Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 การตลาด

บทที่ 3 การตลาด

Published by 6032040007, 2019-01-14 22:39:45

Description: บทที่ 3 การตลาด

Search

Read the Text Version

3.1 บทบาทการตลาด ในสมยั โบราณสินคา้ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิตและปจั จยั สี่ท่ยี งั ไม่หลากหลายการไดม้ าซง่ึ สินค้าและบรกิ ารจะใช้วธิ ีการนาสินคา้ ไปแลกเปลี่ยนกันในลกั ษณะต่างๆกนัเชน่ ใช้สนิ คา้ แลกสนิ คา้ หรอื ใชส้ นิ คา้ แลกเงิน เม่ือสังคมเจริญขน้ึ ประชากรเพ่ิมมากขึน้ส่งผลให้เกิดความตอ้ งการในสินค้าและบริการเพ่ิมขนึ้ ประกอบกบั เทคโนโลยีและระบบส่อื สารเจริญก้าวหน้าทาใหก้ ารซอื้ ขายแลกเปลย่ี นสินค้าระหวา่ งกนั สะดวกและรวดเร็วยงิ่ ขึ้นการตลาดจึงมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และยังยกระดบัความเป็นอยใู่ นสงั คม

3.1.1 บทบาทของการตลาดต่อสังคม มดี ังตอ่ ไปน้ี 1. การตลาดกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมในการดารงชวี ิตการตลาดทาใหม้ ีสินคา้ และบรกิ ารต่างๆตอบสนองความต้องการของลกู คา้ ทาให้มีสภาพชีวิตความเปน็ อยดู่ ีขึ้น 2. ความสมั พนั ธท์ างครอบครวั มคี วามมนั่ คงน้อยลงปัจจบุ ันสงั คมเปลยี่ นจากครอบครวั ใหญเ่ ป็นครอบครัวเด่ยี วมากขึ้นสมาชิกแต่ละคนตา่ งมภี าระหนา้ ทขี่ องตนเอง 3.ความสมั พนั ธข์ องสังคมและชมุ ชนเปลยี่ นแปลงไปในสมยั โบราณการหาซอ้ื สินคา้ หรือบริการยังไม่สะดวกเหมอื นเช่นปัจจบุ ัน สังคมชมุ ชนมา ช่วยเหลอื เก้ือกูลซงึ่ กนั และกนั

3.1.2 บทบาทองการตลาดตอ่ เศรษฐกจิ 1.) มกี ารเพ่มิ งานอาชีพมากขึ้น กิกรรมต่างๆทางการตลาดได้เข้ามามีบทบาทตอ่ การ เปลย่ี นแปลงหลายประการของเศรษฐกิจ เมือ่ มคี วามตอ้ งการผลิตภัณฑ์ตา่ งๆมีมากข้นึ การผลิตขยายตวั เพม่ิ ขึ้น 2.) ประชาชนมรี ายได้สงู ขนึ้ เมอ่ื มตี าแหน่งงานอาชีพใหม่ๆเพมิ่ ขนึ้ อตั ราการวา่ งงาน ลดลงประชาชนมงี านทามรี ายไดส้ ่งผลใหม้ ีกาลงั ซอ้ื เพ่ือการจบั จา่ ยสนิ ค้าหรอืบริการมา ตอบสนองความตอ้ งการของตนเองเพมิ่ มากขึน้

3.) มกี ารหมนุ เวียนปจั จัยการผลติ ก่อให้เกิดการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง เมือ่การผลิตของกิจการหนง่ึ ขยายตวั ทาให้เกิดความตอ้ งการปจั จัยการผลิตเพ่ิมข้นึ 4.) การแข่งขนั ทางการตลาดทาใหต้ น้ ทุนของสินค้าและบรกิ ารเพิ่มสงู ขน้ึ ธรุ กจิที่ประสบความสาเรจ็ มักจะมีคแู่ ข่งขนั เพิ่มขน้ ในตลาดผลติ ภัณฑ์หนง่ึ ๆคู่แข่งขันต่างพยายามสรรหากจิ กรรมทางการตลาดรูปแบบใหมม่ าเรียกรอ้ งความสนใจจากลูกคา้

3.2 หน้าทีก่ ารตลาด จากความหมายของการตลาด คอื กระบวนการบริหารแนวความคิดเกี่ยวกบัการต้ังราคาการ ส่งเสรมิ การตลาด การจัดจาหนา่ ยสินค้าหรือบริการหรือความคิดก่อให้เกิดการแลกเปล่ียนการ เคลอื่ นยา้ ยสนิ คา้ จากผผู้ ลิตไปยังผ้บู รโิ ภค

หน้าที่การตลาด (Marketing Function) คอื กิจกรรมทางการตลาดของธุรกจิ ทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ การ เคลอื่ นยา้ ยสินคา้ และการโอนเปล่ียนมอื สนิ ค้าจากผู้ผลติ ไปยังผู้บรโิ ภค อันจะทาใหเ้ ปา้ หมาย ทางการตลาดของกิจการประสบความสาเรจ็ ได้ดว้ ยดี หนา้ ท่ีของการตลาดแบ่งได้ 3 หน้าท่ีหลัก 1. หนา้ ที่การตลาดทเ่ี ก่ยี วกับสินค้า 2. หนา้ ท่ีการตลาดทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การกระจายสินคา้ 3. หนา้ ที่การตลาดท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การอานวยความสะดวกต่างๆ

3.2.1หนา้ ทกี่ ารตลาดที่เก่ียวขอ้ งกับสินค้า (Merchandising Function) ธุรกิจจะต้องดาเนินกิจกรรมทางการตลาดเพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการตอบสนองความ ต้องการของตลาดเป้าหมายทาให้กิจการบรรลุเป้าหมายได้หน้าที่การตลาดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับสินคา้มีดังนี้ 3.2.1.1) การซื้อ (Buying) ผู้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นผผู้ ลิตหรอื คนกลางต้องหาความ ต้องการซื้อตลาดเป้าหมายให้ได้ว่าต้องการสินค้าหรือบริการอะไรเพื่อกิจการจะได้จัดซ้ือสินค้า หรือบริการมาตอบสนองเพ่ือจัดจาหน่ายให้กับลูกค้าโดยต้องปรึกษาหาข้อมูลเรื่องต่อไปน้ี

1.) จุดประสงค์ของการซื้อ ตลาดเป้าหมายแต่ละกลุ่มมีจุดประสงค์ในการซอ้ื แตกตา่ งกัน จุดประสงค์ในการซื้อของผู้บริโภคคนสุดท้าย คือ ซื้อไปเพ่อื กินเพ่ือใช้เองหรือให้ผู้อ่ืน โดย เสน่หา ไม่หวังผลกาไรพ่อค้าคนกลางจะซื้อสินค้าไปเพื่อการจาหนา่ ยต่อ 2.) การเลือกซื้อ สินค้าที่มีประโยชน์ใช้สอยเหมือนกันลักษณะรูปทรงรูปร่างเหมือนกันถ้ามาจากแหล่งผลิตต่างกันอาจจะมีคุณภาพที่แตกต่างกันก็ได้ธรุ กิจจะซ้ือสนิ คา้ จาเปน็ ต้องศกึ ษาวา่ ผลิตมาจากแหลง่ ใดแต่ละแหลง่ จะใหค้ ุณภาพราคา ปริมาณหรือบริการท่ีให้กับผู้ซื้อแตกต่างกัน ธุรกิจควรมีหลักในการพพิจารณา

การซ้อื ตามหลกั 5 R’s ดังน้ี 1.) ซ้ือไดใ้ นคณุ ภาพทถ่ี ูกต้อง (Right Quality) 2.) ซือ้ ไดใ้ นปริมาณทถ่ี กู ต้อง (Right Quantity) 3.) ซือ้ ได้ในราคาทถ่ี กู ต้อง (Right Price) 4.) ซ้ือได้ในเวลาท่ถี กู ตอ้ ง (Ring Time) 5.) ซื้อได้จากแหล่งผลิตหรอื แหล่งขายท่ถี กู ตอ้ ง (Right Sources of Supply)

3.) วธิ ีการซื้อและเง่ือนไชในการซื้อ ในการซ้ือสินค้าผู้ซื้ออาจจะซ้ือคร้ังละมากๆ หรือ คร้ังละไม่มากแต่ซ้ือบ่อยโดยการประมูลราคา ซ้ือโดยวิธีการประกวดราคา ในกรพิจารณาซ้ือ สินค้าอาจดูจากสินค้าของจริง สินค้าตัวอย่าง ใบเสนอราคาซ้อื ตามแค็ตตาลอ็ ก 3.2.1.2) การขาย (Selling) เปน็ กจิ กรมทางการตลาดเพอ่ื เสนอขายสนิ คา้ หรือบรกิ ารหรือ ความคิดให้กับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย หน้าที่การขายถือเป็นหน้าท่ีท่ีเป็นหัวใจของการดาเนินธุรกจิ เพราะการขายกอ่ ให้เกิดรายได้นามาซงึ่ ผลกาไรใหก้ บั กิจการฟ

1.) ลักษณะการขาย (Direct Sales) คอื การที่พนกั งานขายออกไปพบลูกค้าโดยตรงถงึ บา้ นหรือทีท่ างานของลกู คา้ พนกั งานขายและลกู ค้าเผชิญหนา้ กนั โดยตรงแบบFace to Face เปน็ การสอ่ื สารแบบสองทางพนกั งานขายสามารถปรบั กลยทุ ธก์ ารขายให้เหมาะสมกับลกู ค้าแตล่ ะ คนไดด้ ีพนักงานขายที่ประสบความสาเร็จในการขายต้องมคี วามรู้เกี่ยวกบั กระบวนการขายดังนี้

ข้นั ที่ 1 การเสาะหาแสวงหาลูกค้า (Prospecting) โดยท่ัวไปผู้ซ้ือและผู้ขายจะไม่รู้จักกัน อยู่กันคนละทิศละทาง พนักงานขายที่มีประสบการณ์ จะเสาะแสวงหาลูกค้าได้จากกลุ่มเพ่ือนฝูงญาติมิตรคนรู้จักไปเรื่อยๆเรียกว่า เป็นการแสวงหาลูกค้าแบบโซ่ไม่มีปลาย หรอื สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าจากกลุ่มผู้มีอิทธิพลจากส่ือต่างๆ หารายละเอียดเก่ียวกับลูกค้าให้มากท่ีสุดทุกด้านเพื่อเป็นประโยชนต์ อ่ การเสนอขาย

ขน้ั ที่ 2 การเตรียมตัวกอ่ นการเขา้ พบ (Preapproach) ก่อนพนักงานขายจะออกไปพบลูกค้าหลังจากได้ข้อมูลเก่ียวกับลูกค้าในขั้นการแสวงหาลูกค้า พนักงานขายต้องวางแผนการขายว่าจะไปเสนอขายสินค้าให้ใคร เตรียมข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า เตรียมสินค้าเครื่องมืออุปกรณ์ สินค้าตัวอย่างจริง แคตตาล็อกแผ่นพับ ใบปลิวอุปกรณ์ในการจัดสาธิตสินค้าให้พร้อมกับเอกสารการซื้อขาย นามบัตรจดหมายแนะนาตนเอง ยง่ิ เตรยี มตัวพร้อมทุกด้านมากเท่าใด การเสนอขายก็จะมีโอกาสประสบความสาเร็จมากขึ้นเทา่ นั้น

ขั้นที่ 3 การเขา้ พบ (Approach) เม่อื พนกั งานขายมีขอ้ มูลรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าในความหวัง เตรียมตัวพร้อมที่เสนอขายแล้ว พนักงานขายจะขอทาการเข้าพบลูกค้าเพื่อเสนอขาย แต่ในโลกแห่งความเป็นจริงลูกค้าท่ีเปิดโอกาสให้พนักงานขายเข้าพบเพื่อเสนอขายได้ง่ายมีน้อยมาก ดังน้ัน เพ่ือให้มีโอกาสได้เข้าพบและสามารถเสนอขายสินค้าได้ พนักงานขายที่ประสบความสาเร็จในอาชีพ มักจะทาการนัดหมายขอเข้าพบล่วงหน้า โดยขอนัดหมายเวลาด้วยตนเองหรือทางโทรศัพท์ เพ่ือดูว่าลูกค้าว่างพอท่ีจะให้เข้าพบได้ช่วงใดเวลาใด วันใด เมื่อถึงวันเวลาที่ลูกค้าให้เข้าพบ พนักงานขายตอ้ งศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั ลกู คา้ แต่ละราย

ข้นั ท่ี 4 การเสนอขาย (Presentation) เมื่อลูกค้าเปิดโอกาสให้พนักงานขายเข้าพบ นั่นหมายถึงโอกาสประสบความสาเร็จในการขายมีกวา่ ครึ่ง วธิ กี ารเสนอขายท่ีไดผ้ ล คือ การนาสินค้ามาสาธิตหรือแสดงให้ลูกค้าได้เห็นของจริง ให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในการทดสอบทดลองปฏิบัติกับสินค้าจริงจะดีกว่าการได้เห็นแต่ตัวสินค้าหรือจากแคตตาล็อก เช่นการเสนอขายหม้ออเนกประสงค์ ทอด หุง ต้ม น่ึงไม่ใช่การอธิบายและให้ลูกค้าเห็นสินค้าจริงอย่างเดียวควรสาธติ การใช้งานของจรงิ กบั สถานการณ์จรงิ

ขนั้ ท่ี 5 การเผชิญข้อโต้แย้ง (Meeting the Objection) ในกระบวนการขายไม่ใช่จะราบรื่นเสมอไปลูกค้าที่เปิดโอกาสให้เข้าพบและพนักงานได้เสนอขาย ก็ใช่ว่าลูกค้าจะยอมรับและซื้อสินค้าทันที ลูกค้าส่วนใหญ่เมื่อมีผู้มาเสนอขายมักตั้งกาแพงข้ึนในใจก่อนว่าจะไม่สนใจหรือไม่ซื้อสินค้า หากสินค้านั้นไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ ลูกคา้ มกั มีขอ้ โตแ้ ยง้ เกดิ ขน้ึ เสมอในขณะรับฟังการเสนอขาย ข้อโต้แย้งอาจอยู่ในรูปแบบราคาไม่น่าพอใจคุณภาพไม่เป็นที่ต้องการรูปแบบสีสันไม่สวยถูกใจ ต้องดาเนินการแก้ไขข้อโต้แย้งให้หมดไปเป็นข้อๆ ทุกประเด็น อยา่ ปลอ่ ยให้ผา่ นเลยไปจะมีผลต่อการปดิ การขาย

ข้ันท่ี 6 การปดิ การขาย (Closing the Sales) ท่านเช่ือหรือไม่ว่าพนักงานขายบางคนใช้เวลากับลูกค้าบางคนนานสองนานแต่ปิดการขายไม่เป็น ซงึ่ มีผลทาใหย้ อดขายไม่เพิม่ ขนึ้ พนักงานท่ีมีประสบการณ์สูงมักจะหาโอกาสปิดการขายทุกช่วงการขาย โดยมีสัญญาณบอกเหตุจากปฏิกิริยาของลูกค้า เช่นลูกค้ายอมรับฟังการเสนอขายได้นานๆ แสดงการพยักหน้ายอมรับ หยิบจับสินค้าหรือแสดงความสนใจการเสนอขาย พนักงานควรหาจังหวะปิดการขายเช่น ใช้คาพูดคาถามนา \"ตกลงชอบแบบน้ีหรือแบบนั้นครับ\" \"จะให้ส่งไปที่บ้านหรือท่ีทางานครับ\" หรือหยิบใบส่งั ซ้อื มาเตรยี มเขยี นหรอื สรปุ เองว่า \"ตกลงเลือกแบบนี้นะคะ\" สัญญาณเหล่าน้ีเป็นตัวบง่ ช้วี ่าหากลูกคา้ ไมป่ ฏเิ สธ พนักงานขายก็ประสบความสาเรจ็ คือปดิ การขายไดท้ นั ที

ขั้นที่ 7 กจิ กรรมหลงั การขาย (Activities After the Sales) ในการเขา้ พบเพ่อื เสนอขายสินค้าพนักงานขายอาจประสบความสาเร็จ คือ ลูกค้าซื้อสินค้า หรือไม่ประสบความสาเร็จ คือ ลูกค้าไม่ซ้ือสินค้าแต่พนักงานขายยังต้องมีกิจกรรมหลังการขาย คือการขายสินค้าและไม่ใชข่ ายแล้วจบ ไม่ติดต่อกันต่อไปแม้จะขายได้หรือขายไม่ได้ก็ตามพนักงานขายควรออกไปเย่ียมลูกค้า เพ่ือสอบถามถึงการใช้สินค้าว่าเป็นอย่างไรต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติมอะไรจะสร้างความประทับใจให้เกิดข้ึนได้และจะกลายเป็นลูกค้าประจาในที่สุดธุรกิจปัจจุบันสภาวะการแข่งขันสูงมาก กิจการต้องรักษาลูกค้าเก่าเพ่ือรกั ษาสว่ นครองตลาดเดิมเอาไว้ พนกั งานขายควรหมั่นคอยเย่ียมเยือนอยา่ งสมา่ เสมอ

(2) การขายทางอ้อม (Indirect Sales) เป็นกิจกรรมการขายที่กิจการใชว้ ิธีการติดต่อซ้ือขายกับลูกค้าทั่วไปโดยผ่านคนกลาง ใช้ในกรณีที่สินค้านั้นเป็นสินค้าที่มีผู้บริโภคจานวนมากอยู่กระจดั กระจายทั่วไปทุกหนทุกแห่งผู้ประกอบการไม่สามารถกระจายสินค้าให้ลูกค้าได้อย่างทั่วถึง จึงจาเป็นตอ้ งอาศัยคนกลางช่วยดาเนนิ การเคลือ่ นย้ายและกระจายสินคา้ ไปยงั ผู้บริโภค

2) วธิ ีการขาย ในการขายสินค้าให้คนกลางลูกคา้ ท่วั ไปอาจใชว้ ิธกี ารขาย ดังน้ี (1) การขายเปน็ เงนิ สด คอื ให้ชาระสนิ คา้ เป็นเงินสดทันทเี มื่อได้รับสนิ คา้ผู้ประกอบการจะมีเงินสดเปน็ ทุนหมนุ เวยี นอย่ตู ลอดเวลา แต่ปริมาณอาจไม่มากนกั เพราะลกู คา้ ที่มคี วามสามารถชาระคา่ สนิ ค้าเป็นเงนิ สด จะซอ้ื สินค้าครง้ั ละไม่มาก (2) การขายเป็นเงินเช่ือ เป็นการขายสนิ ค้าท่ีธรุ กจิ ใหผ้ ูซ้ ือ้ นาสินคา้ ไปผลิตหรือไปจาหนา่ ยก่อน เมื่อครบกาหนดระยะเวลาทีต่ กลงกนั กใ็ หน้ าเงินค่าสินค้าทัง้ หมดหรือบางส่วนตามทตี่ กลงกันมาชาระภายหลัง วธิ นี ีจ้ ะดใี นแง่ท่ีว่า ผซู้ ้อื สินค้าอาจเป็นผปู้ ระกอบการรายยอ่ ย ไมม่ ีเงินทนุ หมนุ เวยี นเพียงพอที่จะจ่ายชาระเป็นเงนิ สดได้ แตม่ ีความต้องการจะนาสินคา้ ไปขายตอ่ หากธุรกจิ วิเคราะหแ์ ล้วว่าผ้ซู ื้อต่อเหลา่ น้ี มีความ

(3) การฝากขาย เป็นวิธีการขายที่ใช้ในกรณีท่ีเจ้าของสินค้านาสินค้าไปฝากให้คนกลางขายต่อ การกาหนดเงื่อนไขการขายเป็นหน้าท่ีของเจ้าของสินค้า ผู้รับฝากขายไม่มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า ไม่มีสิทธิ์ในการกาหนดเง่ือนไขการขายใดๆทั้งสิ้นเม่ือสินค้าขายได้ เจ้าของสินค้าจะจ่ายผลตอบแทนการขายให้ผู้รับฝากโดยแบ่งเป็นเปอร์เซน็ ต์จากยอดขายตามทีต่ กลงกัน

(4) การขายแบบผ่อนส่ง เป็นวิธีการขายที่ผู้ขายกาหนดให้ผู้ซื้อชาระเงินค่าสินค้าบางส่วนก่อนจานวนหนึ่ง ซ่ึงเรียกวา่ เงินดาวน์ (Down Payment) แล้วส่วนท่ีเหลือจะให้ผู้ซ้ือผ่อนชาระค่าสินค้าเป็นงวดๆ ตามแต่จะตกลงกัน เช่น ผ่อนชาระให้เสร็จส้ินภายใน 6 เดือน 12 เดือน 48 เดือน นิยมใช้สาหรับการซ้ือขายสินค้าท่ีมีมูลคา่ สูง ในชว่ งท่มี ีการผอ่ นชาระค่าสนิ ค้า กรรมสิทธใ์ิ นสนิ ค้ายงั เปน็ ของผ้ขู าย

3) การเลือกคนกลาง คนกลาง คือ กลุ่มบคุ คลหรอื สถาบันท่อี ยู่ระหวา่ งผู้ผลิตกับผู้บริโภค ทาหน้าที่ในการกระจายสนิ ค้าจากผผู้ ลิตให้ถึงมือผบู้ ริโภคตามวันเวลา สถานที่ราคาที่เหมาะสม ในการเลือกคนกลางเพ่ือช่วยจาหน่ายสินค้า ธุรกิจอาจพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆ ของคนกลาง เช่น ความเหมาะสมของคนกลางกับสินค้าของตนบทบาทหรืออิทธิพลของคนกลางต่อตลาดน้ันๆ ฐานะของคนกลาง บริการที่ได้รับจากคนกลางดึกท่ีต้องให้กับคนกลาง ความร่วมมือช่วยเหลือระหว่างคนกลางกับผู้ผลิต สิ่งเหลา่ น้เี ป็นปจั จยั ที่ผปู้ ระกอบการหรอื ผู้ผลติ นามาใชใ้ นการพิจารณาเลอื กคนกลาง

4) การให้บริการ ในกระบวนการขายจะมีกิจกรรมการขายให้บริการท้ังก่อนการขายและหลังการขาย เช่น การให้คาแนะนา ให้ความช่วยเหลือปรึกษาข้อมูลเก่ียวกับสินคา้ ราคา คณุ ภาพที่ถูกต้องเหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าด้วยความจริงใจ เมื่อขายสินค้าได้แล้ว กระบวนการขายมิได้หยุดเพียงเท่านั้น ธุรกิจที่ต้องการรักษาตลาดเดิมไว้อย่างเหนียวแน่น จะมีบริการหลงั การขายไวบ้ ริการลกู ค้าเพ่อื สร้างความประทับใจสร้างความไว้วางใจ ความเช่ือใจและในที่สุดก็กลายเป็นลูกค้าประจา จะทาให้ธุรกิจมีตลาดท่ีแนน่ อนจานวนหนึง่ พร้อมๆ กับการขายตลาดใหม่ๆ เพ่ิมข้นึ บริการหลังการขายท่ีให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย เช่น การดูแลซ่อมบารุงรักษา การรับฟังปัญหาข้อร้องเรียนของลกู ค้าการเยย่ี มเยียนลกู ค้าเปน็ บางครงั้ บางคราว

3.2.1.3 การจัดมาตรฐานและระดับคุณภาพของสินค้า หมายถึง การจัดเตรียมสินค้าเพื่อให้ง่ายต่อการซื้อขาย โดยแยกตามกลุ่ม ขนาด มาตรฐานและคุณภาพของสินค้า สินค้าแต่ละชนดิ ไมไ่ ดม้ เี พยี งแบบเดยี วขนาดเดียวหากเป็นเช่นน้ันปัญหาของการตกลงซื้อขายสินค้าคงไม่เกิดขึ้น แต่หากต้องการให้เกรดหรือมาตรฐานน้ันได้รับความน่าเชื่อถือ มักจะขอรับการรับรองคุณภาพมาตรฐานการผลิตจากหน่วยงานหรือองค์กรท่ีมีหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับเรื่องนี้ การได้รับเครื่องหมายฮาลาล รับรองคุณภาพว่าสามารถบริโภคไดโ้ ดยไมผ่ ิดหลกั ศาสนา

3.2.2 หนา้ ท่กี ารตลาดทเี่ กี่ยวกบั การกระจายสินค้า การกระจายสนิ ค้า หมายถึง การจดั สง่ สินค้าจากผผู้ ลิตไปยงั สถานท่ที ่ีเหมาะสมในวนั เวลาท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม ดว้ ยตน้ ทุนท่ีต่าทส่ี ดุ (Kotler.2003:554) ในกระบวนการเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ จากผู้ผลติ ไปยงั ผู้บริโภคนอกจากมคี นกลางเขา้มามบี ทบาทหนง่ึ แลว้ ยงั มกี จิ กรรมการเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ ทเ่ี ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั การกระจายสนิ ค้า หน้าท่กี ารตลาดท่ีเกี่ยวข้องกับการกระจายสินคา้ มีดงั นี้

3.2.2.1 การขนส่ง (Transportation) คือ การเคล่ือนยา้ ยสินค้าจากจดุ หน่ึงไปอีกจุดหนึ่ง คือ จากผู้ผลิตไปยังคนกลางไปยังผู้บริโภค โดยการใช้วิธีการขนส่งต่างๆ ท่ีถูกต้องเหมาะสมกับสินค้าที่จะขนส่ง การเลือกวิธีการขนส่งมีผลต่อราคาสินค้าความสามารถในการส่งสินค้าได้ตรงเวลาและสภาพของสินค้า เมื่อไปถึงลูกค้าแล้วลกู คา้ ไดร้ ับความพอใจในการขนส่งสินค้าที่รวดเร็วมีผลทาให้ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าลดลง ผู้ประกอบการได้เงินทุนมาหมุนเวียนเร็วขึ้น สามารถเรียกเก็บค่าสินค้าเร็วข้ึนหากสนิ ค้าไปถึงมอื ลูกคา้ เร็วขนึ้ วธิ ีการขนสง่ สินค้าไปยังคลังสนิ ค้า คนกลางหรือลูกค้าท่ีนยิ มใชใ้ นการค้าทั้งภายในและตา่ งประเทศ ได้แก่

1) การขนส่งทางบก มีวิธีการขนส่งทั้งทางถนน คือ การขนส่งโดยรถบรรทุก(Trucks) และการขนส่งทางรถไฟ (Railroads) การขนส่งทางถนนโดยรถบรรทุกเหมาะสาหรับการขนส่งที่มแี ผน่ ดนิ เชือ่ มติดตอ่ กัน ขนส่งไดค้ ร้ังละมากๆช่วงเวลาในการขนส่งยืดหยุ่นได้ตามความต้องการของผู้ขนส่ง ราคาไม่สูงจนเกินไป สะดวก ค่อนข้างรวดเร็วแต่ความปลอดภัยต่า การค้าภายในประเทศนิยมใช้การขนส่งทางถนนเพราะสะดวกรวดเร็ว ราคาไม่แพง การขนส่งทางรถไฟ สามารถบรรทุกได้ครั้งละมากๆ แต่มีข้อจากัด คอื เวลาในการขนสง่ ไมย่ ดื หยนุ่ ต้องออกตามตารางเวลาท่ีการรถไฟกาหนด



2) การขนส่งทางน้า การขนส่งทางแม่น้าลาคลองในประเทศไทยได้ลดบทบาทลงมาก เนื่องจากปัจจุบันแม่น้าลาคลองตื้นเขิน เรือบรรทุกสินค้าขนาดใหญ่ไม่สามารถแล่นผ่านได้ท่าเรือกับโรงงานผลิตอยู่ห่างไกลกันทาให้ไม่ได้รับความนิยม ประกอบกับการขนสง่ วธิ นี ีใ้ ช้เวลาในการขนสง่ มาก แมว้ ่าต้นทุนการขนส่งตา่ ก็ไมเ่ ป็นทนี่ ยิ ม



3) การขนสง่ ทางอากาศ เป็นการขนส่งทางเครือ่ งบนิ เป็นวธิ กี ารขนส่งที่สะดวกรวดเร็วทันใจ แต่ราคาแพง ขนส่งได้ปริมาณน้อย เหมาะสาหรับการขนส่งสินค้าราคาสูง สินค้าที่มีเร่ืองเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องสินค้าท่ีเน่าเป่ือยเสียหายง่าย ในการค้าภายในประเทศไทย จึงไม่นิยมใช้การขนส่งทางอากาศ แต่การค้าระหว่างประเทศท่ีต้องการส่งสินค้าให้ทันตามเวลาท่ีลูกค้าต้องการ นิยมใช้การขนส่งทางอากาศ แม้ค่าขนส่งจะสงู ก็ตาม



4) การขนส่งทางท่อ เหมาะสาหรับสินค้าประเภทของเหลว แก๊ส น้ามันเชื้อเพลงิ น้าประปาหรือหักเป็นของแขง็ ต้องบดให้ละเอียดเพื่อให้ไหลไปตามท่อได้ การลงทุนกับการขนส่งทางท่อในระยะแรกจะสูง แต่ในระยะยาวจะคุ้มค่าเพราะลงทุนครั้งเดียว ไม่มีปัญหาทางภูมิศาสตร์ หรือปัญหาทางด้านการจราจร ฝนตกรถติดก็สามารถขนสง่ ได้ตลอดเวลา



ปัจจุบนั นิยมควบวิธีการขนสง่ ตั้งแต่ 2 วิธีเขา้ ดว้ ยกัน เพอื่ ใหก้ ารขนส่งเป็นไปด้วยความสะดวกมากย่งิ ขึน้ เช่นการขนส่งทางรถไฟกับรถบรรทุก เรยี กว่า Piggy Backการขนสง่ ทางเรือกับรถบรรทุก เรยี กว่า Fishy Backการขนสง่ ทางเรือกบั รถไฟเรยี กวา่ Transshipการขนสง่ ทางเคร่ืองบินกบั รถบรรทกุ เรยี กว่า Air Trunckรฐั บาลไทยพยายามส่งเสรมิ การส่งออก และไดใ้ หค้ วามสาคัญกับระบบการกระจายสินคา้ ทั้งภายในและระหวา่ งประเทศ

3.2.2.2 การเก็บรักษาและการคลังสินค้า ผู้บริโภคมีความต้องการซ้ือและใช้สินค้าต่างๆ ตลอดเวลา แต่มักไม่ตรงกับชว่ งการผลิตของผู้ผลิต ผู้ประกอบการมีหน้าท่ีต้องมีสินค้าที่ลูกค้าต้องการไว้ตอบสนองตลอดเวลาเช่นกัน เพื่อให้ลูกค้าได้รับอรรถประโยชน์ด้านเวลา ผู้ประกอบการจะใช้การเก็บรักษาสินค้านอกฤดูกาล ไว้ตอบสนองลูกค้าในการเก็บรักษาสินค้าเพื่อรอการจาหน่ายจะมีเร่ืองการคลังสินค้าเข้ามาเกย่ี วขอ้ ง ผปู้ ระกอบการหรือผผู้ ลิตต้องมีคลังสินค้าเพอ่ื เก็บสินค้าไว้ตอบสนองลูกค้าเพอื่ รอการขายต่อไป

1) คลังสินค้าเอกชน (Private Warehouse) เป็นท่ีเก็บรักษาสินค้าท่ีผู้ผลิตหรือเจ้าของสินค้าสรา้ งข้ึนไว้เพื่อเก็บรักษาสินค้าของกิจการเอง ใชใ้ นกรณีที่ผู้ผลิตมีการผลิตสินค้าอย่างสม่าเสมอตลอดท้ังปี ต้องการเก็บรักษาสินค้าไว้รอการจาหน่ายตลอดเวลาขอ้ ดีของคลังสินค้าเอกชนคือมีความคล่องตัวในการดาเนินงานสูง การควบคุมดูแลรักษาการบริหารการใช้พื้นที่ทาได้รวดเร็วต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าต่า เม่ือเทียบกับการใช้บริการเชา่ พ้นื ท่จี ากคลงั สินค้าสาธารณะ ข้อเสียคือ หากคลังสินค้ามีจดุ เดียว อาจมีผลต่อการกระจายสินคา้ ไปให้ลูกค้าตามจดุ ต่างๆ ท่ีอยู่กระจัดกระจายทั่วไป วธิ ีการแก้ปัญหาทาได้โดยการใช้บริการการขนส่งที่รวดเร็วมาช่วย จะทาให้สินค้าถึงมือลูกค้าตามวันเวลาที่ตอ้ งการ โดยมตี น้ ทนุ การขนสง่ เพม่ิ เข้ามาเท่านนั้

2) คลังสินค้าสาธารณะหรือคลังสินค้าให้เช่า (Public Warehouse) เป็นคลังสินค้าท่ีสร้างข้ึนเพ่ือบริการให้ผู้ใดก็ได้ท่ีต้องการเก็บรักษาสินค้าของตนคลังสินค้าสาธารณะมักจะมีความชานาญในการดาเนินการเก็บรักษาสินค้าเฉพาะเป็นอย่างๆไป เช่น คลังสินค้าเฉพาะอย่าง เก็บรักษาผลิตผลประเภทพ้ืนไร่ มีการปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับสภาพของสินค้าท่ีเก็บรักษา คลังสินค้าห้องเย็นเหมาะสาหรับเกบ็ สนิ ค้าทเ่ี นา่ เปื่อยเสยี ง่าย

3.2.3 หน้าที่การตลาดทเี่ กีย่ วกบั การอานวยความสะดวกต่างๆ (FacilitationFunctions)หน้าท่ีการตลาดอน่ื ๆ ทีช่ ่วยใหก้ ารดาเนนิ ธรุ กจิ ไดร้ บั ความสะดวกมากขึน้ ไดแ้ ก่ 1) การเงนิ (Finance) ในการดาเนนิ ธุรกจิ จาเป็นต้องมีเงนิ เพื่อการหมุนเวยี นตลอดเวลา ในการก่อตัง้ กจิ การผปู้ ระกอบการอาจมเี งินทนุ ของตนเองบางส่วนหากไม่เพียงพอก็ใชว้ ิธีการขอความชว่ ยเหลือจากสถาบันการเงินต่างๆ ในรปู แบบของการก้ยู ืมเงนิเพ่อื การลงทุน เมื่อกจิ การประสบความสาเร็จ มผี ลตอบแทนจากการลงทุนสว่ นหนงึ่ ตอ้ งจ่ายคืนใหผ้ ถู้ อื หุ้นและอกี สว่ นหนง่ึ เก็บไวเ้ ปน็ ทนุ สารองไว้ใชเ้ พือ่ การดาเนินการตอ่ ไป

2) การรบั ความเส่ียง (Risk Bearing) ผูป้ ระกอบการหรือผู้ผลิตจะเปน็ ผู้รบั ภาระความเสย่ี งต่างๆ ท่อี าจเกดิ ขึ้นจากการซอ้ื ขายสินค้า เสี่ยงตอ่ การสูญหายของสนิ คา้ สินค้าลา้ สมัย สินค้าแตกหกั เสยี หายระหว่างการเคลอ่ื นยา้ ยการขนส่ง เสยี งจากสภาวะการณก์ ารลงทุน เสยี่ งจากภยั ธรรมชาติ ความเสี่ยงบางประการผ้ปู ระกอบการสามารถผลกั ภาระความเสย่ี งใหก้ บั ธรุ กจิ ประกนั ภัย โดยการทาประกันภัยแบบต่างๆ

3) ข้อมูลด้านตลาด (Market Information) ผู้ผลิตสินค้าจะผลิตสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในเวลา สถานที่ ราคาคุณภาพ ปริมาณท่ีเหมาะสมได้ ต้องมีความรู้เร่ืองข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าหรือตลาด ความต้องการของลูกค้าเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา หากผู้ผลิตไมก่ า้ วทนั ความตอ้ งการของลูกคา้ ทเี่ ปลีย่ นแปลงน้ันโอกาสประสบความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจทาได้ยากมากปัจจุบันธุรกิจขนาดใหญ่ใช้การหาข้อมูลทางการตลาด โดยใช้การวิจัยการตลาดมาช่วยในการพิจารณาตัดสินใจแกไ้ ขปัญหา

4) การให้บริการด้านการจัดการและการให้คาแนะนาปรึกษา (ManagementServices and Counseling) ผู้ประกอบการจะให้ความช่วยเหลือคนกลางตัว แทนพ่อค้าปลีก พ่อค้าส่ง ให้สามารถดาเนินงานขายสินค้าของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพโ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ จั ด ก า ร แ ล ะ ใ ห้ ค า แ น ะ น า ป รึ ก ษ า ด้ า น ก า ร โ ฆ ษ ณ า ก า รประชาสมั พันธ์ การฝกึ อบรมพนกั งาน การช่วยจดั ตกแตง่ ร้านค้า

1. นางสาวเกล็ดมณี แสนสบาย เลขที่ 52. นางสาวจริ าพชั ร สว่างเมฆ เลขท่ี 63. นางสาวชนิกานต์ สนธิโพธ์ิ เลขท่ี 74. นางสาวชนิสรา เขาทอง เลขที่ 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook