เหด็ ปา ในหุบเขาลำพญา ISBN : 978-974-3144-92-4 ศูนย์วจิ ัยความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินนี าถ มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา 2552
เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา จัดทำและเผยแพร่โดย ศนู ยว์ จิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชนิ นีิ าถ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา เลขท่ี 133 ถนนเทศบาล 3 ตำบลสะเตง อำเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา 95000 โทรศัพท ์ : 0-7322-7151 - 60 ต่อ 1028 โทรสาร : 0-7322-7128 E-mail : [email protected] Website : www.yru.ac.th สงวนลิขสทิ ธ์ ิ 2552, ศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชนิ นี าถ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา การอ้างอิง ศนู ยว์ จิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพ เฉลมิ พระเกยี รติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ. (2552). เห็ดป่าใน หุบเขาลำพญา. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 156 หน้า. พมิ พ ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 1,000 เล่ม ISBN 978-974-3144-92-4 ออกแบบและพมิ พ ์ บรษิ ทั เอสพรนิ้ ท์ (2004) จำกดั โทร. 0-7325-5555
ภาพปกหนา้
“...สำหรับการปลูกปา่ ทดแทนนนั้ ควรถอื เปน็ งานเรง่ ดว่ น และน่าจะทดลองปลูกตน้ ไมช้ นิดโตเร็วคลุมแนวร่องน้ำ เสียก่อน เพือ่ ทำใหค้ วามชมุ่ ชน้ื ค่อยๆ ทวขี ึ้น และแผ่ขยายกว้างออกไปท้งั สองขา้ งร่องน้ำ อันจะทำใหต้ ้นไมง้ อกงามข้นึ และจะมสี ่วนชว่ ย ปอ้ งกนั ไฟป่าซึง่ จะเกิดข้นึ ง่าย หากป่าขาดความชุ่มชื้น สว่ นตน้ ไม้ทจี่ ะปลกู จะต้องมีทง้ั ต้นไม้ทคี่ ลมุ แหลง่ น้ำ ตน้ ไมย้ ดึ ดิน ไมผ้ ล ต้นไมใ้ ช้ทำฟนื ต้นไมใ้ ชใ้ นการก่อสรา้ ง ตลอดจนต้นไม้ที่มคี ่าทางเศรษฐกิจ เพอื่ ใหใ้ ชป้ ระโยชน์ ได้อยา่ งเอนกประสงค์...”
“...ข้าพเจา้ มคี วามภมู ใิ จในทรัพยากรธรรมชาติ ปา่ ไมแ้ ละสตั ว์ป่าของไทยมาก ขา้ พเจ้าเห็นวา่ เราควรใชท้ รพั ยากรเหล่านอี้ ยา่ งระมดั ระวัง และทำนุบำรงุ ใหค้ งอยตู่ ลอดไป มใิ ช่ใหป้ ระวตั ิศาสตร์จารึกไว้วา่ ทรพั ยากรธรรมชาติเหล่านีถ้ กู ทำลายหมดสนิ้ ไป ในระยะเวลาอันสั้นแค่ช่วงอายเุ รา...”
คำนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยการดำเนินงานของศูนย์วิจัยความหลากหลาย ทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ร่วมกับประชาชนชาวลำพะยา นักวิชาการท้ังในท้องถ่ินและระดับชาติ ได้รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเห็ดและการนำมาใช้ ประโยชน์ที่พบในพ้ืนท่ีหุบเขาลำพญา จัดพิมพ์เป็นหนังสือ “เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา” โดยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนชนิดเห็ดและการนำมาใช้ประโยชน์ด้านการบริโภค เป็นอาหารและยาสมุนไพร เพ่อื เป็นการเผยแพร่ให้ทราบกันโดยท่วั ไปว่าในหุบเขาลำพญา มีทรัพยากรอันทรงคุณค่า ซ่ึงเน่ืองจากเห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีใช้เป็นดัชนีเบื้องต้นเพื่อบอก ความอุดมสมบูรณ์ช่มุ ช้นื ของพ้นื ท่ไี ด้ นอกจากเป็นการรวบรวมความร้ทู ่มี ีในท้องถ่นิ แล้ว ศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ยังคาดหวังให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ได้เห็นคุณค่าเกิดความรู้สึกหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติในถิ่นกำเนิดอันจะนำไปสู่การอนุรักษ์ การศึกษาและพัฒนาการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืนตอ่ ไป คณะกรรมการศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ และบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ขอน้อมจิตอธิษฐาน ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลาย ขอถวายพระพรชัยมงคลแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จงทรงพระเจริญด้วย พระพลานามัย ทรงพระเกษมสำราญ พระชนมายุยืนนาน เปน็ ม่งิ ขวญั ของพสกนิกรชาวไทยตลอดไป (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ไกรสร ศรไี ตรรัตน)์ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา
คำนำ หนังสือ “เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา” เล่มน้ีได้จัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมชนิดเห็ดซ่ึง สำรวจพบในพื้นท่ีหุบเขาลำพญา เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์และมีความ หลากหลายทางชีวภาพสูงมากแห่งหน่ึงในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย นอกจาก จะมีความหลากหลายของพรรณไม้และพันธุ์สัตว์ต่างๆ แล้วยังพบความหลากหลายของ เห็ดราอีกด้วย ดังน้ันศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จึงรวบรวมชนิดเห็ดท่ีพบในหุบเขาลำพญา รายละเอยี ดของเนอื้ หาในเลม่ ประกอบด้วย ขอ้ มลู ทวั่ ไปของเหด็ ชอ่ื สามญั ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ช่ือวงศ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะแหล่งท่ีอยู่และการใช้ประโยชน์ โดยมี คณุ รตั เขตร์ เชยกลน่ิ , คณุ ธติ ยิ า บญุ ประเทอื ง และคณุ พชั ราภา ปยุ เงนิ จากศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) เป็นที่ปรึกษาและตรวจสอบความถูกต้องในการ จำแนกชนดิ เห็ด คณะผู้จัดทำหวังอย่างย่ิงว่า หนังสือ “เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา” เล่มน้ีคงเป็น ประโยชน์แก่ผู้สนใจในการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเห็ด เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยและ พัฒนาเพ่ือการใช้ประโยชน์จากเห็ดอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต รวมทั้งเป็นหนังสือ สำหรับผ้สู นใจทั่วไป ซ่ึงเปน็ สงิ่ หนง่ึ ทช่ี ่วยสรา้ งแรงจงู ใจใหม้ กี ารศกึ ษาค้นควา้ ตลอดจนเกดิ จิตสำนึกและตระหนักในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติอันนำไปสู่การอนุรักษ์ให้คงอยู่กับ ผืนป่าแหง่ นีต้ ลอดไป คณะผู้จดั ทำ
สารบัญ ความรูท้ ่วั ไปเกีย่ วกบั เหด็ 1 โครงสรา้ งของดอกเหด็ 5 วงจรชวี ติ ของเหด็ 11 การจดั จำแนกเหด็ 12 เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 21 ภาคผนวก 125 บรรณานุกรม 134 ดัชนี 139
ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกบั เหด็ เหด็ (Mushrooms) หมายถงึ สงิ่ มชี วี ติ ชน้ั ตำ่ จำพวกเหด็ รา(Fungi) ซงึ่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตเปน็ เสน้ ใย เม่ือถึงระยะที่จะสร้างเซลล์สืบพันธ์ุจึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนเป็นดอกเห็ด ซ่ึงมีรูปร่างและลักษณะ ท่ีแตกต่างกันมากมาย ข้ึนอยู่กับชนิดของเห็ดนั้นๆ โดยปกติแล้วดอกเห็ดมีรูปร่างคล้ายร่ม แต่อาจ พบเปน็ รปู ครงึ่ วงกลม รปู กระดมุ รปู ไมโครโฟน รปู ปะการงั รปู แกว้ แชมเปญ รปู รงั นก รปู ไขป่ ู รปู ฟองนำ้ สำหรับขนาดของเห็ดนั้นมีต้ังแต่ขนาดเล็กเท่าหัวไม้ขีดไฟไปจนถึงขนาดใหญ่เท่าลูกฟุตบอล สีดอก เหด็ มที ง้ั สที ส่ี วยสะดดุ ตาและสที ก่ี ลมกลนื ไปกบั สภาพแวดลอ้ ม เชน่ สแี ดง สเี หลอื ง สสี ม้ สชี มพู สขี าว สีดำ สนี ้ำตาล สีฟา้ สเี ขียว เป็นต้น เหด็ ราขนาดใหญถ่ ูกจดั ไวใ้ น 2 phylum คือ Basidiomycota และ Ascomycota แต่ส่วนใหญ่อยู่ใน phylum Basidiomycota ซึ่งสร้างสปอร์ที่มีช่ือเรียกว่า basidiospore สปอร์ชนิดน้ีเกิดอยู่ภายในโครงสร้างท่ีมีรูปร่างคล้ายกระบองเรียกว่า basidium นอกจากน้ีพบเห็ดราขนาดใหญ่อยู่ใน phylum Ascomycota เช่น scarlet cup (Hygrophorus coccineal) ความสำคัญของเห็ดรา เห็ดและราเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดรวมอยู่ในกลุ่มเชื้อรา นักวิทยาศาสตร์ได้จัดให้อยู่ใน อาณาจักรของส่ิงมีชีวิตท่ีแยกจากพืช สัตว์ และแบคทีเรีย โดยจัดให้อยู่ใน Kingdom Mycota หน้าที่สำคัญของกลุ่มเชื้อรา คือ การรักษาสมดุลของชีวิตในการนำสารอินทรีย์ต่างๆ มาใช้ใหม่ หน้าที่เช่นนี้แม้ว่าจะคล้ายกับหน้าท่ีของเช้ือแบคทีเรียแต่มีข้อแตกต่างคือ เช้ือแบคทีเรียส่วนใหญ่จะ เจริญเติบโตจากพ้ืนผิวภายนอกสู่พื้นท่ีภายใน ซ่ึงเป็นกระบวนการย่อยสลายที่เกิดได้ช้ามากหากเป็น วัตถุช้ินใหญ่ๆ ตรงกันข้ามกับเช้ือราซึ่งเจริญเติบโตในรูปของเส้นใยท่ีมีลักษณะเป็นสายคล้ายเส้นด้าย สามารถแทรกเขา้ ไปในวตั ถแุ ขง็ ๆ เชน่ ไม้ และสามารถยอ่ ยสลายจากภายในออกมาภายนอก สงิ่ มชี วี ติ ท้ังสองกลุ่มนี้ช่วยกันทำให้เกิดการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต ถึงแม้มีเชื้อราจำนวนหนึ่งหลุดรอดจาก ธรรมชาตจิ ากทเ่ี คยอยใู่ นดนิ มาทำใหเ้ กดิ โรคในคน หรอื บางครง้ั อาจสรา้ งปญั หาใหก้ บั เกษตรกรโดยทำให้ เกดิ โรคในพชื หรอื สรา้ งปญั หาใหแ้ กเ่ ราเมอ่ื มนั เขา้ ทำลายเครอื่ งหนงั ยอ่ ยสลายไม้ หรอื ปนเปอ้ื นในอาหาร ในทางกลับกันเรานำเช้ือราอีกหลายชนิดมาใช้ในอุตสาหกรรม เช่น การใช้เชื้อราในการผลิตอาหาร เครอ่ื งดม่ื ยาปฏชิ วี นะ และวติ ามนิ สำหรบั เหด็ ขนาดใหญเ่ รานำมาประกอบอาหารหรอื เปน็ ยาสมนุ ไพรก็ได้ ในประเทศไทยสามารถพบเหด็ ไดใ้ นเขตปา่ เขาทม่ี ฝี นตกชกุ พอประมาณ จงึ พบมากในภาคใต้ ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จากการสำรวจพบว่าประเทศไทยมเี หด็ ประมาณ 450 ชนดิ คดิ เป็นร้อยละ 0.5 ของเหด็ ทีม่ ีอยูบ่ นโลก ซ่งึ มปี ระมาณ 100,000 ชนดิ พนั ธ ์ุ เราสามารถแบ่งความ สำคญั ของเห็ดไดด้ งั นี้ เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา 1
1. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เห็ดมีความสำคัญมากด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะช่วยย่อยสลายซากพืชซากสัตว์และ มูลสัตว์ เป็นราเบียนกับต้นไม้หรือเห็ด หรือราด้วยกันเอง การย่อยสลายส่ิงมีชีวิตอื่นของเห็ดเป็น กระบวนการหนงึ่ ทเี่ ปลยี่ นรปู ซากสงิ่ มชี วี ติ ใหก้ ลายเปน็ ธาตอุ าหารหลายๆ ชนดิ และสง่ ตอ่ ใหก้ บั สง่ิ มชี วี ติ อน่ื ไดใ้ ช้ประโยชน์ตอ่ ไปโดยเฉพาะพืช 2. ด้านอาหาร ปัจจุบันเห็ดราเป็นอาหารท่ีนิยมรับประทานกันหลายชนิด ท้ังแบบสด แบบกระป๋อง แบบตากแห้ง เชน่ เหด็ หอม เห็ดหูหนู เป็นตน้ เห็ดเปน็ แหลง่ อาหารทีม่ ีโปรตีนคณุ ภาพสงู มีธาตุเหลก็ แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั วติ ามินบรี วม และมีกรดอะมโิ นต่างๆ ที่ร่างกายต้องการ โดยเฉพาะกรดอะมโิ น กลตู ามิคท่ชี ว่ ยเพ่มิ ความอร่อยในการรับประทานอาหาร นอกจากนเี้ หด็ ยังเป็นอาหารที่ปราศจากไขมนั มีปรมิ าณนำ้ ตาลและเกลือต่ำ เห็ดท่ีกินได้ จัดเป็นอาหารมีคุณค่าเทียบเท่ากับกินผัก ดอกเห็ดมีน้ำเป็นองค์ประกอบถึง รอ้ ยละ 90 นอกจากนนั้ เป็นโปรตนี ไขมนั เกลือแร่ และไวตามนิ ซง่ึ มไี วตามินบี 1 และ ไวตามนิ บี 2 ยกเวน้ เหด็ สเี หลอื ง มไี วตามนิ เอมากกวา่ ชนดิ อน่ื ๆ แตเ่ หด็ จดั เปน็ อาหารทย่ี อ่ ยยาก เนอ่ื งจากมเี สน้ ใยมาก ผู้ทมี่ ีโรคประจำตัวเกยี่ วกับระบบยอ่ ยอาหารไม่ควรรับประทานมากเกนิ ไป เห็ดแบ่งเปน็ 2 กลุ่ม คอื 2.1 เห็ดกินได้ (edible mushroom) เช่น เห็ดหอม (ภาพที่ 1) เห็ดฟาง (ภาพที่ 2) มีรสหวานและกลิ่นหอมชวนรับประทาน บางชนิดมีกลิ่นเหม็นทำให้เวียนศีรษะ เช่น เห็ดร่างแห (ภาพท่ี 3) บางชนดิ มรี สขม เชน่ เหด็ เสมด็ (ภาพที่ 4) บางชนดิ มรี สเผ็ดชา เช่น เหด็ ขิง (ภาพที่ 5) และเห็ดข่า (ภาพที่ 6) ภาพท่ี 1 เหด็ หอม ภาพที่ 2 เหด็ ฟาง Lentinus edodes (Berk.) Sing Volvariela volvacea (Bul. ex. Fr.) Sing 2 เหด็ ป่าในหบุ เขาลำพญา
ภาพที่ 3 เหด็ รา่ งแห ภาพท่ี 4 เหด็ เสม็ด Dictyophora indusiata (Pers.) Fisch. Tylopilus subrobrunneus Mazzer & Smith ในประเทศจีนนำเห็ดร่างแหมาผลิตเป็นการค้า โดยตัดฐานดอกและเย่ือหุ้มดอกออกแล้ว ตากแหง้ ใชเ้ ปน็ อาหาร เรียกวา่ เยอื่ ไผ่ ภาพที่ 5 เห็ดขิง ภาพท่ี 6 เห็ดข่า Lactarius piperatus (Fr.) S. F. Gray Lactarius flavidulus Imai 2.2 เหด็ มพี ษิ (poisonous mushroom หรอื toadstool) มหี ลายชนดิ ชนดิ ทม่ี พี ษิ รา้ ยแรงถงึ ตาย เช่น เห็ดระโงกหิน (ภาพท่ี 7) บางชนิดมีพิษทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ คล่ืนไส้ อาเจียน เช่น เห็ดหวั กรวดครบี เขียวอ่อน (ภาพที่ 8) เหด็ แดงนำ้ หมาก (ภาพที่ 9) บางชนดิ กินเพียงเล็กน้อยทำให้ เกดิ จนิ ตนาการเปน็ ภาพหลอนคลา้ ยเสพยาเสพตดิ เรยี กเหด็ ชนดิ นวี้ า่ เหด็ โอสถลวงจติ (halucinogenic mushroom) เชน่ เห็ดขค้ี วาย (ภาพท่ี 10 ) เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา 3
ภาพที่ 7 เหด็ ระโงกหนิ ภาพท่ี 8 เห็ดหัวกรวดครีบเขียวออ่ น Amanita verna (Bul. ex. fr.) Vitt. Chlorophylum molybdites (Meyr. ex. Fr.) ภาพที่ 9 เห็ดแดงน้ำหมาก ภาพท่ี 10 เหด็ ขคี้ วาย Russula emetica Psilocybe cubensis Earle (Schaeff. ex. Fr.) Pers. Fr. Gray. 3. ดา้ นสมุนไพร เห็ดท่ีข้ึนชื่อในด้านยารักษาโรคคือ เห็ดหลินจือ ซ่ึงเป็นที่รู้จักกันอีกอย่างหนึ่งว่า “เห็ดพันปี” เป็นเห็ดสมุนไพรท่ีหายาก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในป่าเขาของประเทศจีน นอกจากใช้เป็นยาโดยตรงแล้ว ประเทศญี่ปุ่น ยังนิยมนำเห็ดมาปรุงเป็นน้ำแกงและอาหารบำรุงร่างกาย ซึ่งมีรายงานวิจัยเก่ียวกับเห็ด มากกว่า 30 ปี ที่ยืนยันว่าในเห็ดมีสารบางอย่างที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและ ลดความเสยี่ งตอ่ โรคหลอดเลือด 4. ดา้ นเศรษฐกจิ เห็ดหลายชนิดได้รับการส่งเสริมให้เพาะเล้ียงเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น เห็ดฟาง เหด็ นางฟา้ เห็ดหหู นู เห็ดเป๋าฮื้อ เหด็ กระดา้ ง เป็นต้น 4 เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา
โครงสรา้ งของดอกเหด็ ดอกเห็ดประกอบด้วยโครงสร้างต่างๆ ดังน้ี หมวกเห็ด ครีบ ก้านดอก ปลอกหุ้มโคน และ วงแหวน ภาพท่ี 11 โครงสร้างของเหด็ 1. หมวกเห็ด (Cap) คือ ส่วนปลายสุดของดอกเห็ดที่เจริญเติบโตไปในอากาศ เมื่อดอกเห็ด บานเตม็ ทจี่ ะกางออก มลี กั ษณะรปู ทรงคลา้ ยรม่ กาง ขอบงมุ้ ลง หรอื แบนราบ หรอื กลางหมวกเวา้ เปน็ แอง่ มีรูปเหมอื นกรวยปากกวา้ ง ดังภาพที่ 12 เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา 5
ชามควำ่ หรอื นนู ระฆัง ถ้วยระฆงั รูปไข ่ รูปคร่ึงไข่ รูปไขย่ าว แบนราบ ร่ม นวม กรวยควำ่ กรวยตื้น กรวยลึก จานรอง รปู กระบอง รูปครึ่งวงกลม รูปพัด ภาพท่ี 12 ลักษณะของหมวกเหด็ 6 เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา
2. ครบี หรอื รวิ้ ทอี่ ยใู่ ตห้ มวกเหด็ (Gil) คอื สว่ นทอี่ ยดู่ า้ นลา่ งของหมวก เรยี งเปน็ รศั มรี อบกา้ นดอก การเรียงจะแตกต่างกันตามชนิดของเห็ด บางชนิดไม่มีครีบ แต่จะมีรู (pores) เช่น เห็ดหลินจือ หรอื บางชนิดเป็นฟนั เลือ่ ย เชน่ เห็ดหูหนู ไม่ตดิ ก้าน ตดิ กา้ นเลก็ นอ้ ย ติดแนบไปกับก้าน หยักเว้ากอ่ นตดิ ก้าน โค้งลงไปติดก้านเลก็ นอ้ ย เรยี วยาวลงไปติดก้าน ภาพที่ 13 ลกั ษณะการตดิ ของครบี กับกา้ น หา่ งมาก หา่ งแบบมคี รบี ยอ่ ย ใกลก้ นั เรียงชดิ กนั แยกสองแฉก สานกนั เปน็ ตาขา่ ย เรียงไม่สม่ำเสมอ ภาพท่ี 14 การเรยี งตวั ของครีบ เทา่ กนั ไมเ่ ท่ากัน บาง หนา ภาพที่ 15 ความยาวและความกว้างของครีบ เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา 7
เรียบ หยักซี่ฟันเล่อื ย หยักแบบรอยกดั เซาะ หยกั มน หยักไมเ่ ทา่ กัน คล่ืน ภาพที่ 16 ลักษณะของครีบ 3. ก้านดอก (Stripe) มขี นาดใหญแ่ ละยาวแตกต่างกัน สว่ นมากเป็นรปู ทรงกระบอก ด้านบนจะ ยดึ ตดิ กบั หมวกหรอื ครบี ดา้ นใน ผวิ กา้ นมที ง้ั ผวิ เรยี บ ขรขุ ระ มขี น หรอื บางชนดิ มเี กลด็ บางชนดิ ไมม่ กี า้ น เช่น เหด็ เผาะ รปู ทรงกระบอก รปู หอก รปู ลิ่ม รหปู รขือวกดรกะน้ เปกาละม ภาพที่ 17 รปู รา่ งก้านดอก เปน็ รว้ิ ยน่ สันนนู ขรุขระ เรียบ ภาพท่ี 18 ลกั ษณะผวิ กา้ นดอกเห็ด 8 เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา
4. ปลอกหุ้มโคน (Volva) คือ ส่วนท่ีหุ้มตรงโคนก้านหรือส่วนเย่ือช้ันนอกสุดหุ้มดอกเห็ด ทง้ั ดอกไวใ้ นระยะทเ่ี ปน็ ดอกตมู เรยี กวา่ “outer veil” เชน่ เหด็ บวั หรอื เหด็ ฟาง (Volvariela volvacea) เห็ดระโงกขาว (Amanita vaginata) เม่ือดอกเห็ดโตข้ึนเปลือกหุ้มตอนบนจะแตกออก เพื่อให้หมวก เห็ดและก้านดอกยืดตัวชูสูงข้ึนมาในอากาศ ท้ิงให้เปลือกหุ้มอยู่ที่โคนก้านมองดูคล้ายก้านดอกเห็ดตั้ง อยใู่ นถว้ ย บางชนิดเย่ือหมุ้ ไมเ่ ปน็ รูปถว้ ยแต่เปน็ เกลด็ รอบโคนก้าน บางชนดิ มเี ส้นใยหยาบคล้ายเสน้ ดา้ ย ทำหน้าท่ียึดดอกเหด็ ใหต้ ิดกบั พ้ืน เปน็ ถงุ เกลด็ กำมะหยี่ กระเปาะกลม ภาพท่ี 19 ลกั ษณะปลอกหมุ้ โคน 5. วงแหวน (Ring) หรอื ม่าน (Vein) ประกอบดว้ ยเนื้อเยื่อบางๆ สำหรบั ยึดก้านดอก และขอบ หมวกของเห็ดให้ติดกันเมื่อเป็นดอกอ่อน เมื่อหมวกดอกกางออกเย่ือน้ีจะขาดออกจากขอบหมวก แต่ยังคงมีเศษส่วนท่ียึดติดกับก้านดอกคล้ายกับมีวงแหวนหรือแผ่นบางๆ สวมอยู่ เรียกว่า เยื่อหมวก (partial vein) วงแหวนน้ีสามารถเล่ือนข้ึนลงได้โดยไม่ยึดติดกับก้านดอกวงแหวนบางชนิดจะหลุดเป็น ปลอกจากโครงสรา้ งนจ้ี ำแนกเห็ดออกเปน็ 2 กลมุ่ คอื 5.1 เห็ดท่ีมีวงแหวน (Mushrooms with Veils) มีลักษณะคล้ายร่มหรือกรวยใต้หมวกเห็ด เป็นครีบมีสันเรียบคล้ายใบมีด มีส่วนของเน้ือเย่ือหุ้มทั้งหมดหรือบางส่วนของดอกเห็ด บางคร้ังอาจพบ เศษเน้ือเย่ือหุ้มบริเวณริมขอบหมวก หากเนื้อเย่ือนั้นหุ้มส่วนของดอกเห็ดไว้ท้ังหมด จะเรียกว่า “universal veil” แตห่ ากคลุมเฉพาะส่วนครีบไวเ้ ท่าน้นั จะเรยี กวา่ “partial veil” ซ่ึงจะขาดหรอื หลดุ ออก เมอ่ื โตขึน้ เศษเนือ้ เย่ือของ universal veil ที่ฉกี ขาด มกั หลงเหลืออยู่บรเิ วณส่วนบนของหมวกเหด็ หรือ ส่วนของก้านที่เป็นวงแหวนล้อมรอบก้าน ซ่ึงอาจจะปรากฏอยู่จนกระท่ังโตเต็มท่ีหรือหลุดขาดหายไป ทำให้เข้าใจว่าไม่มีวงแหวน เห็ดที่มีวงแหวน ได้แก่ เห็ดระโงก (Amanita hemibapha) เห็ดนกยูง (Macrolepiota dolichaula) เหด็ ขคี้ วาย (Psilocybe cubensis) 5.2 เห็ดท่ีไม่มีวงแหวน (Mushrooms without Veils) เป็นเห็ดท่ีมีลักษณะคล้ายร่ม ไม่มีวงแหวนท่ีส่วนก้าน และด้านใต้หมวกเห็ดมีลักษณะเป็นครีบ (gill) ขณะท่ียังเป็นดอกอ่อนจะไม่มี เนอื้ เยอ่ื มาหอ่ หุ้มสว่ นต่างๆ ของดอกไว้ เช่น เห็ดฟาง (ฟาน) สีเหลอื งทอง หรอื “golden Latarius” (Lactarius hygrophoroides) เห็ดพุงหมู (Russula foetens) เห็ดจนั่ หรอื เห็ดตับเตา่ ขาว (Tricholoma crassum) เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 9
แผน่ หอ้ ยลง วงแหวน เส้นใยบางๆ ภาพที่ 20 รปู แบบวงแหวน ตอนบน ตอนกลาง ตอนล่าง ภาพที่ 21 ตำแหนง่ วงแหวน 10 เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา
วงจรชีวิตของเห็ด วงจรชีวิตของเห็ดทุกชนิดมีลักษณะคล้ายกัน คือเม่ือตุ่มดอกเห็ดมีขนาดใหญ่ข้ึน ผิวดอก จะปรแิ ตกออกทำให้ “สปอร์” (Spores) จำนวนนับล้านจากครบี (Gils) ปลิวออกมา เมื่อตกไปอยู่ใน สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมก็จะงอกเป็นเส้นใย (hypha) เจริญต่อไปเป็นกลุ่มเส้นใย (mycelium) แล้วรวมกันเป็นกลุ่มก้อนเกิดเป็นดอกเห็ด (fruiting body) เม่ือดอกเห็ดเจริญเติบโตขึ้นก็จะสร้าง สปอร์ เม่ือปลิวหรือหลุดไปงอกเป็นเส้นใย และเจริญต่อไปได้อีกหมุนเวียนเช่นน้ีเร่ือยไปเป็นวัฏจักร โครงสร้างพ้ืนฐานของเห็ดราประกอบด้วย “เส้นใย” (hypha) เส้นใยเหล่านี้จะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ เราจะพบเหน็ เสน้ ใยได้ กต็ อ่ เมอื่ เสน้ ใยเหลา่ นเ้ี จรญิ เตบิ โตบนพนื้ ผวิ ในลกั ษณะเปน็ “กลมุ่ กอ้ นของเสน้ ใย” (mycelia) แล้วเทา่ น้ัน ภาพที่ 22 แสดงวงจรชวี ิตของเหด็ เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา 11
การจดั จำแนกเหด็ การจัดจำแนกเห็ดสามารถจำแนกได้หลายแบบ ข้ึนอยู่กับเกณฑ์ต่างๆ เช่น การเป็นอาหาร แหล่งท่อี ยู่ ลักษณะของแหล่งกำเนดิ สปอร์หรอื ลักษณะอบั สปอร์ 1. จำแนกตามคุณสมบัตกิ ารเป็นอาหาร แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1.1 เหด็ กินได้ (Edible mushroom) มีลักษณะดังนี้ 1.1.1 ไม่มขี อบวงหรือวงแหวน 1.1.2 ไมม่ ีเปลือกหุม้ (คลา้ ยถ้วย) ท่ีโคนกา้ นดอกเห็ด 1.1.3 จะมเี สน้ เป็นแฉกลกึ อยใู่ ตต้ วั เหด็ หรือไมม่ ีก็ได้ 1.2 เห็ดมพี ิษ (poisonous mushroom หรอื toad stool) มลี ักษณะดังน้ี 1.2.1 มสี ีเขม้ จดั เชน่ แดง สม้ ดำ หรอื มีสีฉูดฉาด 1.2.2 มแี ผ่น หรอื เกล็ดขรขุ ระบนหมวกเหด็ 1.2.3 เม่ือดมมีกลนิ่ เหมน็ แปลกๆ 1.2.4 บรเิ วณขอบหมวกเห็ดจะมหี ยักอยูร่ อบๆ 1.2.5 มีขอบวงหรือวงแหวน 1.2.6 มนี ำ้ เมอื ก หรือน้ำยางสีขาวออกมาเมอ่ื กรดี ทหี่ มวกเห็ด 1.2.7 มีครบี ทอ่ี ยู่ใตห้ มวก 2. จำแนกตามสภาพแหล่งที่อยู่ สามารถแบง่ ได้ 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 เห็ดแซบโปรไฟต์ (saprophytic mushroom) คอื เห็ดทเี่ จรญิ อยู่บนซากส่ิงมีชีวิตตา่ งๆ ทก่ี ำลงั ย่อยสลายผุพงั 2.2 เห็ดพาราไซต์ (parasitic mushroom) คือ เหด็ ทเ่ี จริญอยู่บนสง่ิ มชี ีวิต เช่น เหด็ หิง้ ที่ เกดิ อย่บู รเิ วณลำต้นของตน้ ไม้ใหญ่ท่ยี ังมชี วี ิต 2.3 เห็ดไมคอร์ไรซา (mycorrhizal mushroom) คอื เห็ดท่มี เี ส้นใยเจรญิ อยกู่ บั รากของพชื ชัน้ สงู ทม่ี ชี ีวติ ในแบบพง่ึ พาอาศัยกนั คือ เหด็ ไดร้ ับสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตท่พี ืชสงั เคราะห์ข้ึน มาใช้ในการเจริญเติบโต สว่ นพืชได้รบั ธาตอุ าหารต่างๆ ท่ีเสน้ ใยเห็ดดดู ข้ึนมาจากดนิ 3. จำแนกตามรปู ร่างลักษณะของแหลง่ กำเนิดสปอร์ สามารถแบง่ ได้ 14 กลมุ่ ดังนี้ 3.1 กลุม่ เหด็ ทมี่ ีครบี ( Agarics or Giled mushrooms) ดอกเห็ดมีหมวก อาจจะมกี ้านหรอื ไม่มีกา้ น ดา้ นลา่ งของหมวกมีลกั ษณะเปน็ ครีบและ เปน็ ทเ่ี กิดของสปอร์ ดอกเห็ดขน้ึ บนดิน หรอื บนท่อนไม้ ใบไมผ้ ุ หรือบนมูลสัตว ์ 12 เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา
ภาพท่ี 23 กลุม่ เห็ดท่ีมคี รบี 3.2 กล่มุ เห็ดมนั ปู (Chantereles) ดอกเหด็ มีหมวก และกา้ นรูปร่างคลา้ ยแตรหรอื แจกนั ปากบาน ผนงั ด้านนอกของกรวย อาจจะเรยี บ หรอื หยักยน่ หรือเป็นรอ่ งตน้ื ๆ สปอร์เกดิ อยู่บนผนังดา้ นน้ ี ดอกเหด็ ขึ้นบนดิน ภาพที่ 24 กลมุ่ เห็ดมันปู 3.3 กลุม่ เห็ดตับเต่า (Boletes) ดอกเหด็ มีหมวกและกา้ น มเี น้อื ออ่ นนิ่ม ด้านลา่ งของหมวกมีลักษณะคล้ายฟองนำ้ ทม่ี ี รูพรุน ชน้ั ทีม่ ีรนู ถ้ี ูกดึงแยกออกจากหมวกได้ สปอรเ์ กดิ อยภู่ ายในรู ตามปกติดอกเหด็ ขน้ึ อยบู่ นดิน ภาพท่ี 25 กลุ่มเห็ดตบั เตา่ เห็ดป่าในหบุ เขาลำพญา 13
3.4 กลมุ่ เหด็ ห้งิ (Polypores and Bracket fungi ) ดอกเหด็ มีรปู รา่ งคลา้ ยชน้ั หรอื ห้ิง หรือคลา้ ยเคร่อื งหมายวงเล็บ หรือคล้ายพัด ไมม่ ีก้าน หรือมีก้านที่อยู่เยื้องไปทางด้านหนึ่งของหมวก หรือติดอยู่ทางด้านข้างของหมวก ส่วนใหญ่เน้ือเหนียว และแข็งคล้ายเนื้อไม้ ด้านล่างหรือด้านหลังของหมวกมีรูขนาดเล็กเรียงกันแน่น และภายในรูเป็น ท่ีเกิดของสปอร์ ชั้นท่ีเป็นรูไม่สามารถแยกออกมาจากส่วนหมวกได้ ตามปกติข้ึนอยู่บนไม้ แต่อาจ พบขนึ้ บนดินได้ ภาพท่ี 26 กลมุ่ เหด็ หง้ิ 3.5 กล่มุ เห็ดแผ่นหนัง ( Leather-bracket fungi ) ดอกเห็ดรูปร่างคล้ายเครื่องหมายวงเล็บหรือคล้ายพัด ไม่มีก้าน มีลักษณะเป็นแผ่น บางเหนียว มักเรียงซ้อนกันหรือข้ึนอยู่ติดๆ กัน ด้านบนของหมวกมีสีอ่อนแก่สลับกันเป็นวงบนผิว หมวกอาจมีขนส้ันๆ ด้านตรงข้ามซ่ึงเป็นที่เกิดของสปอร์มีลักษณะเรียบ หรือเป็นรอยนูนขึ้นลง บางชนิดขน้ึ บนดนิ บางชนิดข้นึ บนไม้ ภาพที่ 27 กล่มุ เหด็ แผน่ หนงั 14 เห็ดป่าในหบุ เขาลำพญา
3.6 กลมุ่ เห็ดหหู นู (Jely fungi) ดอกเห็ดมรี ปู รา่ งหลายแบบ อาจเหมือนใบหู เนอ้ื บางคลา้ ยแผน่ ยาง น่ิมและเป็นเมือก สปอรเ์ กดิ อยูท่ างด้านทีม่ รี อยยน่ หรือมรี อยเส้นแตกแขนง ขึ้นบนไม้ผใุ นทีช่ ้นื ภาพท่ี 28 กลุ่มเหด็ หหู นู 3.7 กลุม่ เห็ดท่ีเป็นแผ่นราบไปกบั ท่อนไม้ (Crust and Parch fungi) ดอกเหด็ เปน็ แผน่ แขง็ ตดิ บนไม้ หรอื มขี อบดอกโคง้ งอออกจากทอ่ นไมค้ ลา้ ยหงิ้ เนอ้ื เหนยี ว และไมเ่ ปน็ เมอื ก ดา้ นทอ่ี ยตู่ รงขา้ มกบั ทอ่ นไม้ คอื ทเ่ี กดิ ของสปอร์ อาจมลี กั ษณะเรยี บ ยน่ เปน็ เสน้ คดเคยี้ ว หรอื นนู เปน็ ปมุ่ ภาพที่ 29 กลมุ่ เห็ดที่เปน็ แผน่ ราบไปกบั ท่อนไม้ เหด็ ป่าในหุบเขาลำพญา 15
3.8 กลุ่มเห็ดฟันเลอ่ื ย (Tooth fungi) ดอกเหด็ อาจมหี มวกและกา้ น หรอื ไมม่ กี า้ นกไ็ ด้ ดา้ นลา่ งของหมวกมลี กั ษณะคลา้ ยซเ่ี ลอื่ ย หรือหนามแทงลงพ้ืนดนิ สปอรเ์ กดิ อยู่ทซ่ี ี่เล่อื ยหรอื หนามนี้ ดอกเห็ดอาจขน้ึ จากดนิ หรือข้ึนบนไม้ ภาพท่ี 30 กลุ่มเห็ดฟนั เลอ่ื ย 3.9 กลมุ่ เห็ดปะการงั และเหด็ กระบอง (Coral and Club fungi) ดอกเหด็ ตงั้ ตรง อาจแตกแขนงเปน็ กง่ิ กา้ นเลก็ ๆ หรอื ตงั้ ตรงและพองออกตอนปลายดคู ลา้ ย กับกระบอง อยู่เด่ียวๆ หรือเป็นกลุ่ม สปอร์เกิดบนผนังด้านนอกของกระบองและตามกิ่งแขนง ขน้ึ บนดนิ หรอื บนไม้ ภาพที่ 31 กลุ่มเห็ดปะการงั และเหด็ กระบอง 16 เห็ดป่าในหบุ เขาลำพญา
3.10 กลมุ่ เห็ดรปู ร่มหบุ (Gastroid Agarics) ดอกเห็ดรปู ร่างคลา้ ยรม่ หุบ คือมหี มวกและกา้ นอยู่ตรงกลางหมวก หมวกอยู่ในลกั ษณะ หุบงุ้ม ไม่กางออก เนื่องจากขอบหมวกติดอยู่กับก้าน ภายใต้หมวกมีแผ่นเน้ือเย่ือที่แตกเป็นร่องแยก ออกหลายแขนงมองดคู ลา้ ยครบี ทีบ่ ิดเบ้ยี ว เนือ้ เย่อื สว่ นนี้ คอื ทเ่ี กดิ ของสปอร์ ซ่งึ จะเปลี่ยนไปเปน็ ฝุ่นผง ทั้งหมด เม่ือดอกเห็ดแก่สปอร์ออกสู่ภายนอกได้ต่อเมื่อหมวกฉีกขาด จากรูปจะเห็นได้ว่าก้านดอกผ่าน ส่วนที่เป็นท่ีเกิดของสปอร์จนถึงยอดหมวก มักพบเห็ดชนิดนี้บนดินในท่ีร้อนและแห้งในทะเลทราย และบนภูเขาสงู ภาพท่ี 32 กลมุ่ เห็ดรปู ร่มหุบ 3.11 กลุ่มเหด็ ลกู ฝนุ่ และเหด็ ดาวดิน (Puffbals and Earthstars) ดอกเห็ดรูปทรงกลม รูปไข่ หรือรูปคล้ายผลสาล่ี บางชนิดเมื่อดอกแก่ผนังช้ันนอก แตกและบานออกคล้ายกลีบดอกไม้ สปอร์เกิดภายในส่วนท่ีเป็นทรงกลม เมื่ออ่อนผ่าดูเน้ือข้างในมี ลักษณะหยุ่นและออ่ นนมุ่ เมื่อแก่มีลกั ษณะเป็นฝุน่ ผง ดอกเห็ดอาจเกดิ บนดนิ หรอื บนไม้ ภาพที่ 33 กลุม่ เห็ดลูกฝุน่ และเหด็ ดาวดิน เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 17
3.12 กลุ่มเห็ดลูกฝนุ่ ก้านยาว (Stalked Puffbals) ดอกเห็ดเป็นรูปทรงกลมคล้ายกับกลมุ่ เหด็ ลูกฝุ่น แต่มกี ้านยาวชัดเจน ปลายก้านสน้ิ สุด ทฐ่ี านของรปู ทรงกลม สปอรม์ ลี กั ษณะเปน็ ฝนุ่ ผงเกดิ ภายในรปู ทรงกลม มกั จะพบในทะเลทราย ในทราย หรอื บนดินในทร่ี กร้าง ภาพท่ี 34 กลุ่มเห็ดลูกฝุ่นกา้ นยาว 3.13 กลุม่ เหด็ รงั นก (Bird’s nest fungi) ดอกเห็ดมีขนาดเล็ก ปกติมีเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 1 เซนติเมตร รูปร่างคล้าย รงั นกและมสี ่ิงท่มี องคลา้ ยไข่ รปู รา่ งกลมแบนวางอยูภ่ ายใน ภายในไข่เต็มไปดว้ ยสปอร์ ดอกเห็ดนี้เมื่อ ยงั อ่อนด้านบนของรงั มีเนื้อเยอ่ื ปิดห้มุ พบข้นึ บนไม้ผุ ภาพที่ 35 กลุ่มเห็ดรังนก 3.14 กลุ่มดอกเห็ดเขาเหม็น (Stinkhorns) ดอกเห็ดเมื่ออ่อนรูปร่างคล้ายไข่ ต่อมาส่วนของก้านค่อยๆ โผล่ดันเปลือกหุ้มจนแตก ออก เปลือกไข่ส่วนกลางกลายเป็นถุงหรือถ้วยหุ้มโคนดอกด้านบน ส่วนปลายก้านอาจจะมีหมวกหรือ ไม่มี สปอร์เป็นเมือกสีเข้มฉาบอยู่ ส่วนของก้านมีลักษณะพรุนและน่ิมมาก อาจมีร่างแหปกคลุม ก้านท่ีโผล่ออกมาจากเปลือก อาจแตกคล้ายหนวดปลาหมึกหรือพองเป็นช่อโปร่งคล้ายลูกตะกร้อ ดอกเหด็ มีกลิ่นเหม็นมาก ขน้ึ บนดินทม่ี ีซากพชื ทบั ถมหนา 18 เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา
ภาพที่ 36 กลมุ่ ดอกเหด็ เขาเหมน็ 4. จำแนกตามลกั ษณะอบั สปอร์ การจัดจำแนกเห็ดทส่ี รา้ งสปอร์ในถงุ แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ดังน้ี 4.1 เหด็ ถุง (Sac fungi) จัดอยใู่ นกลมุ่ Ascomycetes เนอ่ื งจากเห็ดชนดิ นม้ี กี ารสร้าง สปอรแ์ บบมเี พศอยใู่ นอวยั วะทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยถงุ เรยี กวา่ ascus (พหพู จน์ คอื asci) ถงุ นจ้ี ะแตกออกเมอื่ มกี ารพฒั นาอย่างเตม็ ท่ี (ภาพที่ 37) 4.2 เหด็ กระบอง (Club fungi) ซง่ึ จดั อยใู่ นกลมุ่ Basidiomycetes เหด็ ชนดิ นมี้ กี ารสรา้ ง สปอร์บนฐานท่ีเรียกว่า basidium (พหูพจน์คือ basidia) มีลักษณะคล้ายไม้กระบอง (ภาพที่ 38) แตล่ ะฐานจะมปี มุ่ คลา้ ยหนามย่ืนออกไป 4 ปุม่ ที่เรยี กว่า sterigmata แต่ละปุม่ มีสปอร์ติดอยู่ 1 สปอร์ สปอรท์ เี่ จรญิ เตม็ ทจ่ี ะถกู ยงิ ออกไปในอากาศ sterigmata basidium ภาพที่ 37 สปอร์ของเหด็ ถงุ ภาพที่ 38 สปอร์ของเห็ดกระบอง เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 19
เห็ด ปา่ ท่ี พบ
ในหบุ เขาลำพญา
ชอื่ วงศ์ AGARICACEAE ชื่อวิทยาศาสตร์ Agaricus sp. ช่ือสามญั - ลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยา หมวก รปู แบนราบ เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 4-6 มลิ ลเิ มตร สขี าว เมอ่ื ดอกแกจ่ ะเปลยี่ นสี เปน็ สนี ำ้ ตาลไหม้ ผวิ ดา้ นบนเรยี บ ขอบหมวกเมอื่ ผา่ ครง่ึ ตรงผวิ ขอบหมวก เป็นซี่ฟนั ครบี สนี ำ้ ตาลเขม้ ทว่ั ครบี เรยี งหา่ งๆ แบบมคี รบี ยอ่ ย ครบี ไมต่ ดิ กา้ น ขอบครบี เรียบ ครีบกวา้ งไมเ่ สมอกนั ขอบครีบเมื่อมองจากดา้ นหนา้ ไมเ่ สมอกนั ก้าน ทรงกระบอก ยาว 9-14 มลิ ลเิ มตร เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 1 มลิ ลเิ มตร สขี าวทว่ั กา้ น เมอ่ื ชำ้ เปลย่ี นเปน็ สอี อกนำ้ ตาล ตดิ ตรงกลางหมวก ผวิ เรยี บ เน้อื ในก้านกลวง วงแหวน สีน้ำตาล อยตู่ อนบนของกา้ น กระเปาะหุ้มโคน ไม่มี สปอร ์ ทรงรีหรอื รีเบีย้ ว ผิวเรียบ ด้านในใส ขอบสปอรเ์ ปน็ สีน้ำตาลหรอื แดง แหล่งที่พบ ขนึ้ บนดิน เจรญิ เป็นกลุม่ หรอื เปน็ กระจกุ การใชป้ ระโยชน์ ไมม่ ีข้อมลู 22 เห็ดป่าในหบุ เขาลำพญา
Agaricus sp. เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 23
ช่อื วงศ์ AGARICACEAE ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Agaricus sp. ชอื่ สามัญ - ลักษณะทางสณั ฐานวิทยา หมวก รูประฆังหรือร่ม เส้นผ่าศูนย์กลาง 7-15 มิลลิเมตร สีขาว ผิวด้านบน มีเกล็ดเล็กนอ้ ย ขอบหมวกเมื่อผา่ ครึง่ เสมอกนั ผวิ ขอบหมวกเรยี บ ครบี สีเทาท่วั ครบี เรียงใกล้มาก ขอบครีบเมอื่ มองจากดา้ นหน้าเสมอกนั กา้ น ทรงกระบอก ยาว 6-13 มิลลิเมตร เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 1-2 มิลลเิ มตร สีขาวท่ัวกา้ น ตดิ ตรงกลางหมวก ผิวเป็นสะเกด็ เลก็ น้อย วงแหวน สีขาว ติดอยดู่ า้ นบน กระเปาะหุ้มโคน ไมม่ ี สปอร์ ทรงรี ผวิ เรยี บ ด้านในสปอร์ใส แหลง่ ทีพ่ บ ขึ้นบนดนิ ใต้ต้นยางพารา เจรญิ เปน็ กล่มุ การใช้ประโยชน์ ไม่มขี ้อมลู 24 เห็ดปา่ ในหบุ เขาลำพญา
Agaricus sp. เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 25
ชอื่ วงศ์ AGARICACEAE ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Lepiota sp. ช่อื สามัญ - ลักษณะทางสัณฐานวิทยา หมวก รปู ระฆงั กวา้ ง เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 30-38 มลิ ลเิ มตร สขี าว ผวิ ดา้ นบน เปน็ เส้นใยติดแนบไปกับหมวก ขอบหมวกเมื่อผ่าครึ่งเป็นแบบปลายขอบ กระดกขึน้ เล็กนอ้ ย ผวิ ขอบหมวกเปน็ รอยหยักแบบไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ครบี สคี รีมอ่อนจนถึงขาว เรยี งใกลก้ ัน ติดแนบไปกบั กา้ น ขอบเรยี บ ขอบครบี เม่ือมองจากด้านหน้าเสมอกัน กา้ น ทรงกระบอก ยาว 57-70 มลิ ลเิ มตร เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 4-5 มิลลิเมตร สีขาวปนเทาทั่วก้าน ติดตรงกลางหมวก ผิวเรียบหรือเป็นจุดเล็กน้อย เนอื้ ในก้านกลวง วงแหวน เปน็ วงสั้นล้อมรอบอยูท่ างดา้ นบนของหมวก กระเปาะห้มุ โคน ไม่มี สปอร์ ทรงรี ไม่มเี ยอ่ื หุ้ม ผิวเรียบ สีขาว แหล่งท่ีพบ บนขอนไมผ้ ุ เปน็ กระจุก 2-3 ดอก การใช้ประโยชน ์ ไมม่ ขี ้อมลู 26 เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา
Lepiota sp. เหด็ ป่าในหุบเขาลำพญา 27
ช่อื วงศ์ AURICULARIACEAE ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Auricularia sp. ชื่อสามัญ เหด็ หลู งิ กลู ะลงี กิ อื รอ (มลาย-ู ยะลา) ลักษณะทางสัณฐานวทิ ยา หมวก รปู ครงึ่ วงกลมหรอื คลา้ ยหู เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 15-56 มลิ ลเิ มตร สนี ำ้ ตาลออ่ น หรอื สนี ำ้ ตาลออกชมพู ฉำ่ นำ้ ผวิ ดา้ นบนลน่ื เปน็ สนั นนู เลก็ นอ้ ย ผวิ ดา้ นลา่ ง พื้นไม่เรยี บ สันนูนคลา้ ยตาข่าย ขอบหมวกเปน็ คลืน่ ครบี ไมม่ ี ร ู ไม่มี ก้าน สัน้ หรอื ไมม่ ีก้าน เหนยี ว ตดิ กบั ขอนไม้ วงแหวน ไม่มี กระเปาะหมุ้ โคน ไม่มี สปอร์ สขี าว รูปแท่งเกอื บกลม ผิวเรียบ ขอบบาง แหลง่ ที่พบ ขนึ้ บนซากไมผ้ ุ เจริญเปน็ กลุ่มหนาแน่น การใช้ประโยชน์ กินได้ 28 เหด็ ปา่ ในหุบเขาลำพญา
เหด็ หูลงิ (Auricularia sp.) เหด็ ป่าในหบุ เขาลำพญา 29
ช่ือวงศ์ BOLBITIACEAE ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Conocybe sp. ชอ่ื สามัญ - ลักษณะทางสัณฐานวิทยา หมวก รูปชามควำ่ เส้นผ่าศูนยก์ ลาง 7-9 มิลลเิ มตร สีขาวเทา ผิวด้านบนเรียบ ขอบหมวกเม่ือผา่ ครง่ึ โค้ง ผวิ ขอบหมวก เป็นคลนื่ เล็กน้อย ครีบ สีเทาอมน้ำตาลทั่วครีบ ครีบเรียงใกล้กัน ติดแนบไปกับก้าน ขอบเรียบ ขอบครีบเม่ือมองจากดา้ นหน้าเสมอกนั กา้ น ทรงกระบอก ยาว 7-15 มิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มิลลิเมตร สีขาวทั่วก้าน ติดตรงกลางหมวก ผิวเรยี บ เนื้อในกลวง วงแหวน ไมม่ ี กระเปาะหุม้ โคน ไม่มี สปอร ์ รูปรี ใส ด้านในเป็นจุดเล็กๆ คล้ายหยดน้ำ 1-2 หยด สีเขียวอ่อน ผิวเรยี บ แหลง่ ที่พบ ข้นึ บนซากไม้ผุ เจรญิ เป็นกลุม่ ห่างๆ การใชป้ ระโยชน์ ไม่มีข้อมูล 30 เห็ดปา่ ในหบุ เขาลำพญา
Conocybe sp. เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 31
ชื่อวงศ์ BOLETACEAE ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Tylopilus sp. ชือ่ สามญั - ลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยา หมวก รปู นนู ถงึ เกอื บแบน เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง100-150 มลิ ลเิ มตร สชี มพอู อ่ นถงึ เขม้ ตรงกลางหมวกสีเข้มกว่า ผิวด้านบนเรียบ ขอบหมวกเม่ือผ่าคร่ึงตรง ผิวขอบหมวกเรยี บ รู ยาว 8-14 มิลลิเมตร สีขาวถึงครีมอ่อน ปากรู กลมเกือบเหล่ียม ม ี 1-2 รูต่อมลิ ลเิ มตร สเี ดียวกบั รู ก้าน ทรงกระบอก แห้ง ยาว 80-150 มิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 10-25 มิลลเิ มตร โคนกา้ นสีครีม ปลายกา้ นสขี าว ตดิ ตรงกลางหมวก ผวิ เรียบ เนอ้ื ในกลวง วงแหวน ไม่มี กระเปาะหุ้มโคน ไม่มี สปอร์ รปู รยี าว ผวิ เรยี บ สีนำ้ ตาล แหลง่ ทีพ่ บ ขนึ้ บนดิน เจริญเดย่ี วๆ การใช้ประโยชน์ ไม่มีขอ้ มูล 32 เห็ดป่าในหบุ เขาลำพญา
Tylopilus sp. เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 33
ช่ือวงศ์ CANTHAVELLACEAE ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Cantharellus cibarius Fr. ช่ือสามัญ มันปูใหญ่ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา หมวก รูปทรงเตี้ยเกือบแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 24-42 มิลลิเมตร สีเหลือง ผวิ ดา้ นบนเรยี บ กลางหมวกเป็นแอ่ง ขอบเรียบงอลง ขอบหมวกเมือ่ มอง จากดา้ นบนเรียบ ผิวขอบหมวกเรียบงอลง ครีบ ยาว 14-26 มิลลิเมตร สีเหลืองอ่อน เรียงห่างๆ แบบมีครีบย่อย เรียวยาวลงไปติดก้าน ขอบครีบเรียบ ขอบครีบเม่ือมองจากด้านหน้า เสมอกัน กา้ น ทรงกระบอกโคนโป่งออก ยาว 36-42 มิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 8-10 มลิ ลิเมตร สเี หลอื งอ่อน ตดิ ตรงกลางหมวก ผวิ เรยี บ เนอื้ ในกา้ นตนั วงแหวน ไมม่ ี กระเปาะหมุ้ โคน ไม่ม ี สปอร์ ทรงรี ผวิ เรยี บบาง สเี หลืองอมสม้ แหล่งท่ีพบ ขน้ึ บนพ้ืนดนิ เดย่ี วหรือเป็นกลมุ่ หา่ งๆ การใชป้ ระโยชน์ กนิ ได้ 34 เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา
มนั ปูใหญ่ (Cantharellus cibarius Fr.) เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา 35
ช่ือวงศ์ CLAVARIACEAE ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Clavaria sp. ชอื่ สามญั กลู ะ-มบู า (มลาย-ู ยะลา) ลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยา หมวก ไม่มี ดอก รูปปะการัง สีขาวอมเหลือง เม่ือช้ำเปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อน กว้าง 3-6 มลิ ลิเมตร สงู 7-10 มลิ ลเิ มตร แตกแขนงกันหลวมๆ บดิ งอ ไม่เปน็ ระเบยี บ ปลายแหลม ครีบ ไมม่ ี รู ไม่มี ก้าน ส้ันมากหรือป้อม ขนาดใหญ่ สีขาวอมเหลือง เม่ือช้ำเปล่ียนเป็นสี นำ้ ตาลออ่ น ผวิ เรยี บ เนือ้ แน่น เหนียว วงแหวน ไมม่ ี กระเปาะหุม้ โคน ไม่มี สปอร์ ทรงกระบอก ขอบบาง ผวิ เรยี บ สนี ำ้ ตาล แหล่งทพ่ี บ บนดนิ ใตต้ ้นหลุมพอ เจรญิ เปน็ กลุม่ หา่ งๆ การใชป้ ระโยชน์ กนิ ได้ 36 เห็ดป่าในหุบเขาลำพญา
กลู ะ-มบู า (Clavaria sp.) เหด็ ป่าในหบุ เขาลำพญา 37
ชื่อวงศ์ COPRINACEAE ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Coprinus sp. ชอื่ สามัญ - ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยา หมวก รูปชามคว่ำ หรือพาราโบลาร์ เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-10 มิลลิเมตร สีเทาอ่อนๆ ตรงกลางหมวกสีน้ำตาลกาแฟ ผิวดา้ นบนเปน็ รอ่ งกลีบจนถึง กลางหมวก ขอบหมวกเม่อื ผา่ คร่งึ ตรง ผวิ ขอบหมวกเปน็ ร่อง ครีบ โคนครบี สเี ทา แลว้ คอ่ ยๆ จางเป็นสีขาวจนถงึ ปลายครบี เรยี งแบบห่างๆ จำนวนครีบ 30-34 ครีบ ครีบไม่ติดก้าน ขอบครีบเรียบ ขอบครีบเมื่อ มองจากด้านหน้าเสมอกัน กา้ น ทรงกระบอกบาง ยาว 30-35 มลิ ลิเมตร เส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 1 มิลลิเมตร สีขาวเทาเกือบท่ัวก้าน ติดตรงกลางหมวก ผิวเรียบ เน้ือในกลวง วงแหวน ไมม่ ี กระเปาะหุ้มโคน ไม่มี สปอร์ รูปรีคลา้ ยลกู รกั บ้ี แน่นทึบ สีดำหรือเทา ผวิ เรียบ แหลง่ ท่พี บ ข้นึ บนดนิ เจริญเด่ยี วๆ การใช้ประโยชน์ ไม่มีข้อมูล 38 เหด็ ปา่ ในหบุ เขาลำพญา
Coprinus sp. เห็ดปา่ ในหุบเขาลำพญา 39
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166