Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6

หน่วยที่ 6

Published by duanpen_phosri, 2018-08-17 06:04:57

Description: หน่วยที่ 6

Search

Read the Text Version

E-Bookเรื่อง ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั เช็คและธนาคาร โดย ครูเดือนเพญ็ โพธ์ิศรี สาขาวชิ าการบัญชี วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาขอนแก่น สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

หน่วยท่ี 6 ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับเชค็ และธนาคารสาระสาคญั เช็ค เป็นเอกสารท่ีสามารถชาระหน้ีไดต้ ามกฎหมายเชน่ เดียวกบั เงนิ สด ทุกธุรกิจจะเหน็ความสาคญั ของการใช้เช็คในการดาเนินธรุ กิจ เพราะการใช้เช็คจะปลอดภยั และสะดวกกว่าการใชเ้ งนิ สดรวมทัง้ เป็นประโยชน์ด้านการควบคมุ ภายใน ซง่ึ ใชเ้ ป็นหลักฐานอา้ งอิงได้เป็นอย่างดี โดยที่จะได้รับรายงานจากธนาคารส่งมาให้ในวนั สน้ิ เดอื น เพ่ือนามาตรวจสอบการจา่ ยเงินท้งั ของธนาคารและของกิจการว่าถกู ตอ้ งตรงกันหรือไม่สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของเชค็ เชค็ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 987 บัญญตั วิ า่ “อนั ว่าเช็คนน้ั คือหนังสือตราสารซ่ึงบุคคลหนง่ึ เรยี กว่าผู้สงั่ จ่ายส่งั ธนาคารให้ใช้เงินจานวนหนง่ึ เม่ือทวงถามใหแ้ ก่บุคคลอกี คนหนึ่งหรอื ใหใ้ ชต้ ามคาส่ังของบคุ คลอีกคนหนงึ่ เรยี กวา่ ผู้รบั เงนิ ” 2. การตดิ ต่อกับธนาคารโดยขอเปดิ บัญชเี พ่ือการใชเ้ ช็ค การติดตอ่ กบั ธนาคารโดยขอเปิดบัญชเี พ่ือการใชเ้ ช็ค กจิ การจะต้องไปตดิ ต่อกับธนาคารเพ่ือขอเปดิ บญั ชีเงนิ ฝากกระแสรายวนั ซ่ึงเจ้าหน้าทขี่ องธนาคารจะใหก้ รอกขอ้ ความในเอกสารท่ีใช้ในการขอเปิดบัญชี มดี งั นี้ 2.1 บตั รตัวอยา่ งลายมือชื่อ 2.2 คาขอเปดิ บัญชกี ระแสรายวนั หรอื บญั ชเี ดนิ สะพัด 2.3 ใบนาฝากบญั ชกี ระแสรายวนั หรอื บญั ชีเดนิ สะพดั3. กฎหมายควบคุมเกย่ี วกับการใชเ้ ชค็ มีอยู่ 2 ฉบบั คือ 1. ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสญั ญา ลกั ษณะ 21 วา่ ดว้ ยเรือ่ งตว๋ั เงนิ หมวด 4เช็ค 2. พระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยความผดิ อนั เกิดจาการใชเ้ ช็ค พ.ศ. 2534 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะควบคมุ ในเร่ืองเง่ือนไขและวิธีการออกเชค็ ให้ถูกต้องตามกฎหมาย เร่อื งความสมบรู ณ์ของเชค็ เรยี กว่าเป็นเร่ืองทางแพ่ง พระราชบัญญัติความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 จะควบคุมใหม้ กี ารออกเชค็ กันโดยสุจริต ถา้มีการออกเช็คโดยทุจรติ กจ็ ะต้องรับโทษทางอาญาและได้กาหนดโทษไวช้ ัดเจนด้วยการใชเ้ ช็ค

4. เช็คที่ธนาคารต่าง ๆ จัดพิมพ์ มอี ยู่ 2 แบบ คือ เชค็ จา่ ยผู้ถอื [BEARER CHEQUE] เช็คจา่ ยตามคาสง่ั [ORDER CHEQUE] 4.1 เชค็ จา่ ยผู้ถอื เชค็ จา่ ยผู้ถือ หรอื ที่นยิ มเรียกกันวา่ “เช็คผูถ้ ือ” คอื เชค็ ท่ีทางธนาคารตา่ ง ๆ ออกแบบไว้เพ่อื จดุ ประสงค์ใหผ้ ู้ส่งั จา่ ยเชค็ โดยระบชุ ื่อผูร้ บั เงินหรือจะไม่ระบชุ ื่อผรู้ ับเงินก็ได้ โดยมีสาระสาคัญอยู่ที่ชอ่ งว่างที่ให้ผูส้ ง่ั จา่ ยเชค็ กรอกเพือ่ ระบผุ ู้รับเงนิดงั น้ี “จา่ ย…………………………………………………….หรือผถู้ ือ[or bearer]\" ผ้สู งั่ จา่ ยจะสั่งจ่ายโดยไมก่ รอกอะไรลงในช่องวา่ ง “จ่าย…………………..หรือผถู้ อื “ เพียงแต่กรอกจานวนเงินทั้งตวั เลขและตวั หนงั สือแล้วลงลายมือช่ือผู้สั่งจ่าย กถ็ อื วา่ เช็คสมบรู ณ์ หรือกรอกคาว่า “เงินสด” ลงในชอ่ งว่าง “จา่ ย………………………หรือผู้ถอื ” กม็ ผี ลเชน่ เดยี วกนั

แม้จะกรอกซือ่ นามสกุล ผู้รับเงินลงไปในช่องว่าง “จา่ ย……………………หรือผูถ้ อื ” โดยไมไ่ ดข้ ีดฆ่าคาว่า“หรอื ผู้ถือ” ออก กย็ ังเปน็ เช็คผถู้ อื อยู่ กรณนี ีห้ มายความว่า จา่ ยให้กับผู้ทีถ่ ูกระบุช่ือไว้ในเช็ค หรือ ผถู้ อื ก็ได้ การสั่งจ่าย “เชค็ จ่ายผ้ถู อื ” โดยไม่ไดร้ ะบชุ ่อื ผรู้ ับเงินในช่องว่าง “ จ่าย…………………………หรอื ผถู้ ือ “และยังขดี ฆา่ คาว่า ”หรอื ผถู้ ือ “ ออก เช็คฉบับนี้จะกลายเป็นเช็ค “จา่ ยตามคาสง่ั ” ทนั ที ถา้ นาไปขน้ึ เงินกจ็ ะถูกปฏิเสธจากธนาคาร เพราะเปน็ เช็คท่ไี มส่ มบรู ณต์ ามกฎหมาย(ไมม่ ชี ือ่ ผรู้ ับเงนิ )

หรอื เขยี นคาว่า “เงินสด” ลงในช่องวา่ ง “ จ่าย……………………..หรอื ผู้ถือ “ แลว้ ขีดฆา่ คาว่า “ หรอื ผู้ถอื “ ออก เชค็ ฉบับน้กี ็กลายเปน็ เชค็ “ จ่ายตามคาส่ัง “ เช่นกนั แตเ่ ป็นเชค็ ที่ไมส่ มบรู ณ์ตามกฏหมายเพราะว่า คาว่า “เงนิ สด” ไมใ่ ช่ชื่อผู้รับเงิน

การจา่ ยเงินของธนาคารธนาคารจะจ่ายเงินสดใหแ้ ก่ใครก็ไดท้ ่ีเป็นผถู้ ือ “เช็คจา่ ยผูถ้ ือ “ มาขอข้ึนเงินการโอนเปลย่ี นมือ เชค็ จา่ ยผูถ้ อื สามารถโอนเปล่ยี นมอื กนั ได้เพยี งโดยการส่งมอบเชค็ ใหแ้ กก่ นั ก็เปน็ อันใชไ้ ด้ ดังนน้ั ใครก็ได้ท่เี ป็นผู้ถือเชค็ แบบนี้ไปข้นึ เงนิ กับธนาคาร ธนาคารก็จะจ่ายเงินสดให้ทันทันที ซึ่งมีกฎหมายรับรอง ตาม ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกประกอบกับมาตรา 918 ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกมีใจความว่า ”ใหย้ กบทบญั ญตั ใิ นหมวด 2 ว่าดว้ ยตวั๋ แลกเงนิ มาบังคับในเรือ่ งเชค็ เพยี งเท่าที่ไมข่ ัดกับสภาพแหง่ ตราสารชนดิ น้ี คือมาตรา 910 , 914 ถึง 923……” ป.พ.พ.มาตรา 918 มีใจความว่า “ ต๋ัวแลกเงนิ อันส่ังใหใ้ ช้เงนิ แกผ่ ู้ถอื น้นั ท่านวา่ ย่อมโอนไปเพยี งดว้ ยส่งมอบให้กนั “ การใช้เชค็ แบบนจ้ี ึงมีความเส่ยี งสงู ถา้ เกดิ ทา่ นทาเชค็ สูญหายหรอื เช็คถูกลักถูกขโมยก็จะป้องกันได้ยากมาก จึงควรใชเ้ ชค็ แบบน้ีได้เฉพาะในกรณี เม่อื ไปเขยี นเบิกเงินสดท่ีธนาคารเอง หรือเมื่อสั่งจ่ายเงนิ ไม่มากนักการใชเ้ ช็คผู้ถือให้ปลอดภัยต้องทาอยา่ งไร ถา้ จาเปน็ จรงิ ๆ ก็มีวิธีเดยี ว คอื ใหร้ ะบุช่ือ นามสกุลผู้รบั เงินลงไปในชอ่ งวา่ ง “จ่าย………………………..หรือผูถ้ อื “ แล้วให้ขดี ฆา่ คาว่า “หรือผูถ้ ือ” ออก กจ็ ะปลอดภยั แตก่ ารขีดฆ่าคาวา่ “หรือผถู้ ือ” ออก เชค็ ฉบบันั้นกจ็ ะกลายเปน็ ”เช็คจ่ายตามคาส่ัง”ทนั ที การนาเช็คไปข้ึนเงินกับธนาคาร หรือเม่อื ตอ้ งการโอนเปลย่ี นมือก็ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามเง่ือนไขของ”เชค็ จ่ายตามคาส่งั ” ซ่งึ จะได้กล่าวตอ่ ไป

4.2 เช็คจ่ายตามคาสั่ง เช็คจ่ายตามคาส่ัง หมายถึง เช็คท่ีตอ้ งระบุชื่อผรู้ ับเงินไวใ้ นเช็คใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น การนาเช็คจา่ ยตามคาสง่ั ที่ยังไมร่ ะบุชื่อผูร้ ับเงนิ ไปขอขน้ึ เงินกบั ธนาคาร จะถูกปฏเิ สธการจา่ ยเงินจากธนาคารทันทีเพราะเปน็ เช็คท่มี รี ายการไม่สมบูรณค์ รบถว้ นตามกฏหมาย ขอ้ น้ีก็มีกฎหมายรับรองไว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา988 ซึ่งมีใจความอยวู่ า่ “อนั เชค็ นัน้ ต้องมรี ายการดังกล่าวต่อไปนี้ คอื (๑) คาบอกชื่อว่าเปน็ เชค็ (๒) คาสงั่ อันปราศจากเงื่อนไขใหใ้ ชเ้ งนิ เป็นจานวนแนน่ อน (๓) ช่อื หรือย่หี ้อสาและนักของธนาคาร (๔) ชื่อ หรอื ยหี่ ้อของผรู้ บั เงิน หรือคาจดแจ้งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ (๕) สถานทใ่ี ช้เงิน (๖) วนั และสถานทอ่ี อกเช็ค (๗) ลายมอื ชื่อผสู้ ่งั จา่ ย “ ธนาคารต่าง ๆ ในเมืองไทย ได้ออกแบบเช็คจา่ ยตามคาสั่ง โดยมสี าระสาคญั อยู่ท่ชี อ่ งวา่ งทใ่ี ห้ระบชุ ื่อผู้รับเงินดงั นี้ “ จ่าย……………………………………………………หรือตามคาสั่ง[or order] “ ดงั นัน้ เม่ือจะเขียนเช็คส่ังจ่ายเงินใหใ้ คร ต้องเขียนซ่อื นามสกุล ของผรู้ บั เงนิ ลงในชอ่ งวา่ ง“จ่าย……………………………..หรือตามคาสั่ง “ ให้ครบถว้ นสมบรู ณ์ มฉิ ะน้นั เม่ือนาเชค็ ไปขอขนึ้ เงินจะถูกปฏิเสธการจา่ ยเงินจากธนาคาร

สัง่ จ่ายเชค็ โดยไม่ไดร้ ะบุช่ือผ้รู ับเงนิ ลงในช่องวา่ ง “ จา่ ย……………………………หรือตามคาสง่ั “ โดยปล่อยวา่ งไวเ้ ฉย ๆ อย่างนีเ้ ป็นเช็คท่ไี ม่สมบรู ณ์ตามกฎหมาย ธนาคารจะปฏเิ สธการจ่ายเงนิ เขยี นชือ่ นามสกุล ผู้รับเงิน ในช่องว่าง “ จ่าย…………………………หรอื ตามคาสง่ั ” แล้วขดี ฆ่าคาวา่“หรอื ตามคาส่งั “ ออก เพ่ือให้เปน็ เช็คผถู้ อื ไมไ่ ด้นะครับ เช็คฉบับนยี้ งั คงเปน็ “เช็คจา่ ยตามคาสั่ง “อยู่ การส่งมอบหรือการเปลย่ี นมือต้องทาตามเงื่อนไขของ “ เชค็ จา่ ยตามคาสงั่ “ สั่งจา่ ยเช็คโดยระบคุ าวา่ “ เงินสด “ ลงในชอ่ งวา่ ง “ จา่ ย…………………………..หรือตามคาสง่ั “ ของเช็คจา่ ยตามคาสง่ั ถอื วา่ เป็นเชค็ ทีไ่ มส่ มบรู ณ์ตามกฎหมาย เพราะคาวา่ “เงินสด” ไม่ใชช่ ่ือผู้รับเงนิ

ส่งั จ่ายเช็คโดยระบคุ าวา่ “ เงนิ สด “ ลงในช่องวา่ ง “ จา่ ย…………………………..หรือตามคาสั่ง “ ของเชค็ จ่ายตามคาสั่ง แล้วขดี ฆ่าคาว่า “ หรือตามคาสัง่ “ ออก ยงั คงถือว่าเปน็ “เชค็ จา่ ยตามคาส่ัง “ อยู่ แตเ่ ปน็เช็คท่ีไม่สมบรู ณ์ตามกฏหมาย ทไ่ี มส่ มบรู ณต์ ามกฎหมาย เพราะคาว่า “เงินสด” ไม่ใชช่ อ่ื ผรู้ บั เงินการโอนเปล่ยี นมอื เช็คจ่ายตามคาส่งั การโอนเปลยี่ นมือเชค็ จา่ ยตามคาส่งั ทาได้ด้วยการท่ผี ูท้ รงเช็คสลักหลังแลว้ ส่งมอบ ซง่ึ มกี ฎหมายรบั รองไวเ้ หมือนกนั คือ ป.พ.พ. มาตรา 989 ประกอบมาตรา 917 มาตรา 989 มีใจความว่า ให้ยกบทบญั ญัติในหมวด 2 ว่าดว้ ยตัว๋ แลกเงินมาใชบ้ งั คบั ในเรอ่ื งเชค็ มาตรา 917 วรรคหน่ึง วา่ ดว้ ยเร่ืองการโอนตัว๋ เงินทีน่ ามาใช้บงั คบั ในเรื่องเช็คได้ มใี จความว่า “ อนัต๋ัวแลกเงนิ ทกุ ฉบบั ถึงแมว้ า่ จะมใิ ช่สงั่ จ่ายให้แก่บคุ คลเพื่อเขาส่ังก็ตาม ท่านวา่ ย่อมโอนใหก้ นั ไดด้ ว้ ยการสลักหลังและสง่ มอบ “ การสลักหลัง หมายถึง การเขยี นข้อความพร้อมกับการลงลายมอื ช่ือหรือลงลายมือช่ืออย่างเดียวที่ดา้ นหลงั ของเช็คเพ่ือแสดงถึงการโอนเช็คนนั้การสลักหลงั มี 2 แบบ คอื 1. สลกั หลังเฉพาะ หมายถึง การสลกั หลงั เชค็ โดยระบุชื่อผรู้ ับโอนไวด้ ้วย พร้อมด้วยลงลายมอื ช่อื ผสู้ ลักหลัง เช่น นายดาต้องการโอนเช็คใหน้ ายเขียว นายดาจงึ สลักหลงั ว่า โอนให้นายเขยี ว และลงลายชอื่ นายดาแล้วส่งมอบเชค็ นั้นให้นายแดง กเ็ ป็นอนั ว่าสมบรู ณ์ตามกฎหมาย 2. สลกั หลังลอย หมายถงึ การสลกั หลังโดยลงลายมือช่อื ผู้สลักเพียงอย่างเดียว ไมไ่ ดร้ ะบชุ อ่ื ผูร้ บั โอนไว้ดว้ ย เชน่ ถา้ นายดาต้องการโอนเชค็ ใหน้ ายเขียว นายดาเพียงลงลายมอื ช่อื ท่ีดา้ นหลงั เช็คแลว้ สง่ มอบให้นายเขยี วกเ็ ป็นอันสมบูรณเ์ ช่นกนั

การสลักหลัง ถา้ ประสงค์จะโอนเชค็ ให้เฉพาะตวั ก็สามารถระบุการหา้ มสลกั หลังต่อไว้ก็ได้ เชน่ นายดาต้องการโอนเชค็ ให้นายเขียวเฉพาะตัว นายดา ต้องสลักหลงั ว่า “ โอนใหน้ ายเขยี ว “ แลว้ ระบขุ อ้ ความในบรรทดั ตอ่ มาวา่ “ หา้ มสลกั หลังตอ่ “ และลงลายมือชื่อนายดาไว้ แล้วส่งมอบให้นายเขียว อยา่ งน้ี นายเขยี วไม่สามารถสลกั หลังโอนให้ใครอกี ต่อไป ถ้านายเขียวขืนโอนต่อ นายดาก็พน้ ความรบั ผดิ ตอ่ เชค็ นัน้ กบั บุคคลผ้รู บั โอนต่อจากนายเขยี ว การสลกั หลงั ตอ้ งเป็นข้อความอันปราศจากเง่อื นไขได ๆ ถ้ามีไวใ้ หถ้ ือว่าเงอื่ นไขนั้นมิได้เขียนไวเ้ ลย เชน่นายเขียวตอ้ งการโอนเชค็ ใหน้ ายเหลอื ง นายเชยี วเขยี นสลักหลังวา่ “ โอนให้นายเหลือง” แลว้ บรรทัดตอ่ มาเขียนวา่“ การสลักหลงั น้ีจะมผี ลสมบูรณก์ ต็ ่อเมื่อนายเหลืองมลี ูกเป็นผู้ชาย” เชน่ น้ีถือวา่ เง่อื นไขนี้ไม่ไดเ้ ขียนไวเ้ ลย การสลกั หลังเชค็ เพ่ือโอนเปน็ บางสว่ นเปน็ โมฆะตามกฎหมาย เช่น นายเหลอื งได้รับโอนเชค็ จานวน100,000 บาท แล้วนายเหลอื ง ตอ้ งการโอนเช็คฉบับนี้ให้นายมว่ ง แตน่ ายเหลืองสลักหลังว่า “ โอนใหน้ ายมว่ ง50,000 บาท และลงช่อื นายขาวแล้วส่งมอบให้นายเหลือง เชน่ น้ี นายมว่ งไม่สามารถนาเช็คฉบบั นไ้ี ปเรยี กรบัเงินตามเช็คไมไ่ ด้แม้แตบ่ าทเดียว เพราะถือวา่ เช็คฉบับนเ้ี ปน็ โมฆะตามกฎหมาย หากนายเขยี วต้องการโอนเช็คฉบับน้ตี ่อใหน้ ายเหลือง นายเขยี วกส็ ลกั หลงั ต่อจากนายดา ตามตวั อยา่ ง

หมายเหตุ การสลกั หลงั ควรลงวนั ที่สลกั หลงั ไว้ดว้ ย เพือ่ ความสะดวกในการตรวจสอบว่าใครสลกั หลงักอ่ นหลังและมีการสลกั หลังติดต่อกันโดยไม่ขาดสาย เมอื่ เกิดปัญหาถกเถียงกันจะสามรถทราบไดว้ า่ ใครเป็นผู้ทรงเช็คโดยชอบเชค็ ขดี ครอ่ มและเชค็ ไมข่ ีดครอ่ มมีความหมายว่าอยา่ งไร เช็คขีดคร่อม หมายถึง เชค็ ที่เขยี นเสน้ ขนานคขู่ ีดขวางไวด้ ้านหน้าเชค็ เป็นการแสดงให้ธนาคารรับฝากเขา้ บญั ชขี องผู้ทรงเช็คเท่านนั้ ผทู้ รงเช็คหมดสิทธ์ิทีจ่ ะขอเบิกเงนิ สดจากธนาคาร ผู้ทรงเช็คขีดคร่อมจงึ ไมส่ ามารถนาเชค็ มาขอเบิกเงินสดตามเช็คน้ันได้ในทนั ที จะตอ้ งนาฝากเข้าบัญชีเงนิ ฝากของตนที่ได้เปิดไวก้ บั ธนาคารแลว้ ใหธ้ นาคารผรู้ บั ฝากเปน็ ผ้ไู ปเรยี กเกบ็ เงนิ ใหเ้ ทา่ น้นั เช็คไมข่ ีดครอ่ ม หมายถงึ เชค็ ทผี่ ู้ทรงเช็คสมารถนามาขอเบกิ เงินสดตามเช็คจากธนาคารไดเ้ ลย5.ประเภทของเชค็ ขดี คร่อม เช็คขีดคร่อมมี 2 ประเภท คอื 1. เชค็ ขีดครอ่ มทว่ั ไป หมายถึง เช็คขดี คร่อมทีส่ ามารถนาฝากเขา้ บัญชีของธนาคารใดก็ได้ ตวั อยา่ งการขีดคร่อมทัว่ ไป เช่น ขดี เส้นขนานตดั ในแนวเฉยี งบริเวณมุมบนซา้ ยของเชค็ แลว้ เขียนข้อความไว้ดา้ นในระหวา่ งเส้นสองเสน้ นัน้ เช่น เขยี นคาว่า “& co “ หมายความว่า ต้องนาฝากเข้าบญั ชีตามช่ือท่ีระบุไว้ด้านหน้าเช็คเท่านั้น ถา้ จะนาฝากเขา้บัญชีคนอ่นื ต้องมีการลงลายมือชื่อสลักหลังของผสู้ ลกั หลงั คนแรก และหรอื คนอื่น ๆ ต่อ ๆ กันมา จนถึงลายมอื ชอ่ื สลักหลังของผู้ทรงคนสุดทา้ ยซึ่งสลักหลงั โอนให้กบั ผูน้ าฝากเข้าบญั ชีธนาคาร

“ หา้ มเปล่ียนมือ “ หรอื “ Not Negotiable “ หมายความว่า เชค็ ฉบบั น้ีไม่อาจโอนตอ่ ไปได้ดว้ ยการสลักหลงั การนาฝากเข้าบัญชีธนาคารตอ้ งนาฝากเขา้ บัญชขี องผมู้ ีช่อื ระบุไวท้ ี่ด้านหน้าเชค็ เท่าน้ัน (การขดีคร่อมแบบนี้หา้ มนาไปใช้กับเชค็ จา่ ยผ้ถู ือที่ไมร่ ะบชุ อื่ ผูร้ ับเงินหรอื เชค็ จ่ายผูถ้ ือทเี ขียนคาว่า “ เงินสด” ไวท้ ี่ชอ่ งว่าง “ จ่าย………………หรอื ผูถ้ ือ ” ถ้าขีดครอ่ มเชค็ \"จา่ ยผถู้ อื \"แบบน้ีแล้วนาเช็คไปฝากเขา้ บัญชีธนาคารธนาคารจะปฏิเสธการรบั ฝากทันที เพราะไม่มีชื่อตามบญั ชีทดี่ ้านหน้าเชค็ หรือกรณีเขียนระบุ “เงินสด”ธนาคารจะปฏเิ สธการรบั ฝากเช่นกัน เพราะคาวา่ “เงินสด”ไม่ใช่ชื่อคน ธนาคารไม่อาจรู้ได้ว่าห้ามใคร และยังทาให้เช็คฉบบั นีเ้ สียไปเลย เพราะจานาไปเบิกเงนิ สดอย่างเชค็ จ่ายผถู้ อื อกี ไม่ได้ )

“เขา้ บญั ชผี ้รู ับเงนิ เท่านั้น “ หรือ “ A/c Payee Only “ หมายความว่า เชค็ ฉบับนไ้ี ม่อาจโอนต่อไปได้ด้วยการสลักหลงั การนาฝากเขา้ บญั ชีธนาคารก็ต้องนาฝากเข้าบัญชขี องผู้ทม่ี ชี ่ือระบุไว้ทดี่ ้านหน้าเช็คเทา่ น้ัน(การขีดคร่อมแบบน้ีห้ามนาไปใช้กบั เชค็ จา่ ยผู้ถือท่ีไมร่ ะบชุ ื่อผูร้ ับเงินหรอื เชค็ จา่ ยผู้ถือทเี ขยี นคาว่า “ เงนิ สด”ไว้ที่ช่องว่าง “ จ่าย………………หรอื ผ้ถู อื ” ถา้ ขดี คร่อมเช็ค\"จ่ายผู้ถือ\" แบบนแ้ี ล้วนาเช็คไปฝากเขา้ บัญชธี นาคารธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากทนั ที เพราะไมม่ ีชอ่ื ตามบัญชีทีด่ า้ นหนา้ เช็ค หรือกรณีเขยี นระบุ “เงินสด”ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากเช่นกนั เพราะคาว่า “เงนิ สด”ไมใ่ ช่ช่ือคน และยังทาให้เชค็ ฉบบั น้ีเสียไปเลยเพราะจานาไปเบิกเงนิ สดอยา่ งเช็คจ่ายผู้ถืออกี ไม่ได้ ) ถ้าขดี เส้นสองเส้นในแนวขนานไวเ้ ฉย ๆ โดยไม่เขยี นอะไร หมายความว่า เชค็ ฉบบั นีจ้ ะนามาขอเบกิเงินสดไม่ได้ ตอ้ งนาฝากเขา้ บัญชีธนาคารเท่านั้น ไมว่ ่าจะเป็นเช็ค “ จา่ ยผถู้ ือ “ หรือเช็ค “ จ่ายตามคาส่งั “

2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะ หมายถงึ เช็คขีดคร่อมท่รี ะบุชื่อธนาคารไวด้ ว้ ย การนาเช็คขีดคร่อมแบบน้ฝี ากเขา้ บญั ชีธนาคาร จะต้องนาฝากเข้าบญั ชีธนาคารทรี่ ะบชุ ่ือขีดครอ่ มไวเ้ ท่านนั้ ตวั อย่างการขีดคร่อมเฉพาะ เชน่ ขดี เสน้ ขนานตัดในแนวเฉยี งบรเิ วณมุมบนซา้ ยของเช็คแลว้ เขียนช่ือธนาคารไวด้ า้ นในระหวา่ งเสน้ สองเส้นน้ัน เชน่ เขียนคาวา่ \"ธนาคารกรุงสยาม \" หมายความว่า เช็คฉบับนจี้ ะนาฝากเข้าบญั ชธี นาคารอืน่ ไม่ได้ ต้องนาฝากเขา้ บญั ชีของธนาคารกรุงสยามเทา่ น้นั สมารถใช้ได้กบั เชค็ “ จ่ายผู้ถือ “ และเช็ค “จ่ายตามคาสงั่ “ เชค็ ท่ขี ีดคร่อม และเขยี นข้อความ “หา้ มเปลย่ี นมือ “ และยงั มีขดี ครอ่ มวา่ “ธนาคารกรงุ สยาม“ ไว้ดว้ ย หมายความว่า โอนเปล่ยี นมือให้คนอ่ืนไม่ได้ และต้องนาฝากเข้าบัญชขี องธนาคาร กรงุ สยาม เท่านนั้

การออกเช็คทเ่ี ปน็ ความผดิ ทางอาญา การออกเชค็ โดยไมร่ ะมัดระวงั ในบางครั้งอาจมีความผิดในทางอาญาได้ เร่อื งนี้ได้บัญญัติไวช้ ดั ในพระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยความผดิ อนั เกดิ จากการใชเ้ ช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ซงึ่ บัญญตั ิไว้ดังน้ี “ มาตรา 4 ผ้ใู ดออกเชค็ เพือ่ ชาระหน้ที ่ีมีอยู่จริงและบังคับไดต้ ามกฎหมาย โดยมลี กั ษณะหรือมีการกระทาอย่างใดอย่างหน่งึ ดังต่อไปน้ี (๑) เจตนาท่จี ะไมใ่ หม้ ีการใช้เงนิ ตามเชค็ น้นั (๒) ในขณะท่ีออกเชค็ น้นั ไม่มีเงินอย่ใู นบญั ชีอันจะพงึ ใหใ้ ช้เงนิ ได้ (๓) ใหใ้ ชเ้ งินมจี านวนสงู กว่าจานวนเงนิ ท่มี ีอยู่ในบัญชี อันจะพึงใหใ้ ช้เงนิ ได้ในขณะท่ีออกเช็คนัน้ (๔) ถอนเงินท้งั หมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชอี ันพึงใหใ้ ช้เงนิ ตามเช็คจนจานวนเงินเหลอื ไม่เพียงพอทจ่ี ะใช้เงนิ ตามเช็คน้ันได้ (๕) ห้ามธนาคารมิใหใ้ ชเ้ งนิ น้ันโดยเจตนาทุจริตเมือ่ ไดม้ ีการย่นื เช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ถ้าธนาคารปฏิเสธไมใ่ ช้เงินตามเช็คนนั้ ผอู้ อกเชค็ มีความผดิ ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กินหกหมน่ื บาท หรือจาคุกไมเ่ กินหน่ึงปี หรือท้งั ปรบั ท้ังจา “

อ้างองิ: www.junghoo.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=28539&Ntyp3\" ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ตรวจชาระใหม่ พ.ศ. 2534\"\" พระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยความผดิ อันเกิดจาการใชเ้ ช็ค พ.ศ. 2534\"“ วิธีเขยี นเชค็ ใหถ้ กู ตอ้ ง “ เจรญิ เจษฎาวัลย์“ คาตอบลา่ สดุ คดีเช็ค ” นายเถลิงศกั ดิ์ คาสุระ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook