L-:: rllq.11,1': l,'rFnt 'Eir ', i ifi lri c .i: y dil,1 n : a A f; r x.l fi fl is'l1i ; i] E u : v dr rlr e n : v fir, i a e r r: F n L{'t n oii fr u (ir-r fr erda v a)'4vr frn :l\"l bddc(/Ax t:'l s adn:rt odennl ifroerTr:ar:l rilre3:rnr;'ioar:uErunr:fiai.rAa-6i']l.lfrnrgrul:vfilh,a*':ufilrgrto'li3 !c.%..j rla-=-il'af,*1,,u1*q11ifl1irriiriu;r'rn'tfr;rn;ifioritta3:.ar:firurfiiiludndrrsljtc'ttritu\"i'flutrj ,trlarit::lnl-:t:il:.iifnr'0l:.f:l4n*1^9i:-.l1'?iel'u.:tT{rtui4tU:u t}.ltu t.z:iiytrlffieniltn:rrrtii6uL;ttila':trr',{qn;itrAvaannfrArfrr:vdlAn: l\"rtvtofrn:rt b(rio.o:) v o,sn (=) iir4l:nt:v':'r\"ilfry{fr1:tiEuutailfl:'; e:.-uiji,;tqni;rn':'rr\"tllrFr:1 eyu1.: lt.F,. ,€rar(i-o iitti:tt,,'lett6:. (*t.,r.fi io) ll e. ird{dd ita;jFltxu:ill::Lri:fittaii':ni:finU-'tart'UU'lUlf:!:vtl:t ffij,7 ,,,,ro,idri riai,-r'ff ore ir*t'riru bddcr tfrfll6r'iutrol;tl-5i'ar:iaa^'lF'urrI:qBr;'J:vdrrTaflo :ya1,;6*::^UfinrsrnCudu (6rr'fiertilyA) r1\"iilfrl:rt icrdd#Bei:rvad-n:-'rt 51(5.16) l:vri::lfraui'tnl: 61,.:vl-rrr'1\"-,i'[tjud-nar,:daarlfrr,rsrfi:46:,r-j:vdr:iatn;v'p]-l6aai:'rfintvinal#u {6l6ri^'duva) ii^a'lvilfoirdrn):''ilr:;;yroi\"ugfaic' ru/B1:tn,*.rr^yr^{aa:f^i+i:-:ir'trilroridu,s-nn.tr^rq'dil;,{i,t,lo:trt.nvor5,lururd:ilc'l.A;l\"{r'aiir:.3l?l:.vf,r*ia'a''rrrrfr:ftfi-r'iru-*4-uqfld:;n-o?i::f\"-itfir-ls:r--Q'r'd*.^A,fnrarlErl:fvf r(it:A:iaf'fiilnral) .,aiag6'i-r-.i,rJ tsdr,-c;/Eqi:'ryadr:rt od1,!r rild'lUiutnl:finrir bdbo l{lUfrufi in l'hlrli rfl ufl 't: Fllt ii1llljo i':a : riifi' {Jr-r:fir--;rc,r ,s:dbc l\",iitilia-r4;,:e rar:LErv'ixi:,1iu:t:rd:faen :vnliearilfiflrurrncuril, \"ii:,1fr,7Iieve) ',.r;u0fr,r:rt r€d{id,/Alt:'lvafil:i\"j odms} 1'*':-u*et,fru tt'i tlnr:finr-r-\" bdlro 1\",,fl,{y{nar,:6narirfini*rfi:ndr\":rt:vrir*aEn:vd:J6aar:Lfiflur lcufru (31fr nrd ayo) wnofrl:-rt rsddci/Aq i:'r, u fr.r',r.1 c.d*r*x iurYuu eu fru tifi o-b flnr:finrrrr ,,€rdiri€r 1r,Tt{ya-nan,:ieair-frru^vi:ndurJ:rd^rricE'n :vfln.;0aaiilfin'sltiaudu {i',freril*e) viilopin:rtl bddal/e'cu:r*qfit-'-'tt' oder'ni'Lud\"i#t' flli o*-'s-rn 6!ur lfl r r : fr r re db sn Lfld,z frn a,, : i a n ^ d r ur fi : g fi u r 1 : u dr {aE o : v frr-, 6 n n : ri fi n'sr r'a u (fl:,FroirdWA) lir,rOf i:itt bd6;*,;'gQt:ruAP1-'il:'ltj od€:,6n';u'ir.rO\"rfru tfr or-b-nn-< tinr:frn,sr Lqrdbrd'iri\"i{r,id',rqn:ian,\"rHrurt:i:gdurj:rd:fiein:vfiuiaar:ifrni*rncufru (Er_,fra.:6t\".a) Uvr-tdn:tt bCAct/3qr:,lyafrr:rt oderierri'\":\"{upou'i-t] flfi e-b-en-d € la db d i#trira dn a\"rnr,:t fr a a rlL fr n rc r :r-1 n 6 u rJ : t d r fr s 0 n : v fr r- e a a r I fi nB'lsl 0 ilfr u ur{j n r : fi n rt(ei r.] fr 'a r 6 u va ) l^lltt frn:rq'J b d&d,€fi l: iv afr n : o dens) v ritYu 6 I u ldruYuquri..
,ls- drr,tYlnudill:finulAfinrl*:vri'ieInSri is)1ffnr) uEoarrrufinr*rfrfin:1iltrsfl{ri nc6q onr:ddnu'rttr,fiar'r,td)erill4dflas}:i'*:-'vl#--otoa--:^4u*f-i-F-^n^-5^-uj^v^,:^x3^q. frnlsiBnr:idiiru:-r.-u--11-i 'lt; ltI:.jn'prn:vvr:':tfinurEnr: fltiiu\"rdi:;n''i:eintfin ui:rrfit rr-;f;uu*r.Jas tuln56'ltrfll5iBuuf Tvri\"u, \"S?u),,Lvt'dil1Yfi :inurifjil v6 nr:dnnr:H€ nur L\"I'114:J'lutlnviE iU faJaL.u4d,u\\ ?l { Lrfl i-lir]LtL:i fiu ll-, u:untfi ru fufr ttl^il aale):.r H.fl. bddcc ,{alan lr\\/ (.oritr',tt1\"el_irtua':::ru) :igruumidr r',r: n: vvi:: sfi nBrB n r
คำนำ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สานักงานการศึกษาเอกชน สถานศึกษาทุกสังกัด และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้มีคุณภาพและเป็นเคร่ืองมือ ในการดารงชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์มีจิตสานึก และปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน ของศาสนา เพื่อให้สามารถอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฎูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศักราช ๑๔๓๗ เป็นความร่วมมือในการจัดทาจากศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) มูลนิธิประสานงานตาดีกาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สานักงานการศึกษาเอกชน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ วิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี และสานักงาน ศึกษาธิการภาค ๘ หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาระดับตอนต้น (อบิ ตีดาอยี ะฮ) ทผ่ี เู้ รียนจะต้องใชใ้ นชีวิตประจาวัน กระทรวงศึกษาธกิ ารมนี โยบายจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ใหส้ อดคล้องกับความต้องการ และอตั ลกั ษณ์ของชมุ ชน โดยเฉพาะพืน้ ทท่ี ี่มผี ูป้ กครองสว่ นใหญต่ ้องการให้ บุตรหลาน ไดเ้ รยี นรู้ตงั้ แตเ่ ยาว์วัย จึงไดป้ ระกาศใช้หลกั สตู รอิสลามศึกษาฟัรฎูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮศักราช ๑๔๓๗ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และให้สถานศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ) นาไปใช้ในการ จดั การเรียนการสอนต่อไป หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฎูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮศักราช ๑๔๓๗ มีการกาหนดตัวช้ีวัดคุณภาพของผู้เรียนด้านต่างๆ ไว้ในแต่ละสาระ ประกอบด้วย อัลกุรอาน อัลฮะดีษ อัลอากีดะฮ อัลฟิกฮ อัลอัคลาค อัตตารีค ภาษาอาหรับ ภาษามลายู (อักษรยาวี) ภาษามลายู (อักษรรมู )ี เพอ่ื ใชเ้ ป็นเป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นทั้งด้าน องค์ความรู้ ทักษะและกระบวนการเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะค่านิยมที่พึงประสงค์ ท้ังนี้ เพ่ือให้สถานศึกษานาไปใช้เป็นแนวทางในการ จดั หลักสตู รสถานศกึ ษาใหผ้ ้เู รียนมคี ณุ ภาพและมาตรฐานท่ไี ด้กาหนดไว้ตอ่ ไป คณะทางาน
สารบญั หน้า ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการที่ เรื่องให้หลกั สูตรอสิ ลามศกึ ษาฟรั ฏูอนี ระดับอสิ ลามศึกษาตอนต้น (อิบตดิ าอียะฮฺ) พุทธศกั ราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮฺศกั ราช ๑๔๓๗ ความนา ๑ วิสัยทัศน์ ๒ หลกั การ ๒ จดุ หมาย ๒ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๔ มาตรฐานการเรยี นรู้ ๔ ตัวชี้วดั ๕ สาระการเรียนรู้ ๕ มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ๖ โครงสร้างเวลาเรียน ๙ การจัดการเรยี นรู้ ๑๐ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑๑ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๑ การวัดและประเมินผล ๑๒ เกณฑ์การจบหลักสตู ร ๑๔ การรายงานผลการเรยี น ๑๔ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ๑๔ การเทยี บโอนผลการเรียน ๑๕ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้ ๑๖ สาระที่ 1 อัลกรุ อาน ๑๖ สาระที่ 2 อัลฮะดีษ ๑๙ สาระท่ี 3 อัลอะกดี ะห์ ๒๕ สาระที่ 4 อลั ฟิกฮฺ ๒๙ สาระท่ี 5 อัลอัคลาค ๓๕ สาระที่ 6 อัตตารีค ๓๙ สาระที่ 7 ภาษาอาหรบั ๔๒ สาระที่ 8 ภาษามลายูอักษรญาวี ๔๖ สาระท่ี 9 ภาษามลายูอักษรรูมี ๔๙
๑. ความนา อสิ ลามให้ความสาคญั เรือ่ งการเปน็ แบบอย่างท่ีดีงาม และบังคับใหม้ ุสลิมทกุ คนศกึ ษาทัง้ ทางโลกและ ทางธรรมซงึ่ เปน็ เรื่องศาสนาท้ังส้นิ ดงั ทอ่ี ลั ลอฮฺได้ตรสั วา่ : ﴾٣﴿ ﴾ اقَْرأْ َوَرب َك اْلَ ْكَرم٢﴿ َعلَ﴾ق٥﴿ِْلن﴾ َساَخلََنَقَمااِْلََنلْ َيسَاْعلََنْمِم ْن١ َخ﴾لَ َقَعَلّ َم﴿ ا٤ااَلّقَِْذرأْ بِيا َْعسَلِّمَمَرّببِِالََْقكلَاَِملّ ِذ﴿ي ความว่า “จงอา่ นด้วยพระนามแห่งพระเจ้าของสูเจ้า ผู้ทรงบังเกิดมนุษยจ์ ากก้อนเลือด จงอ่าน เถดิ และพระเจา้ ของเจ้านัน้ ผู้ทรงใจบุญย่งิ ผทู้ รงสอนการใช้ปากกา ผู้ทรงสอนมนุษย์ในสิ่งทเี่ ขา ไม่รู้” (สูเราะฮฺ อัลอะลัก : อายะฮฺที่ ๑-๔) และท่านนบีมุฮัมหมดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสัลลมั ได้กลา่ ววา่ : ))))طَلَب الْعِْل ِم فَِريْ َضةٌ َعلَى ك ِّل م ْسلِم ความว่า นบมี ุฮัมหมดั ศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลมั กล่าวว่า “การศึกษาหาความรูน้ ้ันเป็นสง่ิ วาญิบ (จาเป็น) สาหรบั ลมิ ทุกคน” บนั ทกึ โดยอิบนุมาญะฮฺ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับท่ี ๒) และที่ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับที่ ๓) ตามมาตรา ๖ ให้การจัดการศึกษาเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ี สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย มาตรา ๘ (๒) ได้กาหนดให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จากสิ่งที่ได้กล่าว ข้างต้นนับว่าเป็นข้อมูลที่เอื้ออานวยและให้โอกาสต่อการสอนศาสนาอิสลาม ของศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด (ตาดกี า) หรือสถานศกึ ษาของภาครฐั และเอกชนข้นึ เพอื่ พัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดีมีคุณธรรมและจริยธรรม เป็นบ่าวท่ี ไดร้ บั ความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ พร้อมทั้งเป็นคนดีของครอบครัวและสงั คม พระราชบญั ญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๔ กาหนดให้มัสยิดเป็น สถานท่ีซึ่งมุสลิมใช้ประกอบศาสนกิจโดยต้องมีละหมาดวันศุกร์เป็นปกติ และเป็นสถานที่สอนศาสนาอิสลาม และ คณะกรรมการอิสลามประจามัสยิดมีหน้าท่ีตามมาตรา ๑๕(๔) ให้สนับสนุนสัปบุรุษในการปฏิบัติศาสนกิจ ส่งเสริมให้ เกิดความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางท่ีชอบตามบัญญัติแห่งศาสนาอิสลาม และได้กาหนดให้อิหม่าม มหี นา้ ท่ตี ามมาตรา ๓๗ (๓) (๔) (๕ ) ดงั น้ี ๑. แนะนาใหส้ ปั บุรษุ ประจามสั ยดิ ปฏิบัติใหถ้ ูกต้องตามบทบญั ญตั แิ ห่งศาสนาอิสลามและกฎหมาย ๒. อานวยความสะดวกในแก่มุสลิมในการปฏบิ ตั ศิ าสนกิจ ๓. สั่งสอน และอบรมหลกั ธรรมทางศาสนาอสิ ลามแกบ่ รรดาสัปบรุ ษุ ประจามสั ยิด ๑
๒. วสิ ยั ทัศน์ หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศฺ ักราช ๑๔๓๗ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียน เรียนรู้อัลกุรอาน และอัลฮะดีษ โดยเน้นการเรียนรู้วิชาฟัรฏู อีน เพื่อให้เป็นมนุษย์ที่มีศรัทธา ปฏิบัติศาสนกิจ มีบุคลิกภาพตามแบบอย่างนบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม มคี วามสมดุลท้งั ดา้ นความรู้ คุณธรรม จริยธรรมและมจี ติ สานึกในความเป็นมสุ ลิมทดี่ ี สามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม ก่อให้เกิดสันติสุขท้ังโลกน้ีและโลกหน้า เพื่อการสร้างพ้ืนฐานการศึกษาท่ีว่า ศาสนานาวิถีชีวิต เพ่ือการ กา้ วทนั ตอ่ การศึกษาในยคุ ปจั จุบัน ดังท่อี ลั ลอฮฺไดต้ รสั ในคัมภีร์อลั กุรฺอานวา่ : َرَبّنَا آتِنَا ِف الدنْيَا َح َسنَة َوِف الآ ِخَرِ َح َسنَة َوقِنَا َع َذا َب الَنّار ความวา่ “โอ้ผอู้ ภิบาลของเรา โปรดให้เรามชี วี ิตทีด่ ีในโลกนี้และชีวิตท่ดี ีในโลกหน้า และขอให้ เราพน้ ภยั จากไฟนรก” (สูเราะฮฺ อลั บะกอเราะฮฺ : อายะฮฺที่ ๒๐๑) ๓. หลักการ หลกั สูตรอสิ ลามศึกษาฟรั ฏูอนี ประจามัสยดิ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนตน้ (อบิ ติดาอยี ะฮ)ฺ พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮจิ เราะฮฺศกั ราช ๑๔๓๗ มหี ลักการสาคัญ ดังน้ี ๓.๑ ใหค้ วามรูแ้ ก่ผเู้ รียนเก่ยี วกบั วชิ าพ้นื ฐานของศาสนาอิสลาม ๓.๒ ให้นาความรู้และประสบการณ์ใช้ในการประกอบศาสนกิจและการดารงชีวิตประจาวัน รวมทั้งการ พฒั นาการเรียนรู้ทส่ี อดคล้องตามคาสอนอลั กรุ ฺอานและอลั ฮะดีษ ๓.๓ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ สานึกแก่ผเู้ รียนในการรักษา ศาสนาและวัฒนธรรมอิสลาม ๓.๔ ให้ความรแู้ ก่ผ้เู รียนเพ่อื เปน็ มุสลมิ ทีด่ ีของครอบครัว สังคม ประเทศชาติและประชาคมโลก ๓.๕ ให้ความรู้แก่ผู้เรียนเพื่อเป็นบรรทัดฐานความเสมอภาค และเป็นพื้นฐานสาหรับการศึกษาต่อ ในระดบั ที่สงู ขนึ้ ๔. จุดหมาย หลกั สตู รอิสลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจามสั ยิด ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนต้น (อิบตดิ าอยี ะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศฺ ักราช ๑๔๓๗ มีจดุ ม่งุ หมายเพ่ือปลูกฝังใหผ้ เู้ รียนมที กั ษะความร้ทู ั้งดา้ นเสรมิ สร้างสติปัญญาและการปฏบิ ัติ ตามคณุ ลักษณะท่จี ะก่อให้เกิดสันติสุขทง้ั โลกนี้และโลกหน้า ดงั น้ี ๔.๑ มคี วามศรทั ธาตามหลกั ศรทั ธาของศาสนาอสิ ลาม ๔.๒ มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ ๔.๓ มคี วามรพู้ ้นื ฐานตามหลักศาสนาอสิ ลามและสามารถนาไปปฏบิ ัติในชวี ติ ประจาวนั ได้ ๔.๔ มคี วามรคู้ วามสามารถในการสอื่ สาร การคิดวิเคราะห์ การแกป้ ัญหาและการเลอื กใช้เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมและมีทักษะชีวติ ๔.๕ เปน็ มุสลิมทีด่ ี เป็นสมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว สงั คม ประเทศชาติและประชาคมโลก ๒
๕. สมรรถนะทส่ี าคญั ของผเู้ รียน หลักสูตรอสิ ลามศึกษาฟัรฏูอนี ประจามสั ยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮจิ เราะฮฺศกั ราช ๑๔๓๗ มุง่ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะตามแบบฉบับของอิสลามทส่ี าคญั ๖ ประการ ดังน้ี ๕.๑ ความสามารถในการอ่านอัลกุรฺอาน เป็นความสามารถของผู้เรียนในการอ่านอัลกุรฺอานตาม หลักการอ่าน อันเป็นพื้นฐานสาคัญในการเรียนรู้ศาสนาอิสลาม เพื่อการพัฒนาตนเองด้านการยึดมั่นศรัทธ า การปฏิบัติศาสนกจิ และการอยู่รว่ มกบั ผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างเหมาะสมและสนั ติสุข ๕.๒ ความสามารถในการปฏิบตั ิตนตามหลักการอสิ ลาม เปน็ ความสามารถของผู้เรียนในการนาความรู้ ประสบการณท์ ่เี กดิ ขนึ้ จากการเรยี นรู้ไปปฏบิ ัตใิ นชวี ิตประจาวันอย่างสม่าเสมอ ทัง้ ด้านการยึดมั่น การปฏิบัติศาสนกิจ และการมีกริยามารยาทที่ดี เพ่ือการเป็นมุสลิมที่สมบูรณ์และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างเหมาะสมและ สนั ตสิ ขุ ๕.๓ ความสามารถในการอ่าน เขียน และสื่อสาร เป็นความสามารถของผู้เรียน ในการอ่าน เขียน หลัก คาสอนของอิสลามทมี่ าจากอัลกุรอฺ านและอัลฮะดีษ อันเป็นพ้ืนฐานที่สาคัญในการเรียนรู้อิสลาม ความสามารถในการ รบั และส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือ แลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจา ต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ ถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร การเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือนามาเป็นเครื่องมือ ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญ หาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง และเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม เพื่อการพัฒนาตนเอง และการอยู่ ร่วมกับผอู้ น่ื ในสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสมและสันติสขุ ๕.๔ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างมีระบบ ความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปล่ยี นแปลงของเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ในสงั คม การแสวงหาความรู้ หรอื ประยุกต์ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมกี ารตดั สินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่อาจเกดิ ข้นึ ต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๕.๕ ความสามารถในการอยู่รว่ มกับผอู้ ืน่ ในสังคมและการรักษาสิง่ แวดลอ้ ม การอยู่รว่ มกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม การมีจิตสาธารณะบารุงรักษาสิ่งแวดล้อม และการรู้จัก หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเอง ผู้อืน่ และส่ิงแวดลอ้ ม ๓
๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรอสิ ลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจามสั ยดิ ระดับอิสลามศกึ ษาตอนตน้ (อบิ ตดิ าอียะฮฺ) พทุ ธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศฺ ักราช ๑๔๓๗ มุ่งพัฒนาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑๐ ประการ ดงั นี้ ๖.๑ รกั อลั ลอฮฺและรอซลู ๖.๒ รกั บิดามารดา ๖.๓ รกั การอา่ นอลั กุรฺอานและการละหมาด ๖.๔ มีมารยาททดี่ ี ๖.๕ มีความซ่ือสตั ย์สุจริต ๖.๖ มคี วามรับผิดชอบ ๖.๗ มีวินัย ๖.๘ รกั ความสะอาด ๖.๙ มจี ิตสาธารณะ ๖.๑๐ มคี วามผูกพนั กับมัสยิดและโรงเรยี น ๗. มาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรอิสลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจามัสยิด ระดับอสิ ลามศึกษาตอนต้น (อบิ ติดาอียะฮฺ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ กาหนดมาตรฐานการเรยี นเป็นข้อกาหนดคณุ ภาพผู้เรยี นด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพอื่ ใช้เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผู้เรยี นใหบ้ รรลุตามมาตรฐานท่ีกาหนด ๙ สาระการเรียนรู้ ดงั น้ี ๗.๑ อัลกรุ ฺอาน ๗.๒ อลั ฮะดษี ๗.๓ อลั อะกดี ะฮฺ ๗.๔ อลั ฟกิ ฮฺ ๗.๕ อัลอัคลาก ๗.๖ อัตตารีค ๗.๗ ภาษาอาหรับ ๗.๘ ภาษามลายูอกั ษรยาวี ๗.๙ ภาษามลายูอกั ษรรมู ี สาระการเรยี นรู้ทงั้ ๙ สาระ ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เปา้ หมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุสิ่งท่ีผู้เรียนพึงรู้ พึงปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เม่ือจบการศึกษาแต่ละระดับ นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการ เรียนรู้จะสะท้อนหลักสูตรให้รู้ว่าต้องการอะไร จัดการเรียนรู้อย่างไร ประเมินอย่างไร และเป็นเครื่องมือใน การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาหลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีน ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ๔
๘. ตัวช้วี ดั ตัวช้ีวัดระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซึ่งสะท้อนถึง มาตรฐานการเรียนรู้ มีความรู้เฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนดเน้ือหาจัดทาหน่วยการ เรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑส์ าคัญสาหรบั การวดั ผลประเมินผล เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพของผเู้ รียน โดย หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พทุ ธศักราช ๒๕๕๙/ฮจิ เราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ได้กาหนดตัวช้ีวัดชั้นปีที่ ๑ ถึงปีที่ ๖ เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการพัฒนา ผู้เรยี นและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของผู้เรยี นดา้ นต่างๆ ไวแ้ ตล่ ะสาระ โดย หลักสูตรดงั กล่าวจะกาหนดรหสั กากบั มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ัด เพ่ือความเขา้ ใจตรงกนั ดังน้ี กอ ๑ อต ๑/๒ อต ๑/๒ ตวั ชีว้ ดั อบิ ติดาอยี ะฮฺ ชั้นปีท่ี ๑ ข้อท่ี ๒ ๑ มาตราฐานข้อท่ี ๑ กอ สาระอลั กุรอาน กอ หมายถงึ สาระอัลกรุ ฺอาน ฮด หมายถึง สาระอัลฮะดีษ อก หมายถึง สาระอัลอะกีดะฮฺ อฟ หมายถงึ สาระอัลฟิกฮฺ อล หมายถงึ สาระอลั อัคลาก ตร หมายถงึ สาระอตั ตารีค อร หมายถึง สาระภาษาอาหรบั มย หมายถึง สาระภาษามลายูอกั ษรยาวี มร หมายถงึ สาระภาษามลายูอกั ษรรูมี ๙. สาระการเรียนรู้ หลกั สตู รอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจามสั ยดิ ระดับอสิ ลามศึกษาตอนตน้ (อิบติดาอยี ะฮฺ) พทุ ธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศฺ ักราช๑๔๓๗กาหนดสาระการเรยี นรู้พ้นื ฐานจานวน๙สาระและสาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ จานวน๒สาระดังนี้ ๙.๑ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน สาระท่ี ๑ อลั กรุ ฺอาน สาระท่ี ๒ อัลฮะดีษ สาระที่ ๓ อัลอะกีดะฮฺ สาระที่ ๔ อลั ฟิกฮฺ สาระท่ี ๕ อลั อคั ลาก สาระท่ี ๖ อตั ตารีค สาระที่ ๗ ภาษาอาหรับ สาระท่ี ๘ ภาษามลายูอักษรยาวี สาระที่ ๙ ภาษามลายอู ักษรรมู ี ๕
๙.๒ สาระการเรยี นรูเ้ พ่มิ เตมิ สาระที่ ๑ ภาษาองั กฤษ สาระท่ี ๒ ภาษามลายูเพอ่ื การส่ือสาร หรือภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสาร ๑๐. มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละสาระการเรียนรู้ หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮศฺ กั ราช ๑๔๓๗ กาหนดสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๙ สาระการเรยี นรู้ จานวน ๙ มาตรฐาน ดังนี้ สาระท่ี ๑ อลั -กุรฺอาน มาตรฐาน กอ ๑ เข้าใจประวตั ิความเป็นมา ความสาคัญ หลกั การอา่ นอลั กรุ อาน สามารถอา่ น ท่องจาและ อรรถาธิบายอัลกุรอฺ าน ยึดม่นั คาหลกั สอนในอลั กุรอานและนามาปฏบิ ัติในชีวิตประจาวัน สาระท่ี ๒ อลั ฮะดีษ มาตรฐาน ฮด ๑ เข้าใจ ความหมาย ความสาคัญ สามารถทอ่ งจาอัลฮะดีษโดยยึดมัน่ ในหลกั คาสอน อลั ฮะดษี และนาไปปฏิบัติในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน สาระท่ี ๓ อัลอะกดี ะฮฺ มาตรฐาน อก ๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญ และหลักการของหลกั ศรัทธา และโทษของการต้งั ภาคี ตอ่ อลั ลอฮฺ เพ่ือเปน็ บ่าวท่ียาเกรงและภกั ดีตอ่ อลั ลอฮยฺ ดึ ม่นั ในหลกั ศรทั ธา นามาปฏบิ ัติ อย่างเคร่งครดั และสามารถแก้ปญั หาสังคมและสิ่งแวดล้อม เพ่อื การอยูร่ ่วมกนั อย่างมีความสขุ สาระที่ ๔ อัลฟกิ ฮฺ มาตรฐาน อฟ ๑ เขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า ปฏิบตั ติ ามกฎ หลักการ และบทบญั ญตั ิอสิ ลามเกยี่ วกบั อบิ าดะฮ มุอามาละฮ และอ่ืนๆ เพ่อื เป็นแนวทางในการปฏิบตั ศิ าสนกจิ และสามารถนามาวเิ คราะหก์ ับเหตุการณ์ที่เกดิ ข้ึน บนพน้ื ฐานของเหตผุ ล และดารงชีวติ ในสงั คมอย่างมคี วามสุข สาระที่ ๕ อลั อัคลาค มาตรฐาน อล ๑ เขา้ ใจ จริยธรรมอิสลาม สามารถนามาใช้ในการพฒั นาตน บาเพ็ญประโยชนต์ ่อครอบครวั สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม ยดึ มนั่ และปฏิบัติตามจริยธรรมอสิ ลามในการดาเนินชีวติ ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้องเพ่ือการอยรู่ ่วมกันอย่างมคี วามสุข สาระที่ ๖ อัตตารีค มาตรฐาน ตร ๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของประวัติอิสลามสมัยนบมี ุฮมั มดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลัยฮิ วะสัลลมั และบรรดาเศาะฮาบะฮฺ มีความภูมิใจในการดาเนนิ ชวี ิตตามแนวทางของ นบีมุฮมั มัด ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลัม และเศาะหาบะฮฺ สาระท่ี ๗ ภาษาอาหรบั มาตรฐาน อร ๑ เขา้ ใจกระบวนการฟงั พูด อา่ นและเขยี น เหน็ คุณคา่ และมที ักษะในการใช้ภาษาอาหรับเพื่อ การเรยี นร้สู อื่ สาร ค้นคว้า ตคี วามบทบัญญตั ิอิสลามและสือ่ ความหมาย ๖
สาระท่ี ๘ ภาษามลายอู ักษรยาวี มาตรฐาน มย ๑ เขา้ ใจ กระบวนการฟัง พูด อา่ น และเขยี น เห็นคณุ ค่าและมีทักษะในการใชภ้ าษามลายู เพื่อการเรยี นรู้ ส่ือความหมายและค้นควา้ ความรู้ จากแหล่งวทิ ยาการเก่ียวกับศาสนาอิสลาม อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมปี ระสิทธภิ าพ สาระที่ ๙ ภาษามลายอู ักษรรมู ี มาตรฐาน มร ๑ เขา้ ใจกระบวนการฟงั พดู อ่าน และเขียน เหน็ คณุ ค่าและมีทักษะในการใชภ้ าษามลายอู ักษร รมู ีเพือ่ การเรยี นร้สู ่ือความหมายและคน้ คว้าความร้จู ากแหล่งวิทยาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ มีประสทิ ธิภาพและสอื่ สารกับประชาคมอาเซียนได้ หลกั สตู รอิสลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจามัสยดิ ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนต้น (อบิ ติดาอยี ะฮฺ) พุทธศกั ราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม จานวน ๒ สาระ ดังน้ี สาระท่ี ๑ ภาษาองั กฤษ สาระที่ ๒ ภาษามลายูเพ่ือการส่อื สาร หรือภาษาอาหรับเพื่อการส่ือสาร หลกั สตู รอสิ ลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศกึ ษาตอนต้น (อบิ ตดิ าอยี ะฮฺ) พทุ ธศักราช ๒๕๕๙/ ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ได้กาหนดผลการเรียนร้ทู ้งั ๖ ชนั้ ปี ดงั น้ี ช้ันปที ่ี ๑ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั งา่ ยๆได้ ๒. อา่ น เขยี น และบอกคาศพั ท์ตามคาสั่งได้ ๓. สนทนาประโยคสน้ั ๆ ได้ ชัน้ ปีท่ี ๒ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ งา่ ยๆ ได้ ๒. อา่ น เขียนคาศัพท์ และประโยคส้นั ๆ ได้ ๓. ฟงั อ่าน และบอกความหมายของคา และประโยคส้นั ๆ ได้ ๔. ตอบคาถามจากการฟังประโยคสนทนาสั้นๆ ได้ ชั้นปที ี่ ๓ ๑. ปฏบิ ัตติ ามคาสั่งที่ฟังหรืออา่ นได้ ๒. อ่าน เขียนคา กลมุ่ คา และประโยคได้ ๓. ตอบคาถามจากการฟงั หรืออ่านได้ ๔. สนทนาประโยคส้นั ๆ ได้ ชัน้ ปที ่ี ๔ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามคาสั่งคาขอร้อง และคาแนะนาต่างๆได้ ๒. อ่าน และเขียนคา กลุม่ คา ประโยค และข้อความต่างๆ ได้ ๓. ตอบคาถามจากการฟงั และอ่านประโยคและข้อความได้ ๔. สนทนาในสถานการณจ์ ริงหรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรยี นได้ ๗
ช้นั ปที ี่ ๕ ๑. ปฏิบัตติ ามคาสัง่ คาขอรอ้ ง และคาแนะนาที่ฟงั และอา่ นได้ ๒. อ่าน ประโยค ข้อความ และบทความสนั้ ๆได้ ๓. บอกใจความสาคญั และตอบคาถามจากประโยค ข้อความ และบทความส้นั ๆได้ ๔. ใชป้ ระโยคเพ่ือสื่อความหมายตามบริบทตา่ งๆ ในการสนทนาท้ังท่เี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ ชน้ั ปีท่ี ๖ ๑. ปฏิบัตติ ามคาสั่งคาขอร้อง และคาแนะนาที่ฟัง และอ่านได้ ๒. อ่าน ประโยค ข้อความ และบทความได้ ๓. บอกใจความสาคัญ และตอบคาถามจากประโยค ข้อความ และบทความได้ ๔. ใชป้ ระโยคเพื่อสื่อความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนาทงั้ ทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ๘
๑๑. โครงสรา้ งเวลาเรยี น หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจามัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ ฮจิ เราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ กาหนดกรอบเวลาในการจดั การเรียนรู้ ๙สาระการเรียนรู้พืน้ ฐานสาระการเรยี นรเู พ่มิ เตมิ และกจิ กรรมพัฒนา ผูเ้ รียนดงั น้ี ช้นั และเวลาเรียน สาระ ระดับอสิ ลามศึกษาตอนตน้ (อิบตดิ าอียะฮฺ) ชั้นปีท่ี ๑-๖ สาระพืน้ ฐาน ๑๒ ๓ ๔ ๕๖ ๑. อลั กรุ อาน ๒. อัลฮะดีษ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓. อลั อะกีดะฮฺ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔. อลั ฟิกฮฺ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๕. อัลอคั ลาค ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๖. อัตตารีค ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๔๐๐ ๗. ภาษาอาหรับ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘. ภาษามลาย(ู อกั ษรยาวี) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๙. ภาษามลายู (อกั ษรรมู ี) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียนพืน้ ฐาน ไม่นอ้ ยกว่า ๔๔๐ ชม. /ปี ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๔๐ ชม. /ปี สาระเพิ่มเติม ๑. ภาษาอังกฤษ ๒. ภาษามลายูเพอื่ การ สื่อสาร หรือภาษาอาหรับ เพอ่ื การสอื่ สาร กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน รวมเวลาเรียน ๙
การกาหนดโครงสรา้ งเวลาเรียนพนื้ ฐาน สถานศึกษาสามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละรายวิชาได้ตามความเหมาะสม ทั้งน้ี ต้องมีเวลาเรียน รวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน ๔๐๐ ช่ัวโมงต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐาน และตัวช้ีวัดทกี่ าหนด การจัดการเรียนรู้สาระเพิ่มเติมภาษาอังกฤษ ภาษามลายูเพ่ือการส่ือสารหรือภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสาร ให้สถานศกึ ษาจดั ตามความพร้อมของแตล่ ะสถานศึกษา การจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น สถานศึกษาสามารถจดั กจิ กรรมตามความเหมาะสมของแต่ละสถานศึกษา ท้ังน้ี ต้องมเี วลาจดั กิจกรรมรวมตามที่กาหนดไวใ้ นโครงสรา้ งเวลากิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐ ช่ัวโมงต่อปี ๑๒. การจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการสาคญั ในการนาหลกั สูตรสูก่ ารปฏิบัติ หลักสูตรอิสลามศึกษาฟรั ฏูอีนประจา มัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ เป็นหลักสูตรที่มี มาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายสาคัญสาหรับพัฒนา เด็กและเยาวชนในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวน การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร รวมทั้ง ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั นาทกั ษะตา่ งๆ อันเป็นสมรรถนะสาคญั ทต่ี ้องการใหเ้ กดิ แกผ่ ้เู รียน ๑๒.๑ หลักการจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เช่ือว่าทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สมอง เน้นใหค้ วามสาคัญท้งั ความรู้ และคุณธรรม ๑๒.๒ กระบวนการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรทู้ เี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ผเู้ รยี นจะตอ้ งอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายเป็นเคร่ืองมือที่ จะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนกา รจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นร้ขู องตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนิสัย กระบวนการเหล่านี้ เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุ เป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่างๆเพื่อให้สามารถ เลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๑๒.๓ การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเปา้ หมายท่กี าหนด ๑๐
๑๓. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตร ได้อย่างมีประสิทธิภาพส่ือการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีในท้องถิ่น การเลือกใช้ส่ือควรเลือกให้มี ความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และความสามารถในการเรยี นรูข้ องผู้เรียนที่หลากหลาย การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่าง มี คุณภาพจากส่ือต่าง ๆ ท่ีมีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา หน่วยงานที่ เกย่ี วข้องและผู้มีหนา้ ท่จี ัดการศึกษาควรดาเนนิ การดังน้ี ๑๓.๑ จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพทั้งในสถานศกึ ษาและในชุมชน เพือ่ การศึกษาค้นคว้าและแลกเปลย่ี น ประสบการณ์การ เรยี นรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ทอ้ งถน่ิ ชุมชน สังคมโลก ๑๓.๒ จัดทาและจัดหาสื่อการเรยี นรสู้ าหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสรมิ ความรู้ให้ผู้สอนรวมทั้ง จดั หาส่ิงทมี่ อี ยู่ในท้องถ่ินมาประยุกต์ใชเ้ ปน็ สื่อการเรียนรู้ ๑๓.๓ เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ทีม่ ีคุณภาพ มคี วามเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สอดคล้องกับวธิ กี าร เรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผูเ้ รยี น ๑๓.๔ ประเมินคุณภาพของส่ือการเรยี นรู้ทเี่ ลือกใช้อยา่ งเป็นระบบ ๑๓.๕ ศึกษาคน้ คว้า วิจัย เพื่อพฒั นาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั กระบวนการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน ๑๓.๖ จัดให้มกี ารกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพเก่ียวกับสอ่ื และการใช้ส่อื การ เรยี นรู้เปน็ ระยะ ๆ และสม่าเสมอในการจดั ทา การเลอื กใช้ และการประเมินคุณภาพสอ่ื การเรยี นรู้ที่ ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถงึ หลกั การสาคัญของสอ่ื การเรียนรู้ เชน่ ความสอดคลอ้ งกบั หลักสตู ร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ การจดั ประสบการณใ์ หผ้ ู้เรยี น เนื้อหามี ความถูกตอ้ งและทันสมัยไม่กระทบความมัน่ คงของชาติ ไม่ขดั ตอ่ ศีลธรรม มกี ารใชภ้ าษาท่ถี ูกต้อง รูปแบบการนาเสนอทเ่ี ข้าใจง่าย และน่าสนใจ ๑๔. กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ ที่สมบรูณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรมมีระเบียบวินัย ปลูกฝัง และสร้างจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พ่อื สงั คม สามารถจดั การตนเองไดแ้ ละอยูร่ ่วมกับผู้อนื่ อยา่ งมีความสุข กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานอสิ ลามศกึ ษาฟัรฏูอนี แบง่ เปน็ ๓ ลกั ษณะ ดังนี้ ๑๔.๑ กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสมนอกจากน้ี ยังช่วยให้ ผู้สอนรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนา ผเู้ รยี น ๑๑
๑๔.๒ กจิ กรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรูจ้ ักแกป้ ญั หา การตัดสนิ ใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัด ให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ตั ิตามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการทางาน เน้นการทางาน เน้นการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรม นักเรยี นประกอบด้วย ๑๔.๒.๑ กจิ กรรมอบรมพฒั นาผเู้ รียนภาคฤดูร้อน ๑๔.๒.๒ กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม ๑๔.๒.๓ กิจกรรมวชิ าการและกฬี า ๑๔.๒.๔ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๔.๓ กิจกรรมส่งเสริมผู้เรียน ให้อ่านคล่องแคล่วและจาอัลกุรอานแม่นยา ให้สนับสนุนการจัดการเรียน การสอน โดยภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ รว่ มกบั ผ้จู ดั การหลกั สูตร ให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นอย่างทว่ั ถงึ ๑๕. การวัดและประเมนิ ผล การประเมินผลต้องอยู่บนพ้ืนฐานของหลักสูตรโดยการประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และเพื่อตัดสิน ผลการเรยี นให้ประสบผลสาเรจ็ ผู้เรียนนัน้ จะต้องได้รับการประเมินการพัฒนาตามตัวช้ีวัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ โดยสะท้อนถึงสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัด ประเมินผลในทุกๆระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด และระดับชาติ เพื่อให้เกิด การพัฒนาการ ทั้งทางดา้ นการพัฒนาผู้เรยี นและคณุ ภาพการเรยี นรูอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพต่อไป การวดั และประเมินผลแบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชน้ั เรียน ระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด และ ระดับชาติ มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑๕.๑ การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินช้ินงาน ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ โดย ผู้สอนเป็นผปู้ ระเมนิ เองหรอื เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นประเมินกนั เอง เพ่ือนประเมินเพ่ือน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ี ไม่ผ่านตัวช้ีวัดให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพัฒนาการ ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงที่ จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงในการเรียน การสอนของตนดว้ ย ทง้ั นี้โดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้ีวัด ๑๕.๒ การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี ผลการประเมินอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเป็นการประเมินเกี่ยวกับการจัด การศึกษาของสถานศึกษาวา่ ส่งผลต่อการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งท่ีต้องการพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและระดับจังหวัด ผลการ ประเมินระดับศูนย์จะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการ การสอน และรายงานผลการจดั การศึกษาตอ่ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ภาคเี ครือขา่ ย ผ้ปู กครอง และชุมชน ๑๒
๑๕.๓ การประเมินระดับจังหวัด เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับจังหวัด โดยมีคณะกรรมการกลาง จัดทาข้อสอบกลางตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีน ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนในช้ันปีท่ี ๓ และช้ันปีที่ ๖ เข้า รับการประเมิน ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของจังหวัด ท้ังนี้ ผลการประเมินชั้นปีที่ ๖ นาไปใชใ้ นการกาหนดสดั สว่ นคะแนนที่มีความเหมาะสมระหว่างคะแนนจากผลการประเมินระดับจังหวัดกับคะแนนท่ี สถานศกึ ษา ทาการประเมนิ เพื่อใช้ในการตดั สนิ ผลการเรยี นตามเกณฑ์การจบหลกั สตู ร ๑๕.๔ การประเมนิ ระดับชาติ เปน็ การประเมนิ คุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีน ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช ๒๕๕๙/ฮิจเราะฮฺศักราช ๑๔๓๗ ต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนในช้ันปีท่ี ๖ เข้ารับการประเมินผล จากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียง คุณภาพการศึกษา เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ ในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมลู การประเมนิ ในระดับต่างๆข้างตน้ เปน็ ประโยชนต์ ่อสถานศกึ ษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษา ที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนบั เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนเตม็ ตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างของบุคคลท่ีจาแนกตาม สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูล จากการประเมินจึงเป็นหัวใจของศูนย์ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนให้ทันท่วงที เปิดโอกาสผู้เรียนให้ได้รับการ พัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะรับผิดชอบการศึกษาจะต้องจัดทาระเบียบ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติตาม คูม่ ือหลักสตู รทีเ่ ปน็ ข้อกาหนดของหลักสูตรเพื่อใหบ้ ุคลากรที่เกยี่ วข้องทุกฝ่ายถอื ปฏิบัตริ ว่ มกัน ๑๓
๑๖. เกณฑ์การจบหลักสตู ร มาตรฐานการศึกษาอิสลาม หลกั สตู รไดก้ าหนดเกณฑก์ ลางสาหรับการจบการศึกษาตามทหี่ ลักสูตร มาตรฐานการศึกษาอิสลาม ดังน้ี ๑๖.๑ ผู้เรียนเรียนรายวิชาและเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนตามโครงสร้างเวลาเรยี นที่หลกั สูตรกาหนด ๑๖.๒ ผ้เู รียนตอ้ งมผี ลการประเมนิ รายวิชาพืน้ ฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด ๑๖.๓ ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นส่ือความในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ๑๖.๔ ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด ๑๖.๕ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด ๑๖.๖ กรณีศูนย์การศึกษาอิสลามศึกษาประจามัสยิด (ตาดีกา) ให้ประเมินผลผู้เรียนผ่านเกณฑ์ตามท่ีศูนย์ การศกึ ษาอิสลามศกึ ษาประจามสั ยดิ (ตาดีกา) กาหนด ๑๗. การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรียน เปน็ การรายงานผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทราบ ดงั นี้ ๑๗.๑ การรายงานผลการเรียนเป็นการสือ่ สารใหผ้ ูป้ กครองและผเู้ รยี นทราบความก้าวหนา้ ในการเรยี นร้ขู อง ผเู้ รียนซง่ึ สถานศกึ ษาต้องสรุปผลการประเมนิ และจัดทาเอกสารรายงานใหผ้ เู้ รยี น ผปู้ กครอง และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง อย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ ครัง้ ๑๗.๒ การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดับคุณภาพปฏิบัตขิ องผูเ้ รยี นที่สะท้อนมาตรฐาน การเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๑๘. เอกสารหลักฐานการศกึ ษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญท่ีบันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง กบั พัฒนาการของผเู้ รยี นในด้านต่างๆแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี ๑๘.๑ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด ๑๘.๑.๑ ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปอ.๑) เป็นเอกสารแสดงผลการเรยี นและรบั รองผลการเรียน ของผูเ้ รยี นตามรายวชิ า ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสอื่ ความ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ของศนู ย์ประสานงานตาดีกา ๕ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๘.๑.๒ ประกาศนียบัตร (ปอ.๒) เป็นเอกสารแสดงวฒุ ิการศกึ ษา ๑๘.๑.๓ แบบรายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษา (ปอ.๓) เปน็ เอกสารรายงานผู้สาเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร ๑๘.๒ เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากาหนดเป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขนึ้ เพื่อ บันทกึ พัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับผู้เรียน เชน่ แบบรายงานประจาตัวนักเรยี น แบบบนั ทึกผลการ เรยี นประจารายวิชา ระเบยี นสะสม ใบรบั รองผลการเรยี น และเอกสารอน่ื ๆตามวตั ถปุ ระสงค์ของการนาเอกสารไปใช้ ๑๔
๑๙. การเทียบโอนผลการเรียน ศูนย์การศึกษาอิสลามศึกษาประจามัสยิด (ตาดีกา) สามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายศูนย์การศึกษาอิสลามศึกษาประจามัสยิด (ตาดีกา) การเปล่ียนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนควรกาหนดความรู้ ทักษะประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถาน ประกอบการ สถาบนั ศาสนา การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัวและสถาบันศึกษาปอเนาะ การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรียนที่สถานศึกษารับผู้ขอ เทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ืองในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอน อย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยศูนย์ที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกาหนดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จาก การศึกษาในรูปแบบต่างๆ มาเทียบโอนเป็นผลการเรียนของหลักสูตรท่ีกาลังศึกษาอยู่ การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ดังนี้ ๑. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอ่ืนๆทแ่ี สดงถึงข้อมูลความรู้ความสามารถของผู้เรียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนด้วยวิธกี ารตา่ งๆท้ังภาคความรู้และภาคปฏบิ ัติ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิตามสภาพจริง ทั้งนก้ี ารเทียบโอนผลการเรยี นให้เปน็ ไปตามประกาศ และ / หรอื แนวปฏบิ ัตทิ ่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด ๑๕
๒๐. มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ อัลกรุ อฺ าน มาตรฐาน กอ ๑ เข้าใจประวัติ ความเปน็ มา ความสาคัญ หลักการอ่านอลั กุรฺอาน สามารถอา่ น ท่องจา และอรรถาธิบาย อัลกรุ อฺ าน ยดึ มั่นคาสอนในอัลกรุ ฺอานและนามาปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจาวัน ระดับช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ อต.๑ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั ของ ๑. ความหมาย ความสาคัญและประวตั คิ วามเป็นมา อต.๒ อลั กุรฺอาน ของอลั กุรฺอาน ๒. อ่านพยัญชนะ สระตามหลักการออกเสยี ง ๒. พยัญชนะ และสระภาษาอาหรบั ( )مخرج๒.๑ พยญั ชนะ ()حروف هجائية ๓. ทอ่ งจาสูเราะฮฺทกี่ าหนด ๒.๒ การอ่าน ฟตั หะฮฺ กสั เราะฮฺ ๔. ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ในการอา่ น และฏอ็ มมะฮฺ อัลกุรฺอาน ๓. การอ่านและการท่องจาสูเราะฮฺดังน้ี ๓.๑ อัลฟาติหะฮฺ ()سورِ الفاتحة ๓.๒ อันนาส )(سورِ الناس ๓.๓ อลั ฟะลัก )(سورِ الفلق ๓.๔ อัลอิคลาศ ()سورِ اْلخلاص ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ และ ๑. อลั กรุ ฺอาน ความเปน็ มาของอลั กรุ ฺอาน ๑.๑ ความหมาย ๒. อ่าน พยัญชนะ และสระตามหลักการ ๑.๒ ความสาคญั อา่ นท่กี าหนด ๑.๓ ประวตั คิ วามเป็นมา ๓. ท่องจาสเู ราะฮฺที่กาหนด ๑.๔ ความเป็นมาโองการแรก ๔. ตระหนักและเห็นคุณค่าในการอ่าน ๒. พยัญชนะ และสระภาษาอาหรับ อลั กรุ ฺอาน ๒.๑ การอา่ นฟัตหะตัยน์ กสั เราะตยั น์ และฏอ็ มมะตยั น์(ตันวนี ) ๒.๒ การอ่านอะลฟิ ลามที่มสี ระสุกูน (กอมารียะฮ์)และชดั ดะฮฺ(ซัมวซียะฮ)์ ๒.๓ การอา่ นพยัญชนะนนู ชดั ดะฮฺและ มมี ชัดดะฮฺ ๓. การอ่านและการท่องจาสเู ราะฮฺดังน้ี ๓.๑ อลั มะสัด ()سورِ المسد ๓.๒ อลั นศั รุ )(سورِ النصر ๓.๓ อัลกาฟิรนู )(سورِ الكافرون ๓.๔ อลั เกาษรั ()سورِ الكوثر ๑๖
ระดบั ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ อต.๓ ๑. บอกคุณคา่ และมารยาทในการอา่ น ๑. อลั กุรฺอาน อต.๔ อลั กุรฺอาน ๑.๑ คณุ ค่าและประโยชนข์ องการอา่ นและ ฟงั อัลกรุ ฺอาน อต.๕ ๒. บอกและอา่ นตามหลักการอา่ น ๑.๒ มารยาทในการอา่ นอัลกุรอฺ าน อลั กรุ อฺ านที่กาหนด ๑.๓ ความประเสริฐของการอ่านอัลกรุ อฺ าน ๓. ท่องจาสเู ราะฮทฺ ี่กาหนด ๔. ตระหนักและเหน็ คุณค่าในการอา่ น ๒. หลักการอ่านอลั กุรอาน อลั กรุ อฺ าน ๒.๑ หกุ ุมนนู สากนิ ะฮฺและตนั วนี ()حكوم نون ساكنة دان تنوين ๒.๒ หุกุมอิซฮารฺ ()حكوم إظهار ๒.๓ หกุ ุมอดิ ฆอมมะอัลฆุนนะฮฺ () حكوم إدغام مع الغنة ๒.๔ หุกมุ อิดฆอมบลิ าฆนุ นะฮฺ () حكوم إدغام بلاغنة ๓. การอ่านและการท่องจาสูเราะฮดฺ ังนี้ ๓.๑ อลั มาอนู () سورة الماعون ๓.๒ กุร็อยชฺ ()سورة قريش ๓.๓ อัลฟีล () سورة الفيل ๓.๔ อัลฮมุ ะซะฮฺ ()سورة الهمزة ๓.๕ อัลอัศรฺ ()سورة العصر ๑. อรรถาธิบายอัลกุรฺอานสูเราะฮฺท่ี ๑. อรรถาธบิ ายความหมายของสเู ราะฮฺต่อไปน้ี กาหนด ๑.๑ อัลฟาติหะฮฺ ()سورة الفاتحة ๒. บอกและอ่านตามหลักการอ่าน ๑.๒ อันนาส ()سورة الناس อัลกรุ อฺ านที่กาหนด ๑.๓ อัลฟะลัก ()سورة الفلق ๓. ทอ่ งจาสเู ราะฮฺที่กาหนด ๔. ตระหนักและเหน็ คุณค่าในการอ่าน ๒. หุกุมนนู สากนิ ะฮฺและตนั วีน ดังน้ี ๒.๑ หุกุมอิคฟาอฺ ()حكوم اخفاء อัลกุรอฺ าน ๒.๒ หกุ มุ อิกลาบ ()حكوم اقلاب ๓. การอ่านและการท่องจาสูเราะฮฺดังนี้ ๓.๑ อตั ตะกาษรุ ฺ () سورة التكاثر ๓.๒ อัลกอรอิ ะฮฺ ()سورة القارعة ๓.๓ อลั อาดญิ าตฺ ()سورة العاديات ๓.๔ อซั ซลั ซะละฮฺ ()سورة الزلزلة ๔. อ่านอลั กรุ ฺอานญุซที่ ๑ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ และ ๑. อรรถาธบิ ายความหมายของสูเราะฮฺต่อไปนี้ ความเป็นมาของสูเราะฮทฺ ่ีกาหนด ๑.๑ อลั อคิ ลาศ ()سورة الخلاص ๒. บอกและอ่านตามหลักการอา่ น ๑.๒ อัลมะสัด ()سورة المسد อลั กุรฺอานท่ีกาหนด ๑.๓ อลั นศั รุ ()سورة النصر ๓. ท่องจาสเู ราะฮฺทีก่ าหนด ๑๗
ระดบั ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ ๑.๔ อลั กาฟิรูน ()سورة الكافرون ๔. ตระหนักและเห็นคุณคา่ ในการอา่ น ๒. หลกั การอา่ นอัลกุรฺอาน ๒.๑ หกุ ุมมีม ()حكوم ميم อลั กุรฺอาน ๒.๒ หุกมุ รออ์ () حكوم راء อต.๖ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ และ ความเป็นมาของสเู ราะฮทฺ ่ีกาหนด ๒.๓ หกุ ุมก็อลเกาะละฮฺ () حكوم قلقلة ๒. บอกและอา่ นตามหลักการอ่าน ๓. การอ่านและการท่องจาสเู ราะฮฺดังน้ี อัลกรุ ฺอานที่กาหนด ๓.๑ อลั บัยยนิ ะฮฺ ()سورة البينة ๓. ทอ่ งจาสูเราะฮทฺ ่ีกาหนด ๓.๒ อลั ก็อดรฺ ()سورة القدر ๔. ตระหนักและเหน็ คุณคา่ ในการอ่าน ๓.๓ อลั อะลัก ()سورة العلق อัลกุรฺอาน ๔. อา่ นอลั กุรอฺ านญุซอฺ ท่ี ๒ ๑. อรรถาธิบายความหมายของสเู ราะฮฺต่อไปน้ี ๑.๑ อลั เกาษรั ()سورة الكوثر ๑.๒ อลั มาอูน ()سورة الماعون ๑.๓ กุรอ็ ยชฺ ()سورة قريش ๑.๔ อลั ฟีล ()سورة الفيل ๒. หลกั การอา่ นอัลกุรอฺ าน ที่กาหนด ๒.๑ หกุ ุมมัดอัศลีย์ ( ) حكوم مداصلي ๒.๒ หกุ ุมมดั มุตตะศลิ () حكوم مد متصل ๒.๓ หกุ ุมมดั มุนฟะศลิ ( ) حكوم مد منفصل ๒.๔ หกุ มุ มัดลีน ( ) حكوم مد لين ๒.๕ หุกุมมัดอาริฎลิ ิสสุกูน ( ) حكوم مد عارض للسكون ๓. การอ่านและการท่องจาสเู ราะฮฺดังนี้ ๓.๑ อัตตีนฺ () سورة التين ๓.๒ อัลอัศรฺ () سورة العصر ๓.๓ อฎั ฎฮุ า ()سورة الضحى ๔. อา่ นอลั กรุ อฺ านญซุ ที่ ๓ ๑๘
สาระที่ ๒ อัลฮะดีษ มาตรฐาน ฮด ๑ เข้าใจ ความหมาย ความสาคัญ สามารถท่องจาอัลฮะดษี โดยยดึ มนั่ ในหลกั คาสอน อัลฮะดีษ และนาไปปฏบิ ตั ิในการดาเนินชีวติ ประจาวัน ระดบั ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้ อต.๑ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั ของ อัลฮะดษี ๑. ความหมายและความสาคัญของอลั ฮะดีษ อต.๒ ๒. อา่ นและท่องจาอลั ฮะดีษที่กาหนด ๓. เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัตติ ามหลกั คาสอน ๒. อัลฮะดษี ทเี่ กยี่ วกับ... จากอัลฮะดีษท่ีกาหนด ๒.๑ การศึกษา )(طَلَب الْعِْلِم فَِريْ َضةٌ على ك ِّل مسلم ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ ของอัลฮะดีษ حسن: ابن ماجه ๒. อา่ น และทอ่ งจาอัลฮะดีษที่กาหนด ๒.๒ ความสะอาด ๓. เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ติ ามหลักคาสอน (الطهور َشطْر اِْلْيَا ِن) مسلم จากอัลฮะดีษท่ีกาหนด ๒.๓ ความอดทน ِِبا إ َلّكَّفَر تصيب المسلِ َم (ما ِمن مصيبة عنه الل عليه يشاكها) متفق حَّّت ال َّشوكِة، ๒.๔ จริยธรรมท่ดี ี )(إَِّنَا بعِثْت ِْلَّتَِم َم َكا ِرَم اْلَ ْخلاَِق صحيح: مالك ๒.๕ การให้สลาม أَ(فْأَلشَواأَدالل َكّسْملاَمَعلَبَْيىنَ َكش ْمْي)ءمإِذَاسلفَمَعْلتموه تَحَابَْبت ْم ؟ ๒.๖ บุคลกิ ภาพทีน่ ่ายกย่อง )(إن ِم ْن ح ْس ِن إِ ْسلاَِم الْ َمْرِء تَْركه َما لَ يَْعنِيِه صحيح: ابن حبان ๑ .ความหมายและความสาคัญของอัลฮะดีษ ๒. อลั ฮะดีษที่เก่ียวกับ... ๒.๑ หลกั การอสิ ลาม ََ(ووأَبََحِّنَنِّجااُْحلِمَلبّيَمْسًدلاتاَمَوَرَعَصسلَْووِىملََراََمْخلِلَضاسَوإَِنقََ)شاَِمهااَدلِِ َّصأَلْناَِِلََوإِإِيلَتَهَاِءإِ اَلّلَّزَاكلاِِل متفق عليه ๒.๒ การอบรมตกั เตอื น لِل ولكتابِِه َيلمونعا؟َّمتِقاهمل:الوَْنّلئِصَّْيم ِةَحالةم قلسنلام متفق عليه : ول(ارل ّسِديْولِنِه ) ๑๙
ั้ระดับชน ตัวชีว้ ัด ู้สาระการเรียนร อต.๓ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคัญของ ี๒.๓ การพูดท่ีด อัลฮะดีษท่ีกาหนด (الكلمة الطيبة صدقةٌ) متفق عليه ่ี๒. อ่าน เขยี นและท่องจาอลั ฮะดษี ท ๒.๔ การเคารพต่อบดิ ามารดา กาหนด لِ(َثوَاللِاَدثَيْةٌِه،لَويَمْنْدظِمرناالْلْلَإِْملَْيِرِهْ ،مَوايلََْْومََنمّاالْنِقِِيَباَاَمِأةَ ْع:طَالْىَع)اقابن ๓. เหน็ คุณค่าและปฏิบัตติ ามหลักคาสอน حبان :صحيح จากอัลฮะดีษทก่ี าหนด ฺ๒.๕ ความประเสริฐของการละหมาดญะมาอะฮ (صلاِ الجماعِة أَفضل من صلاِِ الَف ِّذ بسبع وعشرين َدَرَجة) متفق عليه ฺ๒.๖ ความยาเกรงต่ออัลลอฮ َ(تْاَتّحِقَهاا،للَِو َخَحاْيلِثَِقماالنكاْنسَتِِ،بلَوأَقتْبِ ْعَحالَس َّسنّيِ)ئَةَ اْْلَ َسنَةَ الترمذي :حسن ๒.๗ ยาเสพติด (كل مس ِكر ََخٌر َوكل ََخْر َحراٌم) مسلم ี่๑. ความหมายและความสาคัญของอัลฮะดีษท กาหนด ๒. อลั ฮะดีษทเี่ กย่ี วกับ ๒.๑ หลักการอีหมา่ น َ(وَخفََمْأَْلِياهِْخئَِِْبوَِكِتَِشنِهِّرِهََعوحك)ْنتحبِامِهتِْلفَْويحَرقاحسِنلِعِهل.يَهوقاَلْايََْلوِم:األَآْنِختحِرْؤِمَوتَنْؤِبِماَلنِلبِالَْق َد ِر ี ี๒.๒ ลูกท่ด (إَِذا َما َت اِْلنْ َسان انقطع عمله إل من ثلاث صدقة جارية أو علم ينتفع به أو ولد صال يدعو له) مسلم ี๒.๓ การปฏิบตั ใิ นสง่ิ ที่ด (كل َم ْعروف َص َدقَةٌ) متفق عليه ี ี่๒.๔ มารยาททด ( أَ ْك َمل الْمْؤِمنِ َي إِْيَانا أَ ْح َسنه ْم خلقا ) أبو داود :صحيح ๒๐
ั้ระดับชน ตวั ชว้ี ัด ู้สาระการเรียนร อต.๔ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ ของ ๒.๕ การให้อภัย อลั ฮะดีษที่กาหนด (إ َّن النا َس َل يعطوا شيئا أفض َل من العف ِو والعافيِة فسلوهما اللَ) البزار :حسن ๒. อา่ น สรปุ ใจความสาคัญ และ ่๒.๖ บาปใหญ ท่องจาอัลฮะดษี ท่กี าหนด (ذكر رسول اللِ الانلفل ِسع،ليهوعقووسلقمالاولالكدبيْائنَ)ر صلى فقال:الشرك باللِ، ๓. เห็นคณุ ค่า และปฏิบัติตามคาสอนจาก وقتل อัลฮะดษี ที่กาหนด متفق عليه ๒.๗ ความโปรดปรานของบิดามารดา (َسِر َخَض ِىط االلََّروالِِّبِد)فالتِررمَضذىيالَ:والِ ِدح،سون َس َخط الَّر ِّب ف ๒.๘ ความรักต่อครอบครัว ْلهلِي وإذا ْلهلِِه :حسن وأنا َخْيرك ْم فَ َدعوه (ما َخَْتيركصْما ِحَخبْيَكركْمْم ) الترمذي ๒.๙ โทษยาเสพติด (حَمِرَمنهاشِرفَبالاآْلِخمَرَِر) الفبالخادنريايَ ،ثّ َل يت ْب منها، ่ี๑. ความหมายและความสาคัญของอัลฮะดีษท กาหนด ๒. อลั ฮะดษี ทเี่ กยี่ วกับ ๒.๑ อฮิ ซาน (ما اْلحسان ؟ قال \" أن تعبد اللكأنك تراه، فإن َل تكن تراه فإَنّه يراك) متفق عليه ๒.๒ รักในความเปน็ พ่นี อ้ ง (ل يؤِمن أحدكم حّت ُِي َّب ْلخيه ما ُِيب لنَ ْف ِسه) متفق عليه ิ๒.๓ ภยั ยาเสพตด (ل يدخل الجَنّةَ مَنّا ٌن ،ول عا ٌّق ،ول مدمن َخر) النسائي :صحيح ๒.๔ การมสี จั จะ ،وإ َّن الَِّب ا(ملإتجََفّنّنِةقال،عِّصليوإدهَّنَق اليََّرهجد َليليَإلصىدالِقّبِ يَهدي إلى حَّّت يَكوَن ص ِّديقا) ๒๑
้ระดบั ชัน ู้ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร อต.๕ ์๒.๕ การเช่ือมความสมั พันธ ال(مرَحيقِضالم،سوالتِبماععلالىجناالمئ ِزس،ل ِموإَجخابةٌس ال:درعدوِِال،سولتَاِشم،ميوعتيادِ العاط ِس) متفق عليه ๒.๖ การบริจาค ا(ليأَِدفْ الَضلسْفاللىَّص َدواقَبِةدأَْعِلَبىن ظَْهِر َغِِّن واليد من خْيا العليا تعول) مسلم ๒.๗ การละอายต่อบาป ا(ْأصلََلنّّنىصاراِرلسلووَلهعلوايِهليَِلعِوظسصَلَّلأَّمىخااه:لِملد َعنهعالْيفلِهإيَاّنِءواسفَْلّلقياَمالءَمَلِّرمهَنبرراسْجلوْيللا ِاِمنلَلِ)ن البخاري ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญของ ๑. ความหมายและความสาคัญของ อลั ฮะดีษทกี่ าหนด อลั ฮะดษี ทกี่ าหนด ๒. อา่ น สรุปใจความสาคญั และทอ่ งจาอลั ๒. อลั ฮะดษี ท่เี กีย่ วกับ ฮะดีษที่กาหนด ู้๒.๑ ความสาคัญในการแสวงหาความร ๓. เห็นคุณค่า และปฎิบตั ิตามคาสอน ب(هَم ْنطريَسقلَا إَكلىطَاِلريْجنقاِة.يَ)ْلتَ ِرمواهسمفِْيسِهلمِعلما سَّهل الل له จากอลั ฮะดีษทกี่ าหนด ๒.๒ คุณคา่ ของการศกึ ษา (َمن يِرِد الل بِِه َخْيا ي َفِّق ْهه ف ال ِّدي ِن) متفق عليه ๒.๓ ส่งิ ทคี่ รุมเครือ اي(اعسلْتلِملَبأهااللدكبيّثِنٌِْهييٌ،وموِعانْرلاِضلرانهما ،بِّسِوٌَ،يم،نف َموبويِقنَنعاهتماقفىمالاَشلَمبّشهبَاشَبهّاهٌتاِتِت)ل متفق عليه ิ๒.๔ รกั และเมตตาผู้ท่ีอ่อนกว่าและใหเ้ กียรต ผู้ท่ีอาวโุ ส َويَْعِر ْف يَْرَح ْم َصغَِْينَا (َلكَْيبِِْينََسا)ِمَناّلاترَمم ْنذ َيَلْ :حسن َشر َف (ع ِّذب ِت امرأٌِ ف هَّرِ َ์ل วتัตطสعِْ่อمตهาاตوَตلเมتรسِาقกها.๕وَل๒ تترْكها تأكل من خشا ِش اْلر ِض) متفق عليه ๒๒
ั้ระดับชน ู้ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร อต.๖ ี ี๒.๖ การงานท่ด اْلط ِب بِحْزَمِة (عَلَْلىْنظيأهِرِهخ َذفيَبأيعحهداك،مفيَ َكحْب َلَّفه،الفليَأِِْبات خْيٌ له وج َهه، من أن يسأ َل الناس،أعطوه أو منعوه) البخاري ๒.๗ การพ่ึงพาตนเอง م َن المؤم ِن الِل ما ينفع َك، على ا(لواالمَّسضتِؤععِيمننِفبا،اللقلِووفويلكتخلعِْيٌجخْزْويٌأ)،حامحسبلِر إملصى ๒.๘ โทษยาเสพติด كعاب ِد (مدمن اْلمِر َوثَن) اللَ لق َي مات إن أحمد :حسن ี ่๒.๙ การสร้างความสัมพนั ธ์ทีด ف رزقِه، ف لَه وين َسأَ عليه أفليحَ َِّصب ْلأ َنرحِيمَبه)س مَطتفلَهق أ(ثََمِرهن، ๒.๑๐ การปฏบิ ัติตอ่ เด็กกาพร้า. (أنا َوكافل اليتي ِم ف الجَنِّة َه َكذا وأشاَر بال َّسَبّابِة والوسطى ،وفَّرَج بينَهما شيئا) البخاري ๑. อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งอัลฮะดีษ ๑. ความแตกตา่ งของอลั ฮะดีษกับอัลกรุ อาน และอัลกรุ อาน ๒. อลั ฮะดษี ท่เี กี่ยวกับ ๒. อา่ น สรุปใจความสาคัญ และท่องจา ๒.๑ ปฏบิ ัติในส่ิงทด่ี ี ละเว้นในสิง่ ที่ชั่ว อัลฮะดษี ท่ีกาหนด (ما نهيتكم عنه فاجتنبوه وما أمرتكم بِه فافعلوا منه ما استطعتم فإَّنا أهل َك الذين من قبلكم ๓. เห็นคณุ ค่า และปฎิบตั ติ ามคาสอน كثرَِ مسائلهم ،واختلافهم على أنبيائهم) مسلم จากอลั ฮะดีษทกี่ าหนด ๒.๒ การปฏบิ ัตติ นต่อบดิ ามารดา (أي العم ِل أحب إلى الل ؟ قال :الصلاِ على : قفالسب:يلثابللِر)الالوبال َخدايرنيقال ث أ ٌّي ؟ وقتها قال : :الجهاد ث أ ٌّي؟ قال ๒๓ ๒.๓ การหา้ มเนรคุณต่อบิดามารดา فَََ(روأَمَسجاللَوََزالأَسنََّلبِ،ائليِلَكوَ،ككّْمِاررقََنبهاِأاََلمَْك:تََِّحِبِكّّائْتاِاللْ،قْشْلَكنفَرباااقئِالكَِْيرَتَلبِهاثَأَللالَِلسثاَكََ،ووقَعَْتققَوا)لولاوالقاب:لّازخلْبوَالِورارلِىَقديَياْيَِنلا
ั้ระดบั ชน ู้ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นร ่๒.๔ การปกปิดความลบั ของผอู้ ืน يوَم الل ستره إل الدنيا، ف عبدا (ل يستر عب ٌد القيامِة) مسلم ์๒.๕ การตอบรับงานวะลีมะห ((إجَضماذياَِرنفِهه،د،كِعاووََميَنَم أنينحؤكمدكاانكَنَنمبيايإلؤَلّلؤمِِهىمิมنانลلوابلبุสوالياليَلิมلّوَلِّمِهمِตهِةรاوالفوียاللآلييกيو้เخِِومِجِرم หا،ใاْلبรلآف)آาليخِกخمِرِرح،س.ِ،๖لسففلمْ๒لنييَ ْإكقلِرْْملى خْيا أو ليسك ْت) مسلم ๒.๗ โทษของยาเสพติด (لع َن الَلّه اْلمَر ولع َن شارَِبا وساقيَها وعاصَرها إلويمِهعتَوآصَكرهَلا ثمنِوبهاائ)َع أهاحمودمب:تَا َعصهاحيوححاملَها والمَحمولةَ ๒.๘ การแต่งกาย ْ(ِلنَحاِّثرَِمِه لِْمبَا) اسلتارْْملَِرذيِريَوا:ل َّذ َصه ِحبيحَعلَى ذكوِر أَّمِت َوأ ِح َّل ๒.๙ การห้ามอยตู่ ามลาพังระหว่างชายหญิง (ل َيْلَوَّن رجلٌ بامأرِ إل مَع ِذي َمرم) متفق عليه ๒.๑๐ สิทธิมสุ ลมิ ตอ่ มุสลิม (حق المسل ِم على المسل ِم س ٌّت .قيل :ماه َّن ؟ وإذا يمدعااعِطارتسكسفواََفتّفلبِأَْعِاحهجلِْبم)ِلهَد.م!اسلوقلإَلامذالف اَشِّ :مسإْتتنهذاصلوإِقَحيذتَاهكمفِفراسنّلَِضْمصفْحععلْدليههه وإذا وإذا ์๒.๑๑ การขอดุอาอ (ل تَدعوا علَى أنف ِسكم إ َلّ ِِبْي ،فإ َّن الملائِ َكَة يؤِمنوَن علَى َما تَقولون) أبو داود :صحيح ๒๔
สาระท่ี ๓ อัลอะกดี ะฮฺ มาตรฐาน อก ๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญ และหลักการของหลักศรัทธา และโทษของการต้งั ภาคี ระดบั ช้ัน ต่ออัลลอฮฺ เพ่อื เป็นบ่าวทยี่ าเกรงและภักดตี อ่ อลั ลอฮฺ ยึดมั่นในหลกั ศรัทธา นามาปฏบิ ตั ิอย่าง เครง่ ครัด และสามารถแก้ปัญหา สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เพอ่ื การอย่รู ่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้ อต.๑ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั และ ๑. หลักศรัทธา (อะกดี ะฮฺ) ๖ ประการ องคป์ ระกอบของหลักศรทั ธา ๖ ๑.๑ ความหมาย และความสาคญั ของหลกั ประการ ศรัทธา ๖ ประการ ๑.๑.๑ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ๒. บอกพระนามของอัลลอฮฺพรอ้ ม ๑.๑.๒ การศรัทธาต่อมลาอกิ ะฮฺ ความหมาย ๑.๑.๓ การศรัทธาต่อรอซลู ๑.๑.๔ การศรัทธาต่อคมั ภีร์ ๓. ยดึ มัน่ ยอมรบั และปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ ๑.๑.๕ การศรทั ธาต่อวนั กิยามะฮฺ ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ๑.๑.๖ การศรทั ธาต่อเกาะฎออฺและ เกาะดัรฺ ๑.๒ โทษของการปฏิเสธศรัทธาต่ออัลลอฮฺ และผลตอบแทนของการศรทั ธาตอ่ อัลลอฮฺ ๒. พระนามของอลั ลอฮพฺ ร้อมความหมายลาดบั ท่ี ๑-๑๐ ๓. การปฏิบัติตนเป็นผ้ศู รัทธาต่ออลั ลอฮฺ เช่น การละหมาด ๕ เวลา อต.๒ ๑. บอกความหมายและความสาคญั ของ ๑. การศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ การศรทั ธาตอ่ อัลลอฮฺ และพระนาม ๑.๑ ความหมาย และความสาคัญ พรอ้ มความหมาย ๑.๒ พระนามพร้อมความหมายลาดับ ๒. บอกความหมาย ความสาคญั ของการ ที่ ๑๑-๒๔ ศรทั ธาต่อมลาอกิ ะฮฺที่ตอ้ งรู้จัก ช่ือ ๑.๓ โทษของการปฏิเสธศรัทธาตอ่ อัลลอฮฺ คุณลักษณะทีส่ าคัญ และผลตอบแทนของการศรัทธาตอ่ อลั ลอฮฺ ๓. บอกความหมาย ความสาคญั ของการ ๒. การศรัทธาต่อมลาอกิ ะฮฺ ศรัทธาตอ่ รอซลู พร้อมจานวนและ ๒.๑ ความหมาย และความสาคัญ ชอ่ื ๒.๒ จานวน และชื่อมลาอิกะฮฺทง้ั ๑๐ ๔. บอกความหมาย ความสาคญั ของการ ๒.๓ คุณลักษณะทสี่ าคัญ ศรัทธาตอ่ คัมภีร์ (กติ าบ) พรอ้ มจานวน ๓. การศรัทธาต่อรอซลู และช่ือ ๓.๑ ความหมาย และความสาคัญ ๕. บอกความหมาย ความสาคัญของการ ๓.๒ ความแตกต่างระหวา่ งนบีและรอซูล ศรทั ธาตอ่ วนั กิยามะฮฺ ๓.๓ จานวน และชื่อรอซูล ๒๕ ทา่ น ๖. บอกความหมาย ความสาคัญของการ ๓.๔ คณุ ลักษณะของรอซูล (วาญิบ ศรัทธาต่อเกาะฎออฺ เกาะดัรฺ มสุ ตะฮับ และญาอซิ ) ๗ .ยดึ มั่น ยอมรับ และปฏบิ ัติตนเป็นผู้ ๔. การศรทั ธาต่อคัมภรี ์ (กติ าบ) ศรัทธาตอ่ อัลลอฮฺ ๔.๑ ความหมาย และความสาคัญ ๒๕
ระดับชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ อต.๓ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั ของการ ๔.๒ จานวน และชอื่ คัมภรี ์ ๔ เลม่ ศรัทธาต่ออัลลอฮแฺ ละพระนาม ๕. การศรทั ธาต่อวนั กิยามะฮฺ พร้อมความหมายท่ีกาหนด ๕.๑ ความหมายและความสาคัญ ๒. บอกความหมาย ความสาคัญการ ๕.๒ สวรรค์และนรก ศรัทธาและคุณลักษณะของมลาอกิ ะฮฺ ๖. การศรทั ธาต่อเกาะฎออฺและเกาะดัรฺ และหน้าท่ี ๖.๑ ความหมายและความสาคญั ๗. พฤติกรรมของผู้ศรัทธาตอ่ อัลลอฮฺ ๓. บอกความหมาย ความสาคัญการ ศรทั ธาและคุณลกั ษณะของรอซูล ๑. การศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ ๑.๑ ความหมายและความสาคัญ ๔. อธบิ ายความหมาย ความสาคญั ของ ๑.๒ พระนามพร้อมความหมายลาดบั การศรัทธาตอ่ คัมภีร(์ กิตาบ) ท่ี ๒๕-๓๙ พรอ้ มจานวนและชื่อทีก่ าหนด ๑.๓ โทษของการปฏิเสธศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ และผลตอบแทนของการศรทั ธาต่ออลั ลอฮฺ ๕. อธิบายความหมาย ความสาคญั การศรัทธาและสัญญาณวนั กิยามะฮฺ ๒. การศรัทธาต่อมลาอกิ ะฮฺ ๒.๑ ความหมาย และความสาคญั ๖. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ และ ๒.๒ คณุ ลักษณะของมลาอิกะฮฺ ลกั ษณะผู้ศรัทธาตอ่ เกาะฎออฺ ๒.๒.๑ คณุ ลกั ษณะท่ัวไป และเกาะดรั ฺ ๒.๒.๒ คณุ ลกั ษณะเฉพาะ ๒.๓ หนา้ ท่ขี องมลาอกิ ะฮฺ ๗. ยึดมัน่ ยอมรับและปฏบิ ัตติ นเป็นผู้ ศรทั ธาตอ่ อัลลอฮฺ มลาอิกะฮฺ รอซูล ๓. การศรัทธาต่อรอซูล คมั ภีร์ วนั กยิ ามะฮฺ และเกาะฎออฺและ ๓.๑ ความหมาย และความสาคัญ เกาะดรั ฺ ๓.๒ จานวน และช่อื รอซลู ๒๕ ท่าน ๓.๓ จานวน และช่อื รอซูลทเ่ี ป็นอูลลุ อซั มี ๓.๔ คุณลกั ษณะที่วาญบิ ของรอซลู ๓.๔.๑ อัศศิดกุ ๓.๔.๒ อัลอะมานะฮฺ ๓.๔.๓ อัตตบั ลีฆ ๓.๔.๔ อลั ฟะฏอนะฮฺ ๓.๓ คุณลักษณะมุสตะฮีลและญาอิซ ๓.๓.๑ กะซบิ ๓.๓.๒ คยิ านะฮฺ ๓.๓.๓ กติ มาน ๓.๓.๔ บะลาดะฮฺ ๓.๔ หนา้ ทีข่ องรอซลู ๔. การศรทั ธาต่อคัมภีร์ (กิตาบ) ๔.๑ ความหมาย ความสาคญั ๔.๒ จานวนและช่อื ๕. การศรทั ธาตอ่ วันกยิ ามะฮฺ ๕.๑ความหมายความสาคัญ ๒๖
ระดับชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ อต.๔ ๕.๒ ชอื่ วันกิยามะฮฺ อต.๕ ๕.๓ สญั ญาณวนั กยิ ามะฮฺ ๕.๔ อาลัมบัรซัค ๕.๕ สวรรค์ และนรก ๖. การศรทั ธาต่อเกาะฎออฺและเกาะดัรฺ ๖.๑ ความหมาย ความสาคัญ ๖.๒ ลกั ษณะผู้ศรัทธาต่อเกาะฎออฺ และเกาะดัรฺ ๗. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ มลาอิกะฮฺ รอซลู คัมภรี ์ วันกยิ ามะฮฺและเกาะฎออฺและ เกาะดัรฺ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญของ ๑. การศรัทธาตอ่ อลั ลอฮฺ การศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ และพระนาม ๑.๑ ความหมาย ความสาคญั ของอัลลอฮฺพร้อมความหมาย ๑.๒ พระนามพรอ้ มความหมายลาดบั ๒. อธิบายความหมายและคุณลักษณะ ที่ ๔๐-๕๙ ของอลั ลอฮฺทเี่ ปน็ วาญบิ มุสตะฮีล ๒. ความหมายและคุณลักษณะของอลั ลอฮฺ และญาอซิ ๒.๑ วาญิบ ๓. บอกความหมายของมุอฺญิซะฮฺ ๒.๒ มสุ ตะฮลี และกะรอมะฮฺ ๒.๓ ญาอซิ ๔. อธบิ ายความหมายและประเภท ๓. ความหมายของมอุ ฺญซิ ะฮแฺ ละกะรอมะฮฺ ของชริ ิก ๔. ชริ ิก ๕. อธบิ ายเหตกุ ารณ์วันกิยามะฮฺ ๔.๑ ความหมาย ๖. เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้ศรัทธา ๔.๒ ประเภท ๕. เหตุการณว์ นั กิยามะฮฺ ๕.๑ การฟื้นคืนชีพ ๕.๒ มะหชฺ ัร ๕.๓ การสอบสวน ๕.๔ อศั ศริ อ็ ฏ ๕.๕ สวรรค์ ๕.๖ นรก ๖. การปฏบิ ัติตนเปน็ ผูศ้ รทั ธาและนาความรู้สู่ การแก้ปัญหาสังคมและสง่ิ แวดลอ้ มในการอยู่ ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข ๑. บอกความหมายของอีมาน อิสลาม ๑. ความหมายอีมาน อิสลาม และอิฮซาน และอิฮซาน ๒. พระนามของอลั ลอฮลฺ าดับท่ี ๖๐-๗๙ ๒. บอกพระนามและอธบิ ายคุณลกั ษณะ และคณุ ลักษณะของอัลลอฮพฺ รอ้ ม ของอัลลอฮฺพรอ้ มหลกั ฐาน หลักฐาน ๑-๖ ตามลาดบั ๓. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และ ๓. เตาฮดี ประเภทของเตาฮดี ๓.๑ ความหมาย และความสาคญั ๒๗
ระดับชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ ๔. อธิบายประเภทของชิริก ๓.๒ ประเภท ๕. อธบิ ายความหมาย สาเหตุ และ ๔. ประเภทของชริ กฺ บทลงโทษของผมู้ ุรตัด ๔.๑ ชิรกฺเคาะฟียฺ ๖. เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ติ นเป็นผู้ศรัทธา ๔.๒ ชริ กฺญะลียฺ ๕. ผมู้ ุรตัด อต.๖ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคญั ของ ๕.๑ ความหมาย เตาฮดี แต่ละประเภทพร้อมหลกั ฐาน ๕.๒ สาเหตุ ๕.๓ บทลงโทษ ๒. บอกพระนามและอธบิ ายคุณลักษณะ ๕.๔ การกลบั ตวั ของผมู้ ุรตัด ของอัลลอฮฺพร้อมหลักฐาน ๖. การปฏิบตั ิตนเป็นผู้ศรัทธาและนาความรูส้ กู่ าร แก้ปัญหาสังคมและสงิ่ แวดลอ้ มในการอยู่ ๓. อธิบายผลตอบแทนของผู้ท่ีศรัทธา ร่วมกันอย่างสันติสขุ ต่ออลั ลอฮฺ ๑. ความหมาย ความสาคัญ ของเตาฮดี แต่ละ ๔. อธิบายโทษ ของชิริก ประเภทพร้อมหลกั ฐาน ๕. เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัตติ นเป็นผ้ศู รทั ธา ๑.๑ เตาฮีดรุบูบยี ะฮฺ ๑.๒ เตาฮดี อุลูฮยี ะฮฺ ๑.๓ เตาฮีดอัสมาอฺวศั ศฟิ าต ๒. พระนามของอลั ลอฮฺลาดับท่ี ๘๐-๙๙ และคุณลกั ษณะของอลั ลอฮพฺ รอ้ มหลักฐาน ๗-๑๓ ตามลาดับ ๓. ผลตอบแทนของผู้ที่ศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ ๓.๑ นิอมฺ ะฮฺ ๓.๒ เราะหมฺ ะฮฺ ๓.๓ บารอกะฮฺ ๔. โทษของชริ กฺ ๔.๑ ชริ กฺเคาะฟยี ฺ ๔.๒ ชิรกฺญะลียฺ ๕. การปฏิบตั ิตนเป็นผู้ศรทั ธาและนาความรูส้ ู่ การแก้ปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อมในการอยู่ รว่ มกนั อย่างสันติสขุ ๒๘
สาระท่ี ๔ อลั ฟิกฮฺ มาตรฐาน อฟ ๑ เขา้ ใจ เห็นคุณค่า ปฏิบตั ติ ามกฎ หลกั การ และบทบัญญัติอสิ ลามเก่ยี วกับอบิ าดะฮ มุอามะละฮ และอ่ืนๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติศาสนกจิ และสามารถนามาวิเคราะห์ กับเหตุการณท์ ี่ เกิดข้ึนบนพืน้ ฐานของเหตผุ ล และดารงชีวติ ในสงั คมอย่างมีความสขุ ระดบั ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้ อต.๑ ๑. บอกหลักการอสิ ลาม ๕ ประการ ๑. ความหมายของอิสลาม และหลักการ ๒. ท่องจาคาปฏญิ าณตน (ِ)كلمة شهاد อิสลาม ๕ ประการ ๒. คาปฏิญาณตน (ِ)كلمة شهاد ๓. บอกความหมายและความสาคัญของ มุมยั ยซิ ๓. มุมยั ยซิ )(مميز ๔. บอกความหมาย ประเภท และ ๓.๑ ความหมาย วธิ ีการชาระล้างนะญสิ ๓.๒ ความสาคัญ ๔. นะญิส ๕. บอกความหมาย ความสาคญั ของนา้ ๔.๑ ความหมาย ๖. บอกความหมาย ความสาคัญ วธิ ีการ ๔.๒ ประเภท ๔.๓ วิธีการชาระลา้ ง อาบนา้ ละหมาด การละหมาด ๕. นา้ และการคาอา่ นในละหมาด ๕.๑ ความหมาย ๗. เหน็ คุณค่า และนาไปปฏบิ ัตใิ น ชีวิตประจาวัน ๕.๒ ความสาคญั ๕.๓ แหลง่ นา้ (น้าตาน้า น้าทะเล นา้ ฝน นา้ หมิ ะ น้าคา้ ง น้าบาดาล น้าตก) ๖. นา้ สะอาด การอาบน้าละหมาด และการละหมาด ๖.๑ ความหมาย ๖.๒ ความสาคญั ๖.๓ ชว่ งเวลาของการละหมาดฟัรฎู ๖.๔ วิธกี ารอาบน้าละหมาด ๖.๕ วธิ ีการละหมาด ๖.๕ คาอ่านในละหมาด อต.๒ ๑. บอกความหมายความสาคัญ ฮะดัษ ๑. ฮะดัษ และประเภทของฮะดัษ ๑.๑ ความหมาย ๒. บอกความหมาย ความสาคญั ของการ ๑.๒ ความสาคัญ ปฏิบตั ิอิสตินญาอฺ ๑.๓ ประเภท ๓. บอกความหมาย ความสาคัญและ ๑.๔ การชาระล้างฮะดษั เล็ก ปฏิบัติการอาบน้าละหมาด ๒. อสิ ตินญาอฺ ๔. บอกความหมาย ความสาคัญ และ ๒.๑ ความหมาย ปฏิบตั ิ การละหมาด ๒.๒ ความสาคัญ ๕. เหน็ คุณค่าและนาไปปฏบิ ัตใิ น ๒.๓ เง่ือนไข ชีวติ ประจาวนั ๒.๔ วิธีการ ๒.๕ สง่ิ ทสี่ ามารถนามาใช้ในการอสิ ตินญาอฺ ๒๙
ระดบั ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ อต.๓ ๑. บอกความหมายความสาคัญของ ๓. การอาบนา้ ละหมาด การบรรลุศาสนภาวะ ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสาคัญ ๒. อธิบายความหมาย ความสาคัญ ๓.๓ นา้ ทสี่ ามารถใช้อาบน้าละหมาดได้ ประเภทและปฏิบตั ิการละหมาด ๓.๔ วิธกี ารอาบน้าละหมาด ๓.๕ สิ่งท่ที าใหเ้ สยี น้าละหมาด ๓. บอกความหมาย ความสาคญั และ ปฏิบัติการถือศลี อดในเดือน ๔. การละหมาดฟรั ฺฎู เราะมะฎอน ๔.๑ ความหมาย ๔.๒ ความสาคัญ ๔. เห็นคุณคา่ และปฏิบัติในชีวิตประจาวนั ๔.๓ เวลา ๔.๔ การอะซานและอิกอมะฮฺ ๔.๕ เงือ่ นไขการละหมาดฟรั ฺฎู ๔.๖ หลักการละหมาดฟัรฺฎู ๔.๗ วธิ ีการละหมาดฟรั ฎฺ ู ๔.๘ ส่ิงทท่ี าให้เสียการละหมาด ๔.๙ โทษสาหรบั ผูท้ ไ่ี ม่ละหมาด ๔.๑๐ ซิกรุหลงั ละหมาด ๑. การบรรลศุ าสนภาวะ ๑.๑ ความหมาย ๑.๒ ความสาคญั ๑.๓ ลกั ษณะของการบรรลุศาสนภาวะ ๑.๔ หน้าที่ทว่ี าญิบต้องปฏิบตั ิสาหรบั ผูบ้ รรลศุ าสนภาวะ ๒. การละหมาด ๒.๑ ความหมาย ๒.๒ ความสาคญั ๒.๓ ประเภทของการละหมาด ๒.๔ การละหมาดญะมาอะฮฺ ๒.๕ การละหมาดญุมอตั ๒.๖ ความประเสริฐของการละหมาดญะมาอะฮฺ ๓. การถือศีลอดในเดือนเราะมะฏอน ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสาคญั ๓.๓ เงอื่ นไขการถือศลี อด ๓.๔ หลกั การและวิธกี ารถือศลี อด ๓.๕ สิ่งที่ทาให้เสยี การถือศีลอด ๓.๖ สงิ่ ท่ีเป็นสุนนะฮฺ และมักรูฮฺในการ ถอื ศีลอด ๓.๗ คุณค่าของการถอื ศลี อด ๓๐
ระดับชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ อต.๔ ๓.๘ การอิอตฺ ิกาฟในเดือนเราะมะฎอน ๓.๙ โทษสาหรับผ้ทู ไี่ ม่ถือศลี อด ๑. อธิบาย ความหมายและความสาคญั ๑. ญะนาบะฮฺและอลั -ฆสุ ลุ ของญะนาบะฮฺและอัล-ฆสุ ลุ ๑.๑ ความหมาย ๒. อธิบาย ความหมายและความสาคญั ๑.๒ ความสาคญั ของเอาเราะฮฺ ๑.๓ ประเภท ๓. อธบิ าย ความหมาย ความสาคญั ๑.๔ หัยฎฺ (รอบเดอื น) ประเภทและปฏบิ ัติการถือศลี อด ๑.๕ การหลั่งอสุจิ ๔. อธิบาย ความหมาย ความสาคัญ ๑.๖ การอาบน้าวาญิบ ประเภทของการละหมาด ๒. การปกปิดเอาเราะฮฺ ๕. อธิบายความหมายและความสาคัญของ ๒.๑ ความหมาย การจ่ายซะกาต ๒.๒ ความสาคญั ๖. ตระหนกั เห็นคุณค่า และนาไปปฏิบตั ิ ๒.๓ เอาเราะฮฺของชายและหญงิ ในชีวติ ประจาวัน ๒.๔ โทษสาหรบั ผทู้ ไ่ี ม่ปกปิดเอาเราะฮฺ ๓. การถอื ศลี อด ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสาคญั ๓.๓ ประเภท ๓.๔ ถอื ศีลอดวนั จันทรแ์ ละพฤหัสบดี ๓.๕ ถือศลี อดวันท่ี ๙-๑๐ มฮุ รั รอม ๓.๖ ถือศีลอดในเดอื นเราะญับ ๓.๗ ถอื ศีลอดในเดอื นชะอฺบาน ๓.๘ ถือศลี อด ๖ วนั ในเดอื นเชาวาล ๓.๙ ถอื ศีลอดวันที่ ๙ ซลุ หจิ ญะฮฺ (วันอะเราะฟะฮฺ) ๔. การละหมาดซุนะฮฺ ๔.๑ ความหมาย ๔.๒ ความสาคญั ๔.๓ ประเภท ๔.๔ การละหมาดสนุ นะฮฺตะฮียยฺ ะ ตุลมสั ยิด ๔.๕ การละหมาดสุนนะฮฺเราะวาติบ ๔.๖ การละหมาดอีด (อดี ลิ ฟิตรี และอีดลิ อัฎฮา) ๔.๗ การละหมาดตะรอวีหฺ ๔.๘ การละหมาดวิตรฺ ๔.๙ การละหมาดหาญตั ๔.๑๐ การละหมาดฎุฮา ๔.๑๑ การละหมาดตะหัจญุด ๓๑
ระดบั ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ อต.๕ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ และ ๕. ซะกาต ประเภทของน้า ๕.๑ ความหมาย ๕.๒ ความสาคัญ ๒. อธบิ ายความหมายและวิธีการ ๕.๓ วธิ กี ารจา่ ยซะกาตฟิฏเราะฮฺ ชาระลา้ งนะญสิ มฆุ อลลาเซาะฮฺ ๕.๔ ระยะเวลาจ่ายซะกาต ๕.๕ ผ้ทู ่ีตอ้ งจา่ ยซะกาตฟิฏเราะฮฺ ๓. อธบิ ายความหมาย ความสาคญั และ ๕.๖ ผู้มสี ทิ ธิไดร้ ับซะกาตฟฏิ เราะฮฺ วิธกี ารตะยมั มมุ ๑. น้า ๔. อธิบายความหมาย ความสาคัญใน ๑.๑ ความหมาย สถานการณ์ผ่อนปรน (อัรรคุ เศาะฮฺ) ๑.๒ ความสาคัญ ๑.๓ ประเภทของนา้ ๕. อธบิ ายการบริโภคอาหารที่ฮาลาล ๑.๓.๑ น้ามฏุ ลัก และหะรอม ๑.๓.๒ น้ามสุ ตะอฺมัล ๑.๓.๓ น้ามุตะนจั ญสิ ๖. อธบิ ายความหมาย ความสาคญั และประเภทของซะกาต ๒. นะญสิ มุฆอลลาเซาะฮฺ ๒.๑ ความหมาย ๗. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ ๒.๓ การชาระล้างนะญสิ มุฆอลลาเซาะฮฺ และวิธีการประกอบพธิ ีฮจั ญ์ ๓. ตะยมั มุม ๓.๑ ความหมาย ๘. ตระหนกั เหน็ คุณค่า และนาไปปฏบิ ัติ ๓.๒ ความสาคญั ในชีวิตประจาวัน ๓.๓ เงอ่ื นไขตะยัมมมุ ๓.๔ วิธีการตะยัมมมุ ๓.๕ สงิ่ ท่ีใช้ในการตะยัมมุม ๓.๖ สิง่ ท่ีทาใหเ้ สียตะยัมมุม ๔. สถานการณผ์ อ่ นปรน (อรั รุคเศาะฮฺ) ๔.๑ ความหมาย ๔.๒ ความสาคญั ๔.๓ การละหมาดญัมอฺ ๔.๔ การละหมาดเกาะศอรฺ ๔.๕ การถอื ศลี อด ๕. อาหาร ๕.๑ อาหารท่ีฮาลาล ๕.๒ ประโยชนข์ องการบรโิ ภคอาหารท่ีหะลาล ๕.๓ วธิ ีการทาความสะอาดอาหารที่ฮาลาล ๕.๔ อาหารทีห่ ะรอม ๕.๔.๑ สตั ว์ทห่ี ะรอม ๕.๔.๒ ซากสัตว์ ๕.๔.๓ ส่ิงที่มนึ เมา ๕.๔.๔ สง่ิ เสพติด ๓๒
ระดับชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ อต.๖ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคญั และ ๕.๕ โทษของการบรโิ ภคอาหารทหี่ ะรอม ประเภทของซะกาฮฺ ๖. ซะกาต ๒. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และ ๖.๑ ความหมาย ประเภทของฮัจญ์ ๖.๒ ความสาคัญ ๖.๓ ประเภทของซะกาต ๓. อธิบายความหมาย ความสาคัญของ การซ้อื ขาย ๖.๓.๑ เงินออม ๖.๓.๒ ทอง ๔. อธิบายความหมาย ความสาคญั ของ ๖.๓.๓ เงนิ การกู้ยืม ๖.๓.๔ คา้ ขาย ๗. ฮัจญ์ ๕. อธบิ ายโทษของการลักขโมย การผดิ ๗.๑ ความหมาย ประเวณี ๗.๒ ความสาคัญ ๗.๓ วาญิบของการประกอบพธิ หี จั ญ์ ๖. ตระหนกั เหน็ คุณค่า และนาไปปฏิบตั ิ ๗.๔ เง่อื นไขของการประกอบพิธหี ัจญ์ ในชีวิตประจาวนั ๗.๕ หลกั การประกอบพธิ ีหจั ญ์ ๑. ซะกาต ๑.๑ ความหมาย ๑.๒ ความสาคัญ ๑.๓ ประเภทของซะกาต ๑.๓.๑ ปศสุ ัตว์ ๑.๓.๒ พชื ผล ๒. การประกอบพิธหี จั ญ์ ๒.๑ ความหมาย ๒.๒ ความสาคญั ๒.๓ ประเภทของฮัจญ์ ๒.๔ สถานท่ีในการประกอบพธิ ีฮจั ญ์ ๒.๕ ฮจั ญ์มบั รรู ฺ ๓. การซ้ือขาย ๓.๑ ความหมาย ๓.๒ ความสาคัญ ๓.๓ หลักการซอื้ ขาย ๔. การกู้ยืม ๔.๑ ความหมาย ๔.๒ และความสาคญั ๔.๓ หลักการกยู้ มื ๔.๔ การชดใชห้ นี้ ๓๓
ระดับช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ๕. โทษของการลักขโมย การผิดประเวณี ๕.๑ ความหมายการลกั ขโมย ๕.๒ โทษของการลักขโมย ๕.๓ ความหมายการผดิ ประเวณี ๕.๔ โทษของการผดิ ประเวณี ๓๔
สาระที่ ๕ อัลอคั ลาก มาตรฐาน อล ๑ เข้าใจ จริยธรรมอิสลาม สามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาตน บาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ครอบครวั สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ยึดมั่น และปฏิบัตติ ามจรยิ ธรรมอสิ ลามในการดาเนินชวี ิตไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ งเพ่ือการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข ระดับช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ อต.๑ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั ของ ๑. ความหมาย ความสาคัญของมารยาททดี่ ี อต.๒ มารยาททด่ี ี ๒. มารยาทท่ีดีในชีวิตประจาวนั และดอุ าอฺ อต.๓ ๒. บอกมารยาททด่ี ีในชวี ิตประจาวนั ๒.๑ มารยาทในการกลา่ วสลามและรบั สลาม ๓. เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ิตนตามมารยาท ๒.๒ มารยาทในการรับประทานอาหาร ทก่ี าหนด ๒.๓ มารยาทในการนอน ๒.๔ มารยาทในการพดู ๒.๕ มารยาทในการเข้าแถว ๒.๖ มารยาทในห้องเรียน ๒.๗ มารยาทในการใช้ห้องนา้ ๒.๘ มารยาทในครอบครวั ๒.๙ มารยาททดี่ ีต่อผู้สอน ๒.๑๐ มารยาทต่อผู้อาวโุ สและผมู้ พี ระคุณ ๑. บอกความหมาย ความสาคญั ของความ ๑.ความหมาย ความสาคัญของความสะอาด สะอาด ๒. การปฏิบตั ิตนในการดูแลรักษาความสะอาด ๒. บอกการปฏบิ ัตติ นในการดูแลรกั ษา ๒.๑ รา่ งกาย ความสะอาด ๒.๒ เครอื่ งนงุ่ หม่ ๓. บอกมารยาทต่ออลั กุรฺอาน ๒.๓ ทีอ่ ยู่อาศัย ๔. บอกมารยาทท่ดี ีในชีวิตประจาวนั ๒.๔ โรงเรียน ๕. เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทท่ี ๒.๕ มสั ยิด กาหนด ๓. มารยาทต่ออัลกุรอฺ าน ๔. มารยาทท่ีดใี นชีวิตประจาวันและดุอาอฺ ๔.๑ มารยาทต่อเพ่ือน ๔.๒ มารยาทต่อเพื่อนบ้าน ๔.๓ มารยาทต่อผู้มาเยือน ๔.๔ มารยาทในการเย่ียมผูป้ ่วย ๔.๕ มารยาทต่อเด็กกาพร้าและผยู้ ากไร้ ๔.๖ มารยาทในการรับบริการ (เชน่ การเขา้ แถวรับซื้ออาหารเป็นตน้ ) ๑. บอกความหมาย ความสาคัญของ ๑. ความหมายและความสาคัญของมารยาททด่ี ี มารยาทท่ีดใี นชีวิตประจาวนั ในชีวติ ประจาวัน ๒. ยกตัวอยา่ งพฤติกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับ ๒. มารยาทที่ดใี นชวี ติ ประจาวนั และดุอาอฺ มารยาททดี่ ีในชวี ิตประจาวัน ๒.๑ มารยาทในการจาม ๒.๒ มารยาทในการเดิน ๓๕
ระดับช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้ อต.๔ อต.๕ ๓. เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทท่ี ๒.๓ มารยาทต่อบิดามารดา กาหนด ๒.๔ มารยาทในการเขา้ มัสยดิ ๒.๕ มารยาทในการออกมัสยิด ๒.๖ มารยาทในการอยใู่ นมัสยิด ๒.๗ มารยาทในการเขา้ – ออกจากบา้ น ๒.๘ มารยาทในการละศลี อด ๒.๙ มารยาทในการขับขยี่ านพาหนะ ๒.๑๐ มารยาทในการเล่นกีฬา ๒.๑๑ มารยาทต่อสถานที่สาธารณะและ สถานทร่ี าชการ ๒.๑๒ มารยาทต่อผนู้ า ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญ ๑. ความหมายความสาคญั และหลกั ฐานของ พรอ้ มอ้างองิ หลักฐานของหลกั คณุ ธรรม หลกั คุณธรรม จริยธรรม จริยธรรมที่กาหนด ๑.๑ การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ๒. อธบิ ายพฤติกรรมท่ีห้ามปฏิบัติ ๑.๒ การระงับอารมณ์ ในอิสลาม ๑.๓ ความอดทน ๓. เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัตติ นตามหลัก ๑.๔ การพูดความจริง คณุ ธรรม จริยธรรมทกี่ าหนด ๑.๕ การยาเกรงต่ออลั ลอฮฺ ๑.๖ การยอมจานนตนต่ออลั ลอฮฺ ๑.๗ การมอบหมายตนต่ออัลลอฮฺ ๑.๘ ความสานกึ ๑.๙ การรกั บา้ นเกดิ ๒. พฤติกรรมท่ีหา้ มปฏิบัตใิ นอิสลาม ๒.๑ อจิ ฉาริษยา ๒.๒ ความแข็งกรา้ ว ๒.๓ การพูดเท็จ ๒.๔ การยแุ หย่ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญพร้อม ๑. ความหมาย ความสาคัญของหลักคาสอน อ้างองิ หลกั ฐานของหลักคาสอน คุณธรรม จรยิ ธรรมและหลกั ฐานอ้างอิง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่กาหนด ๑.๑ มารยาทต่อบิดามารดา ๒. อธิบายวธิ ีการปฏิบัติตนตามแบบอย่าง ๑.๒ มารยาทต่อครอบครัว ของนบีมฮุ ัมมดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิ ๑.๓ มารยาทต่อเพือ่ น วะสลั ลมั ๑.๔ มารยาทต่อผสู้ อน ๓. เหน็ คุณค่าและปฏิบตั ติ นตามหลัก ๑.๕ มารยาทต่อสิง่ ท่ีถูกสร้างโดยอัลลอฮฺ คุณธรรม จรยิ ธรรมทก่ี าหนด ๑.๖ มารยาทต่อผอู้ าวโุ ส ๑.๗ มารยาทต่อคนตา่ งศาสนกิ ๒. แบบอยา่ งของนบมี ุฮัมมัดศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ๒.๑ การช่วยเหลือผ้ดู อ้ ยโอกาส ๓๖
ระดับชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้ อต.๖ ๒.๒ การใฝ่รู้ ๒.๓ การแต่งกาย ๒.๔ การรักษาความลบั ๒.๕ การคบเพ่ือน ๒.๖ ความบรสิ ุทธใ์ิ จ ๒.๗ ความซอื่ สตั ย์และน่าเชอื่ ถอื ๒.๘ การร้จู กั บญุ คุณตอ่ ผ้มู ีพระคณุ (ครู/บดิ า และมารดา) ๒.๙ ความอดทน ๒.๑๐ ความใจกว้าง ๑. อธิบายความหมายความสาคญั ๑. ความหมายความสาคัญหลักคาสอนคุณธรรม หลกั คาสอนคณุ ธรรม จริยธรรมตาม จริยธรรมตามแบบอย่างของนบีมฮุ มั มัดศ็อล แบบอย่างของนบมี ุฮมั มัดศอ็ ลลัลลอ ลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลัมพรอ้ มหลักฐานอ้างองิ ฮอุ ะลัยฮวิ ะสลั ลัมพรอ้ มหลักฐานอา้ งอิง ๒. แบบอย่างของนบมี ุฮมั มัดศอ็ ลลลั ลอฮุอะลยั ฮิ ๒. อธบิ ายวธิ กี ารปฏิบตั ติ นตามแบบอยา่ ง วะสัลลมั พร้อมหลักฐานอ้างอิง ของนบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ ๒.๑ ความยตุ ธิ รรม วะสัลลมั ๒.๒ ความกล้าหาญ ๓. ยกตัวอย่างและหลกี เลีย่ งสิ่งท่ีเปน็ ๒.๓ ความเมตตา อบายมุข ๒.๔ การรู้จักประยัด ๔. อธิบายพฤติกรรมทห่ี ้ามปฏิบตั ิใน ๒.๕ ความตง้ั ใจมุง่ ม่นั ในการทางาน อสิ ลาม ๒.๖ ความสามัคคี /สมานฉันท์ ๕. อธิบายแบบอยา่ งที่ดีของเศาะฮาบะฮฺ ๒.๗ ความพอเพียง ๖. เห็นคุณค่าและปฏิบัตติ นตามแบบอย่าง ๒.๘ การมจี ติ สาธารณะ ของนบีมฮุ าหมัดศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิ ๒.๙ การเยีย่ มญาติผเู้ สยี ชีวิต วะสลั ลัม ๒.๑๐ การเยย่ี มสสุ าน(กโู บร์) ๒.๑๑ การรู้จกั กลา่ วขอบคณุ ๒.๑๒ การดูแลความสะอาดตอ่ ตนเอง ๒.๑๓ การรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม ๒.๑๔ มารยาทต่อสถานท่ีสาคญั ทางศาสนา ๓. การหลกี เลีย่ งสิ่งที่เปน็ อบายมุข เชน่ การพนัน สุรา สงิ่ เสพติด ๔. พฤติกรรมที่ห้ามปฏบิ ัติในอิสลาม ๔.๑ การนนิ ทา ๔.๒ การหย่ิงยโส ๔.๓ การด่าทอ ๔.๔ การทะเลาะ ๔.๕ การดถู ูก/ดหู ม่ินผู้อนื่ ๓๗
ระดับช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ๕. แบบอย่างทดี่ ีของเศาะฮาบะฮฺ ๕.๑ อบบู ักรฺ อศั -ศดิ ดกี ๕.๒ อมุ ัรฺ บิน อลั -ค็อฏฏอ็ บ ๕.๓ อษุ มาน บิน อัฟฟาน ๕.๔ อะลีย์ บิน อะบีฏอลิบ ๓๘
สาระที่ ๖ อัตตารคี มาตรฐาน ตร ๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของประวัตอิ ิสลามสมัยนบมี ุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลัมและ บรรดาเศาะฮาบะฮฺ มคี วามภูมิใจในการดาเนินชวี ิตตามแนวทางของนบมี ุฮมั มัดศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิ วะสลั ลัมวะสัลลมั และเศาะหาบะฮฺ ระดบั ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้ อต.๑ ๑.บอกประวัติของนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลลั ลอฮุ ๑. ประวัตขิ องนบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ อต.๒ อะลยั ฮิวะสัลลมั ที่กาหนด วะสัลลมั ๒. บอกแบบอย่างของนบมี ุฮัมมดั ๑.๑ ความสาคัญของประวตั ินบีมฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮิวะสลั ลัม ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลัม ๑.๒ สถานทก่ี าเนดิ ของนบีมุฮมั มดั ศอ็ ลลลั ลอฮุ ๓. ชน่ื ชมและนาแบบอย่างของนบีมฮุ มั มดั อะลยั ฮวิ ะสลั ลมั ๑.๓ วงศ์ตระกูลของนบีมฮุ มั มัดศ็อลลัลลอฮุ ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลัมไปปฏิบัติ อะลยั ฮวิ ะสัลลัม ในชีวติ ประจาวัน ๑.๔ การเสียชีวติ ของบิดาและมารดา ๑.๕ แม่นมของนบมี ุฮมั มดั ศ็อลลัลลอฮุ ๑. เลา่ ประวตั ินบมี ุฮมั มัดศ็อลลลั ลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลมั อะลยั ฮิวะสัลลมั ๑.๖ นบมี ฮุ มั มดั ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลยั ฮวิ ะสัลลมั ภายใต้การดูแลของปู่และลงุ ๒. บอกแบบอย่างการดาเนินชีวิตของนบี ๑.๗ การเลยี้ งแพะของนบีมฮุ ัมมัดศ็อลลลั ลอฮุ มฮุ ัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อะลัยฮิวะสัลลมั ๓. เห็นคณุ ค่าและนาแบบอย่างการปฏิบตั ิ ๒. แบบอย่างนบีมฮุ มั มัดศอ็ ลลัลลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลัม ตนของนบมี ุฮมั มัดศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิ ๒.๑ ความกตญั ญูรู้คุณ วะสัลลัมไปปฏิบัติในชีวิตประจาวนั ๒.๒ ความรกั ความเมตตา ๒.๓ การชว่ ยเหลอื ๑. ประวตั ินบมี ุฮมั มัดศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิ วะสัลลัม ๑.๑ การเดนิ ทางไปยงั ประเทศชาม (ซเี รยี ) ๑.๒ การแต่งงานของนบีกับเคาะดีญะฮฺ ๑.๓ บุตรของนบมี ุฮมั หัมมัดศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ๑.๔ การวางหินดา ()الحجر الأسود ๒.แบบอย่างการดาเนินชวี ิตของนบีมุฮมั มดั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสลั ลมั ๒.๑ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ๒.๒ ความอดทน ๒.๓ ความซอ่ื สัตย์ ๒.๔ ความเฉลียวฉลาด ๒.๕ ความเทย่ี งธรรม ๓๙
ระดับชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้ อต.๓ ๑. เลา่ ประวตั ิของนบมี ุฮมั มัดศ็อลลลั ลอ ๑. ประวตั ิของนบีมุฮัมมัดศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิ อต.๔ ฮอุ ะลยั ฮวิ ะสัลลมั ตั้งแต่ไดร้ บั การแต่งต้ัง วะสลั ลมั ตัง้ แต่ได้รับการแต่งต้งั เป็นรอซูล เป็นรอซลู ๑.๑ นบไี ดร้ ับวะหฺยคุ ร้ังแรกและได้รับการ ๒. อธบิ ายการเผยแผอ่ ิสลามของนบีมุฮมั แต่งตัง้ ใหเ้ ปน็ รอซลู มัดศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลัม ๒.การเผยแผอ่ สิ ลามของนบีมุฮัมมัดศอ็ ลลลั ลอฮุ ๓. เหน็ คุณค่าและนาแบบอย่างของทา่ น อะลยั ฮิวะสลั ลัม นบมี ฮุ มั มดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลัม ๒.๑ การเผยแผอ่ ิสลามอย่างลับๆ ไปปฏบิ ัติในชีวติ ประจาวัน ๒.๒ ผู้เข้ารบั อสิ ลาม ๒.๓ การเผยแผ่อสิ ลามอย่างเปดิ เผย ๒.๔ การต่อตา้ นของผปู้ ฏเิ สธอิสลาม ๒.๕ การทรมานและเหยยี ดหยามผรู้ บั อิสลาม ๓. แบบอย่างการดาเนินชีวติ ของนบีมฮุ มั มดั ศอ็ ลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลัม ๓.๑ ความกลา้ หาญ ๓.๒ ความรอบคอบ ๑. อธิบายประวัติและเหตุการณ์การ ๑. การเผยแผอ่ ิสลามของนบีมฮุ มั มดั ศอ็ ลลัลลอฮุ เผยแผอ่ สิ ลามของของนบีมฮุ มั มดั อะลยั ฮิวะสลั ลมั ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสลั ลัม ๑.๑ การเข้ารับอสิ ลามของอุมรั แฺ ละหัมซะฮฺ ๒. อธบิ ายเหตุการณ์อิสรออ์มิอฺรอจญ์ ๑.๒ การอพยพไปหะบะชะฮฺ และบัยอะตุลอะเกาะบะฮฺคร้ังทห่ี นึ่ง ๑.๓ การเดนิ ทางไปฏออิฟของนบีมูฮมั มัด และครง้ั ท่ีสอง ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลัม ๓. เห็นคณุ ค่าและนาแบบอย่างของ ๑.๔ การเสยี ชวี ติ ของลงุ และเคาะดญี ะฮฺ นบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลมั ๒. เหตกุ ารณ์อสิ รออฺ มอิ ฺรอจญฺ ไปปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจาวนั และบัยอะตุลอะเกาะบะฮคฺ รงั้ ทหี่ นึ่ง และคร้ังท่สี อง ๓.แบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ิตของนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลัม ๓.๑ การมสี ว่ นร่วม ๓.๒ การประนีประนอม ๓.๓ ความเปน็ ผู้นา ๓.๔ ความเสียสละ อต.๕ ๑. เลา่ เหตุการณ์และความสาคัญในการ ๑. การฮิจญเ์ ราะฮฺของนบีมฮุ ัมมดั ศ็อลลัลลอฮุ ฮิจญเ์ ราะฮฺของนบมี ุฮัมมัดศอ็ ล อะลัยฮิวะสัลลมั ลลั ลอฮอุ ะลัยฮวิ ะสัลลัมสู่นครมะดีนะฮฺ ๑.๑ ความสาคัญของการฮจิ ญฺเราะฮฺ ๒. อธบิ ายภารกิจนบีทน่ี ครมะดีนะฮฺ ๑.๒ สาเหตุของการฮจิ ญเ์ ราะฮฺ ๓. เห็นคุณค่าและนาแบบอย่างการปฏิบตั ิตน ๑.๓ การฮิจเราะฮสฺ ู่นครมะดีนะฮฺ ของนบมี ฮุ ัมมดั ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮิ ๑.๓.๑ สามผู้กล้าหาญ ๔๐
ระดับชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ อต.๖ วะสลั ลัมและเศาะหาบะฮฺไปปฏิบัติ ๑.๓.๒ เศาะหาบะฮฺผ้รู ่วมฮจิ ญฺเราะฮฺ ในชีวติ ประจาวนั ๑.๓.๓ นบอี ยู่ในถ้าษูรฺ ๑.๓.๔ การเดนิ ทางจากถ้าษรู สฺ ่มู ะดีนะฮฺ ๑.๓.๕ การต้อนรบั ของชาวมะดีนะฮฺ ๒. ภารกิจของนบีทนี่ ครมะดีนะฮฺ ๒.๑ การสรา้ งมัสยดิ ๒.๒ การสร้างความเป็นอุควุ วะฮรฺ ะหว่าง มุฮาญิรีนและอันศอรฺ ๒.๓ การสรา้ งความปรองดอง ๒.๔ การก่อต้ังรฐั อสิ ลามทีน่ ครมะดนี ะฮฺ ๓. แบบอย่างการดาเนินชวี ิตของนบีมุฮัมมดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลยั ฮิวะสัลลมั และเศาะหาบะฮฺ ๓.๑ ความเสียสละ ๓.๒ ความปรองดอง ๑. เลา่ ประวตั สิ งครามท่ีสาคัญ และฟตั หุ ๑. สงครามท่ีสาคญั และฟตั หุมกั กะฮฺในสมัย มกั กะฮใฺ นสมัยนบีมฮุ ัมมดั ศ็อลลลั ลอฮุ นบมี ฮุ ัมมดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลัยฮิวะสลั ลมั อะลยั ฮิวะสลั ลัม ๑.๑ สงครามบดั รฺ ๒. อธิบาย หจั ญะตุลวะดาอฺ (หจั ญฺอาลา) ๑.๒ สงครามอหุ ุด การวะฟาฮฺ และวะศยี ะฮฺ (คาส่งั เสยี ) ๑.๓ สงครามคอนดัก ของนบมี ฮุ ัมมดั ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮฺ ๑.๔ ฟตั หมุ ักกะฮฺ วะสัลลมั ๒. หจั ญะตุลวะดาอฺ การวะฟาฮฺ วะศยี ะฮฺ ๓. อธิบายประวตั ิของเศาะหาบะฮ ของนบมี ฮุ ัมมัดศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลมั โดยสงั เขป ๓. ประวัตขิ องเศาะหาบะฮฺพอสงั เขป ๔. เห็นคุณค่าและนาแบบอย่างของ ๓.๑ อบบู กั รฺ อศั -ศิดดีก นบีมฮุ มั มดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลัม ๓.๒ อุมรั ฺ อิบนุ อลั -คอ็ ฏฏอ็ บ และเศาะหาบะฮฺไปปฏิบตั ิ ๓.๓ อษุ มาน อบิ นุ อฟั ฟาน ในชีวิตประจาวนั ๓.๔ อะลีย์ อบิ นุ อะบฏี อลิบ ๔. แบบอย่างของนบีมฮุ ัมมัดศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮวิ ะสลั ลัมและเศาะหาบะฮฺ ๔.๑ ความกล้าหาญ ๔.๒ ความเชอื่ ม่ัน ๔.๓ ความซอ่ื สัตย์ ๔.๔ ความใฝ่รู้ ๔๑
สาระท่ี ๗ ภาษาอาหรับ มาตรฐาน อร ๑ เขา้ ใจกระบวนการฟงั พูด อ่านและเขียน เหน็ คุณคา่ และมที ักษะในการใชภ้ าษาอาหรับเพ่ือ การเรียนรู้ ส่ือสาร คน้ คว้า ตีความบทบัญญตั อิ ิสลามและสอ่ื ความหมาย ระดับชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ อต.๑ ๑. ฟงั พูดคาสงั่ งา่ ยๆ และปฏิบัติตาม ๑. ประโยคคาสั่งงา่ ยๆ ๒. อ่านออกเสยี ง เขยี นรปู แบบพยญั ชนะ ๒. พยัญชนะ ๒๘ อกั ษร การประสมพยัญชนะ และสระ และสระ ๓. อา่ นออกเสียง เขียนจานวนตัวเลขที่ ๓. จานวนนับ ๑– ๒๐ ๔. คานาม ( ) السم กาหนด ๔.๑ อวัยวะ ()أعضاء الجسم ๔. อา่ น เขยี น และบอกความหมายคาที่ ๔.๒ ครอบครวั (ِ)اْلسر กาหนด ๔.๓ อปุ กรณ์การเรยี น ()اْلدوات الدراسية ๕. พดู แนะนาตวั เอง ๕. การแนะนาตัวเอง ()التعارف ๖. เหน็ คุณค่าและมีทักษะในการใชภ้ าษา อาหรบั อต.๒ ๑. ฟัง พูดคาสง่ั ง่ายๆ และปฏิบัตติ าม ๑. ประโยคคาสั่งง่ายๆท่ีมีคานาม ๒. อา่ นออกเสยี งจานวนนับที่กาหนด ๒. จานวนนบั ๒๑ – ๔๐ ๓. อ่าน เขียน และบอกความหมายของคา ๓. คา ()الكلمات ๓.๑ วนั ในสัปดาห์ ()أيام اْلسبوع ทก่ี าหนด ๓.๒ เดือน ()الشهور ๔. สนทนา ( )الحوارโดยใชป้ ระโยคสนั้ ๆ ที่ ๓.๓ อปุ กรณ์ในบ้าน ()أثاثات البيت กาหนด ๓.๔ อปุ กรณใ์ นห้องเรยี น ()أدوات الفصل ๕. เห็นคุณค่าและมที ักษะในการใช้ภาษา ๓.๕ สี ()اْللوان อาหรับ ๓.๖ ยานพาหนะ ()النقل والمواصلات ๓.๗ พืชผัก ()اْلضروات ๓.๘ อุปกรณก์ ีฬา ()أدوات الرياضة ๓.๙ สัตว์ตา่ งๆ ( ) الحيوانات ๔. การแนะนาตัว การทักทาย การอวยพรสน้ั ๆ ( )تعارف وتحيةและประโยคสนทนาส้นั ๆ โดยใช้ โครงสร้างประโยคเปน็ คาบ่งชเี้ ฉพาะ ( هذه )اسماء الإشارة،هذا อต.๓ ๑. ฟัง พูดคาส่ังและปฏิบัตติ าม ๑. ประโยคคาสงั่ ท่มี ีคาชี้เฉพาะ เชน่ ๒. อ่านออกเสียงและสะกดคาท่กี าหนด اعطِن هذا القلم ๓. อ่าน เขียน บอกความหมายของคาและ ตอบคาถามท่ีกาหนด ๒. คานาม ๔. สนทนาโดยใช้ประโยคคาถามสนั้ ๆ ที่ ๒.๑ สถานท่ี ()اْلماكن กาหนด ๒.๒ เครอื่ งแต่งกาย ()الملابس ๔๒
ระดับชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ อต.๔ ๕. เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการใชภ้ าษา อาหรบั ๒.๓ ผลไม้ ()الفواكه ๑. ฟงั พูดประโยคคาถาม ๒.๔ สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน ()بيئة المدرسة ๒. อา่ นออกเสยี งและสะกดคาท่ีกาหนด ๓. จานวนนบั ๔๑– ๖๐ ๓. อา่ น เขียน บอกความหมายของคาและ ๔. เรอ่ื งสั้น (ِ)القصة القصْي ประโยคท่ีกาหนด ๔.๑ คณุ ครู ()المدرس ๔. ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีกาหนด ๔.๒ โรงเรียนของฉนั ()مدرستي ๕. สนทนาโดยใชป้ ระโยคส้ันๆ ท่กี าหนด ๖. เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการใชภ้ าษา ๔.๓ การประสบความสาเรจ็ ในการสอบ ()النجاح في الامتحان อาหรับ ๕. การสนทนาโดยใชป้ ระโยคคาถามทข่ี ึน้ ตน้ ด้วย ๔๓ متى, أين, من, ما ๑. ประโยคคาถามที่ขึ้นต้นด้วย هل, لماذا, كم, كيف ๒. การใชค้ าช้ีเฉพาะกบั คานาม ๒.๑ สิ่งของท่ีจาเป็น ()اللوازم ๒.๒ สตั ว์ ()الحيوان ๒.๓ คานามทว่ั ไป ()الأسماء ๓. จานวนนบั ๖๑– ๘๐ ๔. ประโยค ()الجملة ๔.๑ เวลา ()اْلوقات ๔.๒ การแนะนาตวั ()التعارف ๕. เรอ่ื งส้ัน ()القصة القصيرة ๕.๑ ครอบครวั ของอะฮหฺ มัด ()عائلة أحمد ๕.๒ ต่ืนนอน ()استيقظ من النوم ๕.๓ ไปโรงเรียน ()إلى المدرسة ๕.๔ ห้องเรยี น ()الفصل ๕.๕ พอ่ กบั แม่ ()الوالدين ๕.๖ บา้ นของเรา ()بيتنا ๕.๗ มารยาทในการรับประทานอาหาร ()أدب الأكل ๕.๘ การละหมาด ()الصلاة ๕.๙ มกั กะฮฺ ()مكة المكرمة ๕.๑๐ อาเซยี น ()آسيان
ระดบั ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ อต.๕ ๑. ฟัง พูดประโยคบอกเล่า ๒. อา่ นออกเสยี งและสะกดคาทก่ี าหนด ๖. ประโยคสน้ั ๆ เชน่ ()أبي اسمه ابراهيم อต.๖ ๓. อ่าน เขียน บอกความหมายของคา เป็นประโยคการแนะนาครอบครวั และประโยคทีก่ าหนด ๔. จาแนกประเภทของคา และโครงสรา้ ง ๑. ประโยคบอกเลา่ เชน่ ฉนั ไปโรงเรียน ประโยค ()أذهب إلى المدرسة ๕. เหน็ คุณค่าและสนทนาโดยใชป้ ระโยค ฉันละหมาดที่มัสยิด ()أصلي ف المسجد สน้ั ๆ ท่ีกาหนด ๒. คา ()الكلمات ๑. ฟัง พูดประโยคปฏเิ สธ ๒.๑ คานาม ()أنواع السم ๒. อธิบายคากรยิ าที่กาหนด ๒.๑.๑ คานามท่เี ป็นเอกพจน์ ()المفرد ๓. จาแนกประเภทของคาตา่ งๆในประโยค ๒.๑.๒ คานามทเ่ี ป็นทวพิ จน์ ()المثنى ๔. อา่ น เขียน สนทนาและบอกความหมาย ๒.๑.๓ คานามทเ่ี ปน็ พหุพจน์ ()الجمع ๔๔ ๒.๒ คากริยา ( )أنواع الفعلและการผนั ๒.๒.๑ คากรยิ าที่เปน็ อดตี กาล ()الماضي ๒.๒.๒ คากริยาท่เี ป็นปัจจบุ ัน ()المضارع ๒.๒.๓ คากริยาทเ่ี ป็นคาสง่ั ()الأمر ๒.๓ คาบุพบท ()الحرف ๒.๔ คาสรรพนาม () الضمائر ๒.๔.๑ สรรพนามบรุ ุษท่ี ๑ ()ضميرالمتكلم ๒.๔.๒ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๒ ( )ضميارلمخاطب ๒.๔.๓ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ ()ضميرالغائب ๒.๔.๔ การใชค้ ากริยากบั คาสรรพนาม ()اْلفعال والضمائر ๒.๕ คาตรงกนั ขา้ ม (ِ)الكلمات المتضاد ๒.๖ ทิศ ()الجهات ๓. จานวนนบั ๘๑– ๑๐๐ ๔. ประโยค ()الجملة ๔.๑ ประโยคที่ข้ึนตน้ ด้วยคานาม ()جملة اسمية ๔.๒ ประโยคที่ขนึ้ ตน้ ดว้ ยคากริยา ()جملة فعلية ๔.๓ วลี ()شبه الجملة ๕. ประโยค ๕.๑ ประโยคบอกเล่า ๕.๒ ประโยคปฏเิ สธ ๑. ประโยคปฏิเสธเชน่ ฉันไม่ชอบกินขนมปัง()لأحباْلبز ๒. คากรยิ า ()اْلفعال ๒.๑ กริยาทต่ี ้องการกรรม ()الفعل المتعدي
ระดับชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ คาศัพทจ์ ากบทสนทนาท่ีกาหนด ๒.๒ กริยาที่ไม่ต้องการกรรม ()الفعل اللازم ๕. เห็นคณุ ค่าและมที ักษะในการใช้ภาษา ๓. จานวนนบั ๑๐๐ ข้ึนไป ๔. ประโยค ()الجملة อาหรับ ๔.๑ ประโยคทม่ี โี ครงสร้างเรมิ่ ด้วยคานาม ()جملة اسمية ๔.๒ ประโยคที่มโี ครงสร้างเริ่มด้วยกรยิ า ()جملة فعلية ๔.๓ ประโยคท่ีมกี าลวิเศษณแ์ ละสถานวเิ ศษณ์ ()ظرف الزمان والمكان ๔.๔ ประโยคทมี่ คี าบุพบท ๕. บทสนทนา ๕.๑ นักเรียนใหม่ ( )الطلاب الجديد ๕.๒ ภารกจิ ประจาวัน ()الواجبات اليومية ๕.๓ เพือ่ นของฉัน ()صديقي ๕.๔ ความสะอาด ()النظافة ๔๕
Search