ยไปขวา โลหะทีมมี ากทีสดุ ในโลก คือ อะลมู เิ นยี ม ประเภทของวสั ดโุ ลหะ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน 2 ประเภท ดงั นี 1. วสั ดโุ ลหะประเภทเหล็ก (ferrous metals) 2. โลหะทีไมใ่ ชเ่ หล็ก (non-ferrous metals)[ วสั ดโุ ลหะประเภทเหลก็ โลหะที่ไมใชเ หลก็

3.¾ÅÒʵԡ (Plastic) พลาสติก เปนสารประกอบ อินทรยี ท์ ีสงั เคราะหข์ นึ ใชแ้ ทน วสั ดธุ รรมชาติบางชนดิ เมอื เยน็ ก็แขง็ ตัว เมอื ถกู ความรอ้ นก็ อ่อนตัว บางชนดิ แขง็ ตัวถาวร มี หลายชนดิ เชน่  ไนลอน ยาง เทียม ใชท้ ําสงิ ต่าง ๆ เชน่  เสอื ผา้  ฟล์ม ภาชนะ สว่ น ประกอบของยานพาหนะ

พลาสติกแบง่ ออกเปน 2 ประเภท คือ เทอรโ์ มพลาสติก และ เทอรโ์ ม เซตติงพลาสติก เทอรโ์ มพลาสติก เทอรโ์ มพลาสติก (Thermoplastic) หรอื เรซนิ เปนพลาสติกทีใชก้ ัน แพรห่ ลายทีสดุ ในโลก ไดร้ บั ความรอ้ นจะอ่อนตัว และเมอื เยน็ ลงจะแขง็ ตัว สามารถเปลียนรปู ได้ พลาสติกประเภทนโี ครงสรา้ งโมเลกลุ เปนโซ่ ตรงยาว มกี ารเชอื มต่อระหวา่ งโซพ่ อลิเมอรน์ อ้ ย มาก จงึ สามารถ หลอมเหลว หรอื เมอื ผา่ นการอัดแรงมากจะไมท่ ําลายโครงสรา้ งเดมิ ตัวอยา่ ง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพลิ ีน พอลิสไตรนี มสี มบตั ิพเิ ศษคือ เมอื หลอมแล้วสามารถนาํ มาขนึ รปู กลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ ชนดิ ของพลาสติกใน ตระกลู เทอรโ์ มพลาสติก ไดแ้ ก่ • พอลิเอทิลีน (Polyethylene: PE) • พอลิโพรพลิ ีน (Polypropylene: PP) • พอลิสไตรนี  (Polystyrene: PS) • SAN (styrene-acrylonitrile) • ABS (acrylonitrile-butadiene-styrene) • พอลิไวนลิ คลอไรด ์ (Polyvinylchloride: PVC)  • ไนลอน (Nylon) • พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate: PET)  • พอลิคารบ์ อเนต (Polycarbonate: PC)

เทอรโ์ มเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic) เปน พลาสติกทีมสี มบตั ิพเิ ศษ คือทนทานต่อการเปลียนแปลงอุณหภมู ิ และทนปฏิกิรยิ าเคมไี ดด้ ี เกิดคราบและรอยเปอนไดย้ าก คงรปู หลัง การผา่ นความรอ้ นหรอื แรงดนั เพยี งครงั เดยี ว เมอื เยน็ ลงจะแขง็ มาก ทนความรอ้ นและความดนั ไมอ่ ่อนตัวและเปลียนรปู รา่ งไมไ่ ด้ แต่ถ้า อุณหภมู สิ งู ก็จะแตกและไหมเ้ ปนขเี ถ้าสดี าํ พลาสติกประเภทนี โมเลกลุ จะเชอื มโยงกันเปนรา่ งแหจบั กันแนน่ แรงยดึ เหนยี วระหวา่ ง โมเลกลุ แขง็ แรงมาก จงึ ไมส่ ามารถนาํ มาหลอมเหลวได้ กล่าวคือ เกิดการเชอื มต่อขา้ มไปมาระหวา่ งสายโซข่ องโมเลกลุ ของพอลิเม อร์ (cross linking among polymer chains) เหตนุ หี ลังจาก พลาสติกเยน็ จนแขง็ ตัวแล้ว จะไมส่ ามารถทําใหอ้ ่อนไดอ้ ีกโดยใช้ ความรอ้ น หากแต่จะสลายตัวทันทีทีอุณหภมู สิ งู ถึงระดบั การทํา พลาสติกชนดิ นใี หเ้ ปนรปู ลักษณะต่าง ๆ ต้องใชค้ วามรอ้ นสงู และ โดยมากต้องการแรงอัดดว้ ย เทอรโ์ มเซตติงพลาสติก ไดแ้ ก่ • เมลามนี ฟอรม์ าลดไี ฮด ์ (melamine formaldehyde)  • ฟนอลฟอรม์ าดไี ฮต์ (phenol-formaldehyde)  • อีพอ็ กซ ี (epoxy) • พอลิเอสเตอร ์ (polyester) • ยูรเี ทน (urethane)  • พอลิยูรเี ทน (polyurethane)

4.ÂÒ§ (Rubber) ยาง คือวสั ดพุ อลิเมอรท์ ีประกอบดว้ ย ไฮโดรเจนและคารบ์ อน ยางเปนวสั ดทุ ีมี ความยดื หยุน่ สงู ยางทีมตี ้นกําเนดิ จาก ธรรมชาติจะมาจากของเหลวของพชื บาง ชนดิ ซงึ มลี ักษณะเปนของเหลวสขี าว คล้าย นาํ นม มสี มบตั ิเปนคอลลอยด ์ อนภุ าคเล็ก มี ตัวกลางเปนนาํ ยางในสภาพของเหลวเรยี ก วา่ นาํ ยาง ยางทีเกิดจากพชื นเี รยี กวา่ ยาง ธรรมชาติ ในขณะเดยี วกันมนษุ ยส์ ามารถสรา้ ง ยางสงั เคราะหไ์ ดจ้ ากปโตรเลียม

ยางสงั เคราะห์ ไดม้ กี ารผลิตมานานแล้ว ตังแต่ ค.ศ. 1940 ซงึ สาเหตทุ ี ทําใหม้ กี ารผลิตยางสงั เคราะหข์ นึ ในอดตี เนอื งจากการ ขาดแคลนยางธรรมชาติทีใชใ้ นการผลิตอาวุธ ยุทโธปกรณแ์ ละปญหาในการขนสง่ จากแหล่งผลิตใน ชว่ งสงครามโลกครงั ที 2 จนถึงปจจุบนั ไดม้ กี าร พฒั นาการผลิตยางสงั เคราะหเ์ พอื ใหไ้ ดย้ างทีมคี ณุ สมบตั ิ ตามต้องการในการใชง้ านทีสภาวะต่าง ๆ เชน่ ทีสภาวะ ทนต่อนาํ มนั ทนความรอ้ น ทนความเยน็ เปนต้น การใช้ งานยางสงั เคราะหจ์ ะแบง่ ตามการใชง้ านออกเปน 2 ประเภทคือ • ยางสาํ หรบั งานทัวไป (Commodity rubbers)  • ยางสาํ หรบั งานสภาวะพเิ ศษ (Specialty rubbers)

อ้างอิง https://www.google.com/url? sa=t&source=web&rct=j&url=ht tps://th.m.wikipedia.org/ wiki/%25E0%25B9%2582%25E0% 25B8%25A5%25E0%25B8%25AB %25E0%25B8%25B0&ved=2ahUKEw iK97jHo9LjAhVMQY8KHUjPBXoQFjA BegQIAhAB&usg=AOvVaw1D5t7- UX81vkX69dW-AKyi

จดั ทําโดย ด.ญ. ภานวุ รรณ ดมี ี เลขที 31 ม.2/4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook