Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6 อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายประเภ

หน่วยที่ 6 อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายประเภ

Published by 6032040007, 2018-09-05 00:30:50

Description: หน่วยที่ 6 อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายประเภ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 6อปุ กรณส์ ำหรบั เช่ือมต่อเครือข่ำยประเภท LAN

1. สาย LAN2. การด์ ทใี่ ช้ในการเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ย3. อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการเชื่อมโยง4. เครื่องคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ในระบบเครือข่าย5. ซอฟต์แวรเ์ ครือข่าย6. โปรโตคอล7. โมเด็ม

1. สาย LAN สายแลน (Lan Cable)เป็นสายนา สัญญาณท่ีใช้ตอ่ กบั คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เชื่อมต่อเครือขา่ ยอยา่ ง Switch หรือ Hub และสายแลนกใ็ ชต้ อ่ กับ โมเดม็ เราเตอร์เพ่ือ เชอื่ มตอ่ สญั ญาณอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วย การ ส่งขอ้ มลู ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์กบั คอมพิวเตอรโ์ ดยตรงก็สามารถทจี่ ะใช้สาย แลนในการเชอื่ มตอ่ ไดเ้ ช่นกัน

สายแลนแบง่ เปน็ 4 ประเภทสายแลนแบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลายประเภทขนึ้ อยู่กบั ลกั ษณะของสายแลน 1.แบง่ ตามการใช้ภายนอกและภายในอาคาร โดยทส่ี ายภายนอกอาคารจะมปี ลอกห้มุ ท่ีแขง็ กว่าและหนากวา่ สายภายในเพอื่ ใหท้ นต่อสภาพอากาศภายนอกอาคาร 2.แบง่ ตามลักษณะการหมุ้ ฉนวน มีตั้งแตฉ่ นวนอย่างเดียวไม่มีฟอยล์มีฟอยลน์ อก และมฟี อยล์หุ้มทั้งหมด

3. แบง่ ตามคณุ ภาพความถ่ีทรี่ องรบั ได้ – ประเภทท่หี นง่ึ คอื UTP UTP CAT5 คอื สายแลน ท่เี ปน็ สายทองแดงท่มี ีความเรว็ ทต่ี า่ ความเรว็ สงู สุดอยทู่ ี่ 100 Mbps สายชนิดนี้ไม่เปน็ ที่นยิ มใช้งานกนั ซักเทา่ ไรเนื่องดว้ ยความเร็วในการถา่ ยโอนขอ้ มูลทตี่ า่ – ประเภททีส่ อง UTP CAT5e คือ สายแลนท่ีเป็นสายทองแดงท่มี คี วามเรว็ ท่ีตา่ ความเร็วสงู สดุ อยูท่ ี่ 1 Gpbs – ประเภททส่ี าม UTP CAT6 คือ สายแลนทเี่ ปน็ สายทองแดงทม่ี ีความเร็วท่ีตา่ความเรว็ สูงสุดอยู่ท่ี 10 Gpbs BANWIDTH อยทู่ ี่ 250MHz – ประเภทที่ส่ี UTP CAT7 คือ สายแลนทเี่ ปน็ สายทองแดงทีม่ ีความเร็วท่ตี า่ความเร็วสูงสดุ อยทู่ ี่ 10 Gpbs BANWIDTH อยู่ท่ี 600MHz

4. แบ่งตามการเข้าหัว ของสายแลนตามลกั ษณะการใช้งานสายแลน เปน็ สายนาสญั ญาณที่เราควรเลือกให้เหมาะกับอุปกรณ์ท่ีเชอ่ื มต่อและการเข้าหัวของสายแลนก็มีสว่ นสาคญั อีกสว่ นหน่ึงทจ่ี ะทาใหก้ ารเชือ่ มตอ่ มีความเสถียรภาพและการสง่ ข้อมลู ท่ีล่ืนไหลมากยิง่ ขน้ึ ท้ังนที้ ั้งนัน้ การเลือกใช้งานสายแลนเรากค็ วรเลอื กตามลักษณะงานทเ่ี ราจะใชง้ านดว้ ยเชน่ กัน

2. การ์ดที่ใชใ้ นการ การ์ดเชือ่ มต่อเครอื ข่าย หรอื เรียกวา่เชื่อมตอ่ เครือข่าย การด์ LAN เปน็ การ์ดสาหรบั ต่อเครื่องพซี ี เขา้ กับสายเคเบิล ดังนั้นจึงต้องมีพอรต์ สาหรบั เสียบสายแบบใดแบบหนึง่ ทจี่ ะใช้ หรอื อาจมี พอร์ตสาหรับสายหลายแบบก็ได้ เช่น มีพอรต์ สาหรบั สายโคแอกเชียล และสาหรบั สายคู่ตี เกลยี ว แต่สาหรับการ์ดรนุ่ ใหม่ๆ มักจะเหลือแต่ พอรต์ สาหรับสายคู่ตเี กลียวเพราะปัจจบุ นั กาลงั เป็นท่ีนยิ ม นอกจากน้ยี ังมีการด์ ทีท่ ามาสาหรบั ใช้ต่อกับสายใยแก้วนาแสงซงึ มกั จะมีราคาแพง และใชเ้ ฉพาะบางงาน

การด์ LAN จะมสี ลอ็ ตที่ใช้อยู่ 2 ชนิดคือ ISA 8 และ 16 บติ การ์ดแบบนีจ้ ะสามารถรบั ส่งขอ้ มูลกับเครื่องพีซไี ดท้ ลี ะ 8หรือ 16 บิตท่ีความถี่ประมาณ 8 MHz เท่านั้น โดยผ่านบัสและสล็อตแบบ ISAตัวอย่างเช่น การ์ด NE1000 และ NE2000 ที่ผลิตตามแบบของบริษัท Novellเป็นต้น

3. อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ แบง่ เปน็ 8 ประเภทในการเชอื่ มโยง 1. การ์ดเครือขา่ ย (Network Interface Card) หรือการ์ดแลน หรือ อเี ทอรเ์ น็ตการ์ด ทาหนา้ ทใี่ นการเชอ่ื มต่อ คอมพวิ เตอรท์ ี่ใช้งานอยู่เข้ากับระบบ เครือข่ายได้ เชน่ ในระบบแลนเคร่ือง คอมพิวเตอรท์ ุกเครอื่ งในเครอื ขา่ ยจะต้อง มีการ์ดเครือข่ายทเี่ ชอื่ มโยงด้วยสาย เคเบลิ จงึ สามารถทาให้เครอ่ื งติดต่อ เครอื ขา่ ยได้

2. ฮบั (Hub) คือ อปุ กรณ์ที่รวมสัญญาณท่ีมาจากอปุ กรณร์ ับสง่ หลาย ๆสถานีเขา้ ด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเปน็บัสทร่ี วมอยทู่ ่จี ุดเดยี วกนั ฮับทใี่ ช้งานอยู่ภายใตม้ าตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรอื IEEE802.3 ขอ้ มลู ที่รับ-ส่งผา่ นฮบั จากเครือ่ งหนึง่ กระจายไปยงั ทกุ สถานี ท่ตี ิดตอ่ อยบู่ นฮับน้ัน

3. สวติ ช์ (Switch) คอื อปุ กรณร์ วมสัญญาณท่ีมาจากอุปกรณร์ บั -ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮบั แตม่ ขี อ้ แตกต่างจากฮับ คือ การฮบั -ส่งข้อมลู จากสถานีหรืออุปกรณต์ ัวหน่งึ จะไมก่ ระจายไปยังทุกสถานีเหมอื นฮบั ทง้ั นีเ้ พราะสวติ ชจ์ ะรับกลุม่ ขอ้ มูลหรือแพก็ เกจมาตรวจสอบกอ่ น แล้วดูวา่ แอดเดรสของสถานีหลาย ทางไปท่ใี ด

4. บริดจ์ (Bridge) คือ อปุ กรณ์ท่ี เหมาะสมกบั เครือข่ายหลาย ๆ กลมุ่ ท่ี เช่ือมต่อกนั เน่อื งจากสามารถแบง่เครอื ข่ายที่เชือ่ มตอ่ กนั หลาย ๆ เซก็ เมนต์แยกออกจากกันได้ ทาให้ข้อมลู ในแตล่ ะ เซก็ เมนต์ไม่ต้องว่ิงไปทัว่ ทงั้ เครอื ข่าย

5. รีพีตเตอร์ (Repeater) คอื อปุ กรณ์ทวนสญั ญาณเพอ่ื ให้สามารถสง่ ข้อมูลถงึ กนั ได้ระยะไกลข้นึ คือ รพี ีตเตอร์จะปรับรปู แบบเดิมเพือ่ ไดส้ ญั ญาณสามารถสง่ ต่อไปได้อกี เช่น การเชอ่ื มตอ่ เครอื ขา่ ยแลนหลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซงึ่ ความยาวของ แต่ละเซก็ เมนต์นนั้ จะมรี ะยะทางท่ีจากัด ดังนน้ั อุปกรณอ์ ยา่ งรีพตี เตอร์ จะช่วยแก้ไขปญั หาเหลา่ นไ้ี ด้

6. โมเด็ม (Modem) คือ อปุ กรณท์ ี่ ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใ์ ห้สามารถเช่อื มคอมพวิ เตอรท์ อ่ี ยู่ระยะไกลเขา้ หากนั ไดด้ ว้ ยการผ่านสายโทรศพั ท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าท่ีแปลงสัญญาณ ซ่งึ แบง่ออกเป็นทั้งภาคส่งและภาครับ โดยภาคส่ง จะทาการแปลงสญั ญาณคอมพวิ เตอร์ให้ เป็นสญั ญาณโทรศพั ท์ (Digital to Analog) ในขณะทภี่ าครบั นั้นจะทาการ แปลงสัญญาณโทรศพั ทก์ ลบั มาเป็น สัญญาณคอมพวิ เตอร์ (Analog to Digital)

7. เราเตอร์ (Router) ในการเชื่อมโยงเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรจ์ ะตอ้ งมี การเช่ือมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณห์ ลายอย่างเขา้ ดว้ ยกนั ดังนัน้ จงึมีเสน้ ทางเขา้ - ออกของขอ้ มลู ไดห้ ลาย เส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยเี ครือข่ายทต่ี า่ งกัน อปุ กรณจ์ ัด เสน้ ทางจะทาหนา้ ทห่ี าเส้นทางท่ี เหมาะสมเพือ่ ใหก้ ารสง่ ข้อมูลเปนไปอ ยา่ งมปี ระพสทิ ธิภาพ

8. เกตเวย์ (Gateway) คือ อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสท์ ชี่ ่วยในการส่อื สารขอ้ มูล หนา้ ทีห่ ลักของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 2 เครอื ข่าย หรือ มากกวา่ ท่ีมลี กั ษณะไมเ่ หมอื นกนั คอืลักษณะของการเช่ือต่อ (Connectivity) ของเครือขา่ ยที่แตกต่างกัยน และมี โพรโตคอลสาหรับการสง่ - รบั ขอ้ มูล ต่างกนั เชน่ LAN เครือหน่งึ เป็นแบบ Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะซิงโครนัส ส่วน LAN อกี เครือขา่ ยหน่ึงเป็น แบบ Token Ring

4. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ จุดประสงค์ของการประดษิ ฐ์ท่ีใชใ้ นระบบเครอื ข่าย คอมพิวเตอร์ใชใ้ นสมยั แรก ๆ น้นั เพอื่ ให้ คอมพวิ เตอรไ์ ดท้ างานบางอย่างแทนมนุษย์ ได้ เช่น การคานวณเลข ซ่งึ ถา้ เปน็ ตัวเลข จานวนมาก ๆ มนษุ ยจ์ ะใชเ้ วลาในการ คานวณมากและมีโอกาสเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดได้ มาก ในขณะทีค่ อมพิวเตอร์สามารถคานวณ ไดเ้ ร็วกวา่ มาก อกี ท้ังยงั มคี วามแมน่ ยาและมี ความผดิ พลาดน้อยกว่ามนุษยม์ าก การ ทางานจะใหม้ ีประสิทธภิ าพสงู จะ ตอ้ งทาเป็น หมู่คณะ หรอื ทีมเวริ ค์ (Teamwork)

ฉะนน้ั คอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดที่ไมไ่ ดเ้ ชือ่ มตอ่ เขา้ กับเครอ่ื งอืน่ ก็เปรียบเสมือนคนท่ีชอบความสนั โดษ ในการเชื่อมต่อกนั เปน็ เครือข่ายน้นั เป็นสาเหตุทเ่ี นอ่ื งมาจากการทีผ่ ้ใู ชต้ ้องการทางานเป็นกลุ่มหรือทีม ซง่ึ การทางานแบบน้ีย่อมมีประสทิ ธภิ าพมากกว่าการทางานแบบเดยี่ ว ๆ หลงั จากที่คอมพวิ เตอร์ได้คดิ ค้นข้ึนมาแล้วน้ัน กย็ ังได้มกี ารพฒั นามาอย่างต่อเนอื่ งและรวดเร็วจน ในปัจจบุ นั เป็นท่ยี อมรบั มากวา่ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรเ์ ป็นอุตสาหกรรมท่มี กี ารพัฒนารวดเร็วอยา่ งรวดเร็วมากท่สี ุดอุตสาหกรรมหนึ่ง ปัจจบุ นั นกี้ ็เป็นยุคขอ้ มูลขา่ วสารโดยการใชเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ป็น เทคโนโลยที ่ีรองรบั คอมพิวเตอรใ์ นสมยั แรก ๆ เท่านนั้

เครอื ข่ายคอมพิวเตอรค์ ืออะไร เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) คอื ระบบที่มีคอมพิวเตอรอ์ ยา่ งน้อย สองเครื่องเชื่อมตอ่ กันโดยใช้ส่ือกลาง และก็ ส่ือสารข้อมลู กนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซง่ึ ทา ใหผ้ ้ใู ชค้ อมพวิ เตอร์แตล่ ะเครื่องสามารถ แลกเปลี่ยนขอ้ มูลซึ่งกนั และกันได้ นอกจากน้ยี ัง สามารถใชท้ รพั ยากร(Resources) ทมี่ ีอยูใ่ น เครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เครือ่ งพิมพ์ ซดี ีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของเครอื ข่าย

เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรค์ ืออะไร เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) คอื ระบบที่มีคอมพิวเตอรอ์ ย่างน้อยสองเครอ่ื งเชอื่ มต่อกันโดยใช้สือ่ กลาง และก็ส่ือสารข้อมูลกันได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาใหผ้ ใู้ ชค้ อมพวิ เตอร์แตล่ ะเครอื่ งสามารถแลกเปลย่ี นขอ้ มูลซึง่ กันและกนั ได้ นอกจากนยี้ ังสามารถใช้ทรัพยากร(Resources) ทมี่ ีอยู่ในเครือข่ายรว่ มกันได้ เชน่ เคร่ืองพมิ พ์ ซดี ีรอมสแกนเนอร์ ฮารด์ ดิสก์ เป็นตน้องค์ประกอบพนื้ ฐานของเครอื ข่าย

5. ซอฟแวรเ์ ครอื ขา่ ย ซอฟแวรเ์ ครือขา่ ยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื 1.ซอฟตแ์ วร์ระบบ คือ ชดุ คาสง่ั ทที่ า หน้าท่คี วบคุมการทางานของ ส่วนประกอบต่าง ๆ รวมถงึ อปุ กรณท์ ี่ เชือ่ มตอ่ กับคอมพิวเตอร์ ดังน้ี

1.ระบบปฏบิ ตั ิการไมโครซอฟตด์ อสและเอ็มเอสดอส ทาหน้าท่ีดแู ลการทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ตา่ ง ๆ ควบคุมหน่วยความจาเคร่อื งพมิ พ์หรอือปุ กรณต์ อ่ พ่วงกับคอมพิวเตอร์ 2.ระบบปฏิบัตกิ ารไมโครซอฟตว์ นิ โดวส์ 3.ระบบปฏบิ ตั ิการบนระบบเครอื ขา่ ย 4.ระบบปฏิบตั กิ ารแบบเปดิ

2. ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ ไดร้ ับการ ออกแบบมาให้มคี วามสามารถเฉพาะด้าน ข้นึ อยุ่กบั การพัฒนาของบริษัทหรือ ผู้เขียนโปรแกรม

6. โปรโตคอล โปรโตคอล คือ ข้อกาหนดหรอื ข้อตกลงในการส่อื สารระหวา่ ง คอมพิวเตอร์ หรือภาษาส่อื สารทใ่ี ชเ้ ป็น ภาษากลางในการสือ่ สารระหว่าง คอมพิวเตอร์ดว้ ยกัน การที่เครือ่ ง คอมพิวเตอรท์ ี่ถูกเชื่อมโยงกนั ไว้ในระบบ จะสามารถติดต่อสอ่ื สารกันได้นัน้ จาเป็น จะตอ้ งมกี ารส่อื สารทเ่ี รยี กวา่ โปรโตคอล (Protocol) เชน่ เดียวกับคนเราที่ต้องมี ภาษาพดู เพือ่ ใหส้ ื่อสารเขา้ ใจกนั ได้

โปรโตคอลชว่ ยใหร้ ะบบคอมพิวเตอรส์ องระบบ ท่แี ตกตา่ งกันสามารถสอื่ สารกันอย่างเขา้ ใจได้ คอื ขอ้ ตกลงท่กี าหนดเก่ยี ว กับการสื่อสารระหว่างเคร่อื งคอมพิวเตอรต์ า่ งๆ ทง้ั วธิ กี ารสง่ และรับข้อมูล วิธกี ารตรวจสอบข้อผดิ พลาดของการสง่ และรับขอ้ มลู การแสดงผลขอ้ มลู เม่อื สง่ และรับกันระหวา่ งเคร่ืองสองเครื่องดงั นั้นจะเหน็ ไดว้ า่ โปรโตคอลมีความสาคญั มากในการสอ่ื สารบนเครือขา่ ย หากไม่มโี ปรโตคอลแลว้ การส่ือสารบนเครือข่ายจะไมส่ ามารถเกิดขึน้ ได้

7. โมเดม็ โมเดม็ (อังกฤษ: modem ย่อมา จากคาวา่ modulate and demodulate) เป็นอปุ กรณ์ทที่ าหน้าท่ี กล้าสัญญาณ หรือปรบั เปลี่ยนลกั ษณะ สมบัตอิ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายๆ อย่างของรูปสญั ญาณคลื่นพาห์ (สญั ญาณที่เปน็ ตัวขนส่งความถส่ี งู )ดว้ ย สัญญาณข้อมลู ที่จะถูกสง่ ผา่ น เช่น กระแสบติ ดิจติ อล(อังกฤษ: digital bit stream)หรือสญั ญาณเสยี งอนาล็อก

การกล้าสัญญาณรปู คล่นื ไซนจ์ ะแปลงสญั ญาณขอ้ ความ basebandเปน็ สัญญาณ passband และแปลงกลบั ในทิศทางตรงขา้ ม จุดประสงคข์ องโมเด็มคอื การสรา้ งสญั ญาณทงี่ ่ายตอ่ การสง่ ขอ้ มูล และง่ายตอ่ การประมวลผล อปุ กรณ์หลายชนิดสามารถถือวา่ เป็นโมเดม็ ได้ แต่โมเด็มประเภทที่แพร่หลายท่ีสดุ คือโมเดม็ ทแี่ ปลงสัญญาณแอนะล็อกใหเ้ ปน็ สัญญาณดจิ ทิ ัลและสญั ญาณดจิ ิทลั ให้เปน็ สัญญาณแอนะล็อก ซ่งึ ใช้ในการสอ่ื สารโทรคมนาคมหรอืเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

ผจู้ ัดทำชนกิ ำนต์ สนธิโพธิ์ ปวส.2 คอม.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook