Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Published by 6032040007, 2018-08-28 05:03:12

Description: หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

1. ความรูเ้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั เครอื ขา่ ย2. ความหมายของเครอื ขา่ ยและการสอ่ื สาร3. สว่ นประกอบของระบบสอื่ สารขอ้ มูล4. การใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สารขอ้ มูล5. ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์6. การสอ่ื สารโทรคมนาคม7. ความน่าเชอ่ื และมาตรฐานเครอื ขา่ ย

1. ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกับเครือขา่ ย การรับส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ข่าวสาร (Information) จากผู้ส่งไปยังผู้รับข้อมูล โดย การส่ือสารผ่านส่ือซึ่งเป็นตัวกลางในการรับและส่งข้อมูล วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร คือ ผู้ส่งต้องการให้ผู้รับสาร เข้าใจถึงความหมายของข้อมูลข่าวสารท่ีส่งไป ซึ่งจะ ประกอบด้วยองค์ประกอบของการส่ือสาร 5 ประการ คือ ผู้สง่ ขอ้ มูล ผรู้ บั ข้อมลู ขอ้ มูล ส่ือนาข้อมูล และโพรโทคอล

2. ความหมายของเครอื ข่ายและการสอ่ื สาร การสอื่ สารขอ้ มูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่าย โอนหรอื แลกเปลี่ยนขอ้ มลู กนั ระหว่างผสู้ ง่ และผูร้ ับ โดยผา่ นช่องทางส่ือสาร เชน่ อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือคอมพิวเตอร์เปน็ ตวั กลางในการส่งข้อมลู เพ่ือให้ผู้ส่งและผู้รบั เกดิ ความเข้าใจซง่ึ กนั และกนั

3. สว่ นประกอบของระบบสื่อสารข้อมลู 1. ผสู้ ่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสอื่ สารขอ้ มลู มีหน้าทีเ่ ตรยี มสรา้ งขอ้ มูล เชน่ ผพู้ ดู โทรทศั น์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2. ผรู้ ับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลท่ีส่งมาให้ เช่นผู้ฟัง เคร่อื งรับโทรทศั น์ เครื่องพิมพ์ เปน็ ตน้ 3. ส่ือกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพ่อื นาขอ้ มูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ส่ือส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุภาคพ้นื ดนิ หรือคลน่ื วทิ ยุผ่านดาวเทยี ม

4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบส่อื สาร ซึ่งอาจถกู เรยี กวา่ สารสนเทศ (Information) 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพ่ือให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยท้ังสองฝั่งท้ังผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ท่ีมีหน้าท่ีทาให้การดาเนินงาน ในการส่ือสารข้อมูล เป็นไปตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้ตัวอย่างเชน่ X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เปน็ ต้น

4. การใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารขอ้ มลู การส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบัน ได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธิภาพของการดาเนินงาน ซ้งึ การประยุกต์เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมดี ังน้ี ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Mail : E-mail) การใชอ้ ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ โทรศพั ทม์ ือถอื คอมพวิ เตอร์ และพีดีเอ สง่ ขอ้ ความอิเล็กทรอนกิ ส์ไปยงั บุคคลอืน่

โทรสาร (Facsimile หรอื Fax) เป็นการส่งขอ้ มลู ซงึ่ อาจเปน็ ขอ้ ความท่ีเขยี นข้นึ ด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครอ่ื งคอมพิวเตอร์และอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ่นื ๆ วอยซเ์ มล (Voice Mail) เปน็ การสง่ ขอ้ ความเปน็ เสยี งพูดให้กลายเป็นขอ้ ความอเิ ล็กทรอนกิ ส์ผา่ นระบบ ครอื ขา่ ยการส่อื สารขอ้ ความจะถกู บันทึกไว้ในอปุ กรณ์บันทกึ เสยี งท่เี รยี กวา่ ว อยซเ์ มลบ์ ็อกซ์ การประชมุ ทางไกลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Video Conferencing) เปน็ การส่ือสารขอ้ มูลโดยการสง่ ภาพและเสียงจากฝา่ ยหน่งึ ไปยังอีกฝ่ายหน่งึ ในการใช้ VideoConferencing จะตอ้ งมีอปุ กรณ์สาหรับการบนั ทกึ ภาพและอุปกรณ์บนั ทึกเสยี ง

กรุป๊ แวร์ (groupware) เป็นโปรแกรมประยุกต์ทชี่ ่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบคุ คลใหส้ ามารถทางาน ร่วมกนั การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผา่ นระบบเครอื ข่าย การโอนเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์(Electronic Fund Transfer : EFT) ปจั จุบันผ้ใู ช้สามารถชาระคา่ สินคา้ และบริการโดยการโอนเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การแลกเปล่ียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI)เปน็ ระบบแลกเปลี่ยนข้อมลู เชิงทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สร์ ะหว่างองคก์ าร การระบลุ กั ษณะของวัตถุดว้ ยคลืน่ ความถวี่ ิทยุ(RFID) เป็นระบบระบลุ ักษณะของวัตถุดว้ ยคลืน่ ความถี่วทิ ยุ ปจั จบุ นั มีการนา RFID ไปประยุกต์ใชง้ านหลากหลายประเภท

5. ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ย 1. สามารถแชร์ข้อมูลใช้ร่วมกันได้ ข้อมูลต่างๆในแต่ละเครื่องภายในระบบหากมผี อู้ น่ื ตอ้ งการใช้ คุณสามารถแชร์ให้ผู้อ่ืนนาไปใช้ได้ 2. สามารถแชร์อปุ กรณ์ต่างๆร่วมกันได้ เช่น เคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ ซิปไดรฟ์ เปน็ ต้น โดยท่ีไมจ่ าเป็นต้องซ้ืออุปกรณเ์ หล่าน้นั มาติดตั้งกบั ทกุ ๆเครอ่ื ง 3. สามารถใช้โปรแกรมร่วมกันหลายๆเคร่ืองได้ เช่น ในห้อง LABคอมพิวเตอร์ท่ีมีจานวน คอมพิวเตอร์ท่ีมีจานวนเคร่ืองในระบบจานวน 30 เคร่ืองคณุ สามารถซอื้ โปรแกรมเพียงแค่ 1 ชุด

4. การสอื่ สารในระบบเครือขา่ ยผใู้ ชส้ ามารถเชื่อมกับเครอ่ื งอื่นๆในระบบได้ เช่น อาจจะสง่ข้อความจากเครื่องของคุณไปยังเครอื่ งของคนอนื่ ๆได้ 5. การแชร์อนิ เทอร์เนต็ ภายในระบบเครือข่ายคณุ สามารถแชรอ์ ินเตอร์เนต็ เพอื่ ใช้รว่ มกนั ได้ 6. เพอ่ื การเรียนรู้ การท่คี ุณได้ทดลองใช้งานระบบเครือข่ายจะทาให้คณุ สามารถเรียนรูแ้ ละคนุ้ เคยกับระบบเครอื ข่ายมากขึ้น

6. การสื่อสารโทรคมนาคม ก า ร สื่ อ ส า ร โ ท ร ค ม น า ค ม (Telecommunication) หมายถึง การติดต่อส่ือสาร ด้วยการรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านสื่อกลางท่ีเช่ือมต้นทางและปลายทางที่ห่างกัน โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบ ตาม กฎเกณฑ์ หรือระเบียบวิธีการท่ีกาหนดขึ้นในแต่ละ อุปกรณ์

7. ความนา่ เช่ือและมาตรฐานเครือขา่ ยความนา่ เชอื่ ถือของระบบเครือข่าย สามารถประเมินไดจ้ าก เครือขา่ ยทกุ ระบบมีโอกาสลม่ ไดเ้ สมอ อย่างไรก็ตามเครอื ขา่ ยท่ีไดร้ ับการออกแบบท่ดี ี หากเครือขา่ ยเกิดข้อขดั ขอ้ งหรอื ล้มเหลวดว้ ยประการใดกต็ ามควรสง่ ผลกระทบต่อผู้ใช้งานให้นอ้ ยท่สี ุด ในการล้มเหลวอยบู่ ่อยครงั้ น่ันหมายถงึ เครือขา่ ยน่ันมคี วามน่าเชื่อถือต่า ระยะเวลาในการกูค้ นื ระบบ กรณีเครอื ข่ายลม่ หรือเกดิ ขอ้ ขัดข้องใด ๆหากการกู้คนื ระบบสามารถแก้ไขได้ด้วยระยะเวลาอันส้ัน

ความคงทนตอ่ ขอ้ ผิดพลาด เครือข่ายท่ดี ีจะต้องมีระบบป้องกนั ภัยต่าง ๆ ที่อาจเกดิ ขึ้นจากเหตกุ ารณ์ใด ๆ ทไี่ มค่ าดคดิ ไดเ้ สมอไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟา้ รวมถึงภัยธรรมชาตขิ ัดขอ้ งใด ๆ หากการก้คู ืนระบบสามารถแก้ไขได้ดว้ ยระยะเวลาอันสั้น

ผู้จดั ทำนำงสำวชนกิ ำนต์ สนธโิ พธิ์ ปวส.2 ค.1