Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

A

Published by thanakit ritsri, 2020-03-04 20:23:01

Description: คำนำ

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสารคู่มือเล่มน้ีเป็นการรวบรวมความรู้จาก เอกสาร ตำรา โดยนำมาประมวลเป็นคู่มือการใช้งานเครื่องมือ และวิธีการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย สำหรับให้ผู้ที่สนใจได้ ศึกษาแนวทาง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และ ประสทิ ธิผลยงิ่ ข้นึ โดยแสดงหลักการวัดพฤติกรรมด้านเจตพิสัย ธรรมชาติของการวัดพฤติกรรมด้านเจตพิสัย และวิธีการวัด พฤติกรรมด้านเจตพิสัย ที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของ กระบวนการ ระบุถงึ ข้นั ตอน และรายละเอียดของกระบวนการ คณะผู้จัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารค่มู ือการใช้งาน เครื่องมือและวิธีการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยน้ี จะเป็น ประโยชน์และเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นตอ่ ไป ขอขอบพระคุณท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัฐพล อินต๊ะเสนา ท่ีได้ให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการจัดทำคู่มือ จนประสบผลสำเรจ็ คณะผู้จดั ทำ กคมู่ อื การใชง้ านเคร่ืองมอื และวธิ ีการวัดพฤตกิ รรมด้านจิตพสิ ัย

สารบัญ ก ข 11 คำนำ สารบัญ จติ พสิ ัย ธรรมชาติ คอื อะไร การวดั 2 2 จิตพิสัย หลักการวัด พฤตกิ รรม พฤติกรรม ด้านจิตพสิ ยั 33 ดา้ นจติ พสิ ัย ของวิชาภาษาไทย การกำหนด วิธีการ 4 11 เคร่ืองมอื วดั และเคร่ืองมอื พฤตกิ รรมจติ วดั พฤตกิ รรม แบบสอบถาม แบบสังเกต พสิ ยั กบั ทักษะ ด้านจติ พสิ ัย ภาษาไทย 14 แบบสมั ภาษณ์ ขคมู่ ือการใช้งานเคร่ืองมอื และวิธกี ารวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพิสัย

เครอ่ื งมือวัดพฤตกิ รรมด้านจิตพิสัย จิตพิสัย คืออะไร ? จิตพิสัย เปน็ พฤติกรรมทางด้านจติ ใจ เก่ียวกับคา่ นิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ และคุณธรรม พฤติกรรมด้านจิตพิสัย ประกอบด้วย 5 ระดับ พฤติกรรม ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างคุณค่า การจดั ระบบคณุ ค่า และการสร้างลกั ษณะนิสัย “พฤติกรรมในด้านนอ้ี าจไมเ่ กดิ ขึน้ ทันที การจัดกจิ กรรม การเรียนการสอนจึงตอ้ งสอดแทรกสิ่งที่ดีงาม อยตู่ ลอดเวลาจะทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางทดี่ ีได”้ (ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา, 2562: 23) ธรรมชาติการวัดจิตพสิ ัย 1. เป็นนามธรรม 2. เปน็ การวดั ทางอ้อม 3. การวดั ความคลาดเคล่อื นในการวัดเกิดขน้ึ ไดง้ า่ ย 4. อาจมกี ารเสแสรง้ และบิดเบอื นคำตอบของผ้ถู ูกวดั 5. การตอบของผู้ถกู วดั มลี กั ษณะเปน็ ไปตามท่สี งั คมม่งุ หวงั 1คมู่ ือการใชง้ านเครือ่ งมอื และวธิ กี ารวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย

หลกั การวัดพฤตกิ รรมดา้ นจติ พิสยั 1. วัดใหค้ รอบคลมุ พฤตกิ รรมหรอื คณุ ลกั ษณะท่ตี ้องการวัด 2. วดั หลาย ๆ ครั้ง และใช้เทคนิคการวัดหลายวิธี 3. วดั ผลอยา่ งต่อเนอื่ ง 4. ต้องอาศัยความรว่ มมอื จากผ้ทู ี่ถูกวัดเปน็ อยา่ งดี 5. ใชผ้ ลการวดั ใหถ้ กู ต้อง พฤติกรรมดา้ นจติ พิสัยของวชิ าภาษาไทย อัฐพล อินต๊ะเสนา (2561 : 179-180) ได้สรุปว่า พฤติกรรมด้านจิตพิสัย ได้ระบุไว้แล้วในแต่ละรายวิชา โดยระบุ ไว้ในจุดประสงค์ของรายวชิ าและในคำอธบิ ายรายวชิ าไว้ชัดเจน สามารถนำมาเขยี นเป็นจุดประสงคด์ า้ นจิตพสิ ยั ได้ เชน่ - มคี วามคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ มนี สิ ัยรกั การอา่ น การเขยี น - เห็นความสำคัญของภาษาไทยในฐานะเครื่องมือ สอ่ื สารของชาติ - เห็นคุณค่าและความงามของภาษา เห็นคุณค่า ของวรรณคดใี นฐานะมรดกทางวฒั นธรรม 2คมู่ ือการใช้งานเคร่ืองมอื และวิธีการวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพสิ ยั

การกำหนดเคร่ืองมอื วัดพฤตกิ รรมจิตพสิ ยั กบั ทกั ษะภาษาไทย การกำหนดเครอ่ื งมือวัดดา้ นจติ พิสยั วดั ได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1. วัดในขณะปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้การสังเกตพฤติกรรม และจดบันทกึ รายการพฤติกรรมท่เี ก่ียวขอ้ ง 2. วัดโดยแบบสอบถามและการสำรวจการใช้แบบสอบถาม โดยให้ผู้ตอบคำถามตามข้อรายการที่กำหนดที่เกี่ยวกับเจตคติ ท่ีเกยี่ วข้อง วธิ กี ารและเคร่อื งมือวดั พฤตกิ รรมด้านจติ พิสัย วธิ ีการวัดและเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวดั พฤตกิ รรมดา้ นจติ พิสัย มหี ลายวธิ ี ข้ึนอยู่กับผู้วัดและพฤตกิ รรมที่ตอ้ งการวดั เชน่ การสอบถาม การสงั เกต การสมั ภาษณ์ เป็นต้น 3คมู่ ือการใชง้ านเครอ่ื งมอื และวธิ ีการวดั พฤติกรรมด้านจิตพสิ ัย

แบบสอบถาม (Questionnaire) การสอบถาม เปน็ การใหผ้ ูต้ อบรายงานตนเองตามข้อคำถาม ที่เตรียมไว้สำหรับการสอบถามเรื่องราวที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิดเหน็ ความเชื่อ และความสนใจ ดว้ ยเครือ่ งมือทเี่ รยี กว่า “แบบสอบถาม” แบบสอบถาม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. แบบสอบถามปลายเปดิ 2. แบบสอบถามปลายปิด แบบสอบถามปลายเปิด เป็นแบบสอบถามที่ไม่ได้กำหนด คำตอบไว้ ผ้ตู อบสามารถตอบได้โดยอิสระ คำชี้แจง กรณุ าตอบตามความรสู้ ึกทแ่ี ท้จริงของท่าน 1. เหตุใดท่านจงึ เลือกเรียนสาขาวิชาภาษาไทยทมี่ หาวิทยาลัยมหาสารคาม .......................................................................................... .......................................................................................... แบบสอบถามปลายปิด เป็นแบบสอบถามที่ให้เลือกตอบ หรือให้เติมสนั้ หรือใหผ้ ตู้ อบเรียงลำดับความสำคญั ตามความคิดเห็น แบบสอบถามปลายปดิ สามารถแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ยอ่ ย ดงั นี้ 4คมู่ ือการใชง้ านเครือ่ งมอื และวธิ กี ารวดั พฤติกรรมด้านจิตพสิ ยั

1. แบบเตมิ คำในช่องว่าง (Short Answer) คำชี้แจง: ให้นกั เรียนทำเคร่ืองหมาย / ลงใน □ และเติมข้อความ ลงในชอ่ งว่างตามความเปน็ จริง นกั เรียนชอบเรยี นภาไทยหรือไม่เพราะเหตใุ ด □ ชอบ เพราะ.................................................................... □ ไมช่ อบ เพราะ ................................................................ 2. แบบจัดลำดับความสำคัญ (ranking) คำชี้แจง: ให้นักเรยี นใส่หมายเลขลงใน □ โดยเรียงลำดับตาม ความรู้สึกทเ่ี ป็นจริงจากมากไปหาน้อย ท่านคิดว่าผคู้ วรมลี ักษระอย่างไร □ ควบคุมตนเองได้ □ มีความคิดริเร่มิ □ กลา้ ตัดสนิ ใจ □ มคี วามสามารถในการโนม้ น้าวใจ □ มีสตใิ นการทำงาน □ พูดเกง่ 5คมู่ อื การใช้งานเคร่ืองมอื และวิธีการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย

3. แบบตรวจสอบรายการ (checklist) พฤติกรรม ใช่ ไม่ใช่ 1. ฉนั รู้สกึ พอใจเมือ่ ได้เรยี นวชิ าภาษาไทย 2. ฉนั อยากเรียนภาษาไทยทกุ วัน 3. ฉันมีความภาคภมู ใิ จท่ีไดเ้ รียนภาษาไทย 4. แบบมาตรประมาณคา่ (rating scale) มาตรประมาณค่ามีหลายแบบ เช่น แบบบรรยาย แบบตัวเลข มาตรวัดของลิเคิร์ท แบบประมาณค่าของออสกูด เปน็ ต้น มาตรประมาณคา่ แบบบรรยาย พฤตกิ รรม มาก ปาน น้อย 1. ฉันรู้สกึ พอใจเม่อื ได้เรียนวิชา กลาง ภาษาไทย 2. ฉนั อยากเรียนภาษาไทยทกุ วัน 3. ฉนั มีความภาคภูมิใจท่ไี ดเ้ รียน ภาษาไทย มาตรวดั แบบตวั เลข พฤติกรรม 321 1. ฉันรูส้ ึกพอใจเมอ่ื ได้เรียนวิชาภาษาไทย 2. ฉันอยากเรยี นภาษาไทยทกุ วัน 3. ฉนั มีความภาคภมู ิใจท่ีไดเ้ รียนภาษาไทย 6คมู่ อื การใช้งานเครือ่ งมือและวิธกี ารวดั พฤติกรรมดา้ นจิตพสิ ยั

มาตรวดั เธอร์สโตน เทอร์สโตนพัฒนาเครื่องมือวัดเจตคติขึ้นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1929 ซึ่งมีลักษณะพิเศษตรงที่ไม่แสดงมาตราตัวเลข ติดเอาไว้ให้ผู้ตอบเห็น คือจะมีแต่ข้อความแสดงความรู้สึกทางบวก กลาง และลบ ครบตามจำนวนมาตราที่กำหนดไว้ก่อนลงมือสร้าง เครื่องมือวัดเท่านั้น เช่น กรณีกำหนด 5 มาตรา จำนวนข้อน้อยที่สุด ควรใช้ได้ 5 ข้อ หรือกรณีกำหนด 11 มาตรา จำนวนข้อที่แสดงถึง ความรู้สึกทางบวก กลาง และลบ อย่างน้อยต้องให้ใช้ได้ 11 ข้อ ทั้งนี้ เครื่องมือวัดเจตคตติ ามแนวคิดของเทอร์สโตนแต่ละข้อความ ผู้ทดสอบ จะตอบใน 2 ลักษณะ คือ เห็นด้วย กบั ไมเ่ หน็ ด้วยและในแต่ละข้อความ จะมนี ้ำหนักในการแปลผลไม่เท่ากนั ขอ้ ความ ใช/่ จรงิ ไมใ่ ช่ 1. การได้รบั ขา่ วสารขอ้ มลู อย่างตอ่ เนอื่ ง /ไม่จรงิ ทำให้มีความคดิ กว้างไกล 2. การเรียนมากทำให้วุฒิภาวะทางสังคมดี ........... ........... ........... ........... ลักษณะของการวัดมาตรวัดเธอร์สโตนให้ค่าผลการประเมินโดยหาก ตอบ ใช/่ จริง ให้เป็น 1 คะแนน และ หากตอบ ไม่ใช/่ ไม่จริง ให้คะแนน เป็น 0 และนำผลการประเมินที่ได้คะแนนเป็น 1 คูณกับค่าประจำ ข้อความ ไดเ้ ปน็ คะแนนประเมินของข้อความคิดเห็นน้ัน คมู่ ือการใชง้ านเครอื่ งมอื และวิธกี ารวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย 7

มาตราวดั แบบลเิ คิร์ท เป ็ นมาตรว ั ดท ี ่ ใช ้ สำหร ั บให ้ แสดงระด ั บความค ิ ดเห็ น ในแบบสอบถามปลายปิด มาตรวัดของลิเคิร์ท สามารถพบเห็นได้ ในแบบสอบถามท่ัว ๆ ไป การสร้างเครื่องมือของลิเคิร์ท จะมุ่งถามตรง ๆ ลงไปท่ี \"ความรู้สึก\" หรือ \"ความคิด\" \"ความเห็น\" ซึ่งเป็นข้อคำตอบออกจากใจ ของผู้ถูกถาม โดยถามทำนองว่า ท่านเห็นด้วยกับสิ่งที่กำหนดในระดับ ใด วิธีวัดความพึงพอใจหรือความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามด้วย Likert Scales คือ การให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกแสดงความคิดเห็น จากระดับความพึงพอใจ ในแบบสอบถามขอ้ นน้ั ๆ หลักการสร้างมาตรวัดของลิเคิร์ท มีดงั น้ี 1. กำหนดข้อความเกี่ยวกบั ทัศนคติท่ีจะศกึ ษาขึน้ มาชดุ หนึ่ง เช่น ถ้าต้องการใช้ข้อความในการวัด 10 รายการ อาจจะตองสร้าง ข้อความขึ้นมาอย่างน้อย 15 รายการ ข้อความในแต่ละรายการ ควรมี ลักษณะในเชิงสนับสนุนหรือมองในด้านดี และมีข้อความที่มีลักษณะ ต่อตา้ นหรอื มอง ในด้านลบ ควรเล่ียงขอ้ ความทท่ี ีลักษณะเปน็ กลาง 2. จำแนกความเห็นในขอ้ ความต่าง ๆ ออกเป็น 5 ระดบั 5 หมายถึง เหน็ ด้วยทีส่ ุด หรือ พึงพอใจท่ีสุด 4 หมายถึง เหน็ ด้วย หรอื พอใจ 3 หมายถงึ เฉย ๆ หรอื ปานกลาง 2 หมายถงึ ไม่เหน็ ด้วย หรอื ไมพ่ อใจ 1 หมายถึง ไมเ่ ห็นด้วยอยา่ งยงิ่ หรอื ไม่พอใจอย่างยิง่ 3. กำหนดค่าคะแนนให้กับระดับความเห็นในข้อ 2 การให้ คะแนนนั้นจะต้องพิจารณาดูให้ดีว่าสอดคล้องกันหรือไม่ เนื่องจากบาง ประโยคอาจมคี วามหมายในเชิงลบ 8คมู่ อื การใชง้ านเครือ่ งมอื และวธิ ีการวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพิสยั

4. แต่ละประโยคจะต้องนำมาวิเคราะห์อีกครั้งว่ามีอำนาจ จำแนก (Discriminating power)ระหว่างผู้ตอบที่ได้คะแนนสูง และ ผู้ตอบท่ไี ด้คะแนนตำ่ หรอื ไม่ ขอ้ ใดทมี่ ีอำนาจจำแนกต่ำควรตัดออกไป รายการ 5 ระดบั ความคดิ เห็น 1 1. วชิ าภาษาไทยเปน็ วชิ า เห็น ไมเ่ หน็ ทน่ี ่าเรยี น ดว้ ย 432 ด้วย 2. วิชาภาษาไทยสามารถนำไป อยา่ ง เหน็ ปาน ไมเ่ ห็น อยา่ งยง่ิ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน ยง่ิ ด้วย กลาง ด้วย ได้อย่างกว้างขวาง 3. คนท่เี รียนภาษาไทย ได้ดเี ปน็ คนท่มี คี วามคดิ สร้างสรรคส์ งู 4. ขา้ พเจา้ ง่วงนอนทกุ ครั้ง ท่ีเรยี นภาษาไทย 5. การเรยี นภาษาไทยช่วยทำ ให้เข้าใจผอู้ ่ืนไดม้ ากยง่ิ ขนึ้ มาตรประมาณคา่ ของออสกูด เป็นการกำหนดคำคุณศัพท์ 2 คำ ท่ีมีความหมายตรงกันข้าม โดยกำหนดค่าตัวเลขแสดงพฤติกรรมตั้งแต่สูงสุดไปต่ำสุดระหว่าง คำคุณศัพท์นั้น ส่วนใหญ่ใช้ 7 ระดับ โดยกำหนดระดับคะแนนดังน้ี ระดับ 7 (3 คะแนน) ระดับ 6 (2 คะแนน) ระดบั 5 (1 คะแนน) ระดับ 4 (0 คะแนน) ระดับ 3 (-1 คะแนน) ระดับ 2 (-2 คะแนน) และ ระดับ 1 (-3 คะแนน) 9คมู่ อื การใช้งานเครื่องมอื และวธิ กี ารวดั พฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสัย

คำชี้แจง: ให้นิสิตพิจารณาแต่ละข้อ แล้วแสดงความรู้สึกต่อการเรียน รายวิชาภาไทย โดยทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความรู้สึก ที่แท้จรงิ ของนักเรยี นมากทีส่ ุด 7(3) 6(2) 5(1) 4(0) 3(-1) 2(-2) 1(-3) มสี าระ ไร้สาระ น่าสนใจ นา่ เบ่อื เพลดิ เพลนิ เครยี ด A 10คมู่ อื การใชง้ านเครอ่ื งมอื และวิธีการวดั พฤติกรรมด้านจิตพสิ ยั

แบบสังเกต Observation form การสังเกตเป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมหรือ การกระทำ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อศึกษาความเป็นไป และการเปล่ียนแปลงของสงิ่ ทต่ี อ้ งการวัด แบบสงั เกต แบง่ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. แบบไม่มีโครงสร้าง > มีแต่หัวข้อในการสังเกต ไม่มี รายละเอียด ตัวอย่างเช่น การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของ นกั เรยี นด้วยแบบบนั ทึกพฤติกรรมตอ่ ไปนี้ แบบบันทึกพฤติกรรมนักเรียน 1. ข้อมลู เกย่ี วกับสภาพและสังคมที่สงั เกต วันที.่ ....................เดือน......................ป.ี ................. เวลา........................ สถานท.ี่ .................................................................................................. ชื่อนกั เรยี น 1)........................................ 2)......................................... 2. ขอ้ มลู จากการสังเกตและสนทนา (สิ่งที่สังเกตเห็นหรอื การสนทนาทไ่ี ด้ ยิน) เวลา.......................................................... เวลา.......................................................... เวลา.......................................................... 3. ความรูส้ ึกและการเรยี นรู้ทเี่ กดิ ข้ึนกบั ผสู้ ังเกต 3.1) ความรสู้ กึ ทเ่ี กิดขนึ้ .......................................................................... 3.2) ความคดิ เหน็ ท่ีเกดิ ขน้ึ ...................................................................... 3.3) การเรียนรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ .......................................................................... 11คมู่ อื การใชง้ านเคร่อื งมอื และวธิ ีการวดั พฤตกิ รรมด้านจิตพสิ ยั

2. แบบมีโครงสร้าง เป็นแบบสังเกตที่สร้างขึ้นอย่างมีระบบ ตามวธิ ีสร้างแบบสอบถาม มีการตรวจสอบคณุ ภาพก่อนนำไปใช้ อาจใช้ เปน็ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตรประมาณค่าหรอื การใหค้ ะแนนกไ็ ด้ ตัวอย่าง การสังเกตความรับผดิ ชอบ ด้วยแบบตรวจสอบรายการโดยให้ ทำเครอื่ งหมาย เมือ่ นักเรียนมีการปฏบิ ตั ิ หรอื เมอ่ื นกั เรยี นไมป่ ฏบิ ัติ เลข ชือ่ -สกลุ รับผดิ ชอ ทำงาน ใชเ้ วลา สรปุ ผล ท่ี บ อย่าง ทำงาน การ เปน็ อยา่ ง ตัดสนิ ในการ ระบบ เหมาะส ผ่าน ทำงาน ม 1 ปวีณา   2 กนกกร   ไมผ่ ่าน 3 สุบัณฑติ ิ   ผ่าน ตัวอย่าง การสงั เกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียน ดว้ ยแบบมาตรประมาณ ค่า 5 ระดับ โดยให้ทำเครือ่ งหมายลงในชอ่ งคะแนนที่นักเรียนปฏบิ ตั ไิ ด้ มสี ว่ นรว่ มแสดง กระตอื รือรน้ ชือ่ -สกลุ ความคิดเห็น ในการทำงาน เลขที่ รวม 1 ปวณี า 5432154321 ทิพยม์ ะณี  7 2 กนกกร  5 แสนมะณี 3 สบุ ัณฑิติ  8 พัวไกวลั 12คมู่ ือการใชง้ านเคร่อื งมอื และวธิ กี ารวัดพฤติกรรมด้านจิตพสิ ัย

ตวั อยา่ ง ท่เี ปน็ การกำหนดคะแนนนแต่ละรายการเท่า ๆ กัน เช่น คะแนน เต็ม 5 คะแนน แล้วผู้สังเกตพิจารณาให้คะแนนแต่ละรายการ ตั้งแต่ 1 ถึง 5 คะแนน เลขท่ี รบั ผดิ ชอบ ทำงาน ใช้เวลา รวมคะแนนในการอย่างทำงาน ชื่อ-สกลุ ทำงาน เปน็ อยา่ ง (5 ระบบ เหมาะสม คะแนน) (5 คะแนน) (5 คะแนน) 1 ปวณี า ทพิ ย์มะณี 4 5 2 11 2 กนกกร แสนมะณี 3 3 3 10 3 สุบณั ฑิติ พวั ไกวัล 2 2 4 8 วธิ ีการเกบ็ ข้อมลู 1. แบบมีส่วนร่วม เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปร่วมอยู่ใน หมู่หรือกลุ่มบุคคลที่จะสังเกตเหมือนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกัน แต่ต้องไม่ให้ผู้ถูกสังเกตทราบเพื่อจะได้ข้อมูล และพฤติกรรมที่แท้จริง เช่น ครูเฝ้าสังเกตพฤติกรรมการเรียน ของผู้เรียนขณะที่เรียนในห้อง หรือผู้สังเกตเข้าไปเป็นสมาชิก ของหมู่บ้านอาศัยอยู่กับชาวบ้าน เพื่อสังเกตชีวิตประจำวัน ขนบธรรมเนยี มประเพณคี ่านิยมของหมู่บ้านน้นั เป็นต้น 2. แบบไม่มีส่วนร่วม เป็นการสังเกตที่ผู้สังเกตอยู่วงนอกกลุ่ม ผถู้ กู สังเกตไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปร่วมในกิจกรรมของกลมุ่ ท่กี ำลังทำอยู่ การสังเกต แบบนี้อาจใช้แบบสังเกตได้ทั้ง 2 แบบ คือ แบบมีโครงสร้างและแบบ ไม่มีโครงสรา้ ง 13คมู่ อื การใช้งานเครื่องมอื และวธิ ีการวดั พฤตกิ รรมด้านจิตพสิ ัย

หลกั การสงั เกตทีด่ ี 1. มีจดุ มงุ่ หมายในการสังเกตท่แี นน่ อน 2. สงั เกตอย่างพนิ ิจพิเคราะห์ 3. ขณะทีท่ ำการสังเกตตอ้ งไมใ่ ห้ผถู้ ูกสังเกตรู้ตวั 4. บนั ทกึ ผลการสงั เกตพฤติกรรมทันที 5. บนั ทึกเฉพาะส่ิงที่สังเกตเห็นเท่านนั้ 6. กอ่ นสรปุ ผลควรสงั เกตหลายๆ คร้ัง แบบสมั ภาษณ์ Interview form การสัมภาษณ์ (Interviews) หมายถึง การสนทนาอย่างมีจุดหมาย ในการคน้ หาความจริงโดยผูส้ ัมภาษณ์ (interviewer) กบั ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ (interviewee) จะสอบถามและตอบติดต่อกันหลายคำตอบ-คำตอบ ในเร่อื งใดเรือ่ งหน่ึง หรือหลายเรอื่ งท่สี มั พนั ธก์ นั ประเภทของแบบสมั ภาษณ์ Kerlinger (200) แบง่ แบบสัมภาษณเ์ ปน็ 3 แบบ ตามลกั ษณะ คำถาม ไดแ้ ก่ 1. ข้อคำถามกำหนดตัวเลือก (fixed-alternative items) เป็นการเตรียมคำถาม พรอ้ มทัง้ คำตอบทเ่ี ป็นตวั เลอื กทง้ั หมดไว้สำหรับ ผู้ถูกสัมภาษณไ์ ด้เลือกตอบ อาจมีสอบคำตอบหรือมากกวา่ สองคำตอบ ให้เลอื ก เช่น เหน็ ดว้ ย/ไมเ่ ห็นด้วย ตวั อยา่ งเชน่ 14คมู่ ือการใชง้ านเคร่อื งมอื และวธิ กี ารวดั พฤตกิ รรมดา้ นจิตพสิ ยั

การเรียนภาษาไทยช่วยใหน้ กั เรียนสามารถส่ือสารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึน □ เห็นดว้ ย เพราะ ........................................................................................ □ ไม่เหน็ ด้วย เพราะ .................................................................................... □ ไม่แน่ใจ เพราะ .......................................................................................... 2. ข้อคำถามปลายเปิด (Open-ended items) ผู้สัมภาษณ์ จะเตรียมคำถามปลายเปิดไว้และให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบอย่างเสรี โดยลักษณะคำถามอาจมีลักษณะแบบกรวย (funnel questions) ซง่ึ คำถามจะเร่ิมเรือ่ งกว้าง ๆ ทวั่ ไปก่อน คำถามต่อ ๆ ไป จะเปน็ คำถาม เฉพาะเจาะจงมากข้ึน เพ่อื ใหไ้ ดค้ ำตอบตามทตี่ อ้ งการ ตัวอยา่ งเชน่ 1. นักเรียนคดิ วา่ การเรยี นภาษาไทยมปี ระโยชน์อยา่ งไร 2. การเรียนภาษาไทยช่วยพัฒนานกั เรยี นไดอ้ ย่างไร 3. ข้อคำถามแบบสเกล (Scale items) ผู้สัมภาษณ์จะมี คำถามและเตรียมคำตอบที่กำหนดคะแนนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถูก สัมภาษณ์เลอื กตอบที่ตรงกบั ความร้สู กึ หรือความคิดเห็นมากท่สี ุด การเรยี นภาษาไทย ทำให้ผเู้ รยี นมีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ 1. คิดก่อนพดู 54321 2. มีวิจารณญาณ 54321 3. พูดจาฉะฉาน 54321 4. ใช้ภาษาไทยได้ถกู ตอ้ ง 54321 15คมู่ อื การใช้งานเครื่องมือและวธิ กี ารวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสยั

วิธีการเกบ็ ขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสมั ภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง/ไม่มีโครงสร้าง (Structured or unstructured) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็น วิธีการที่รวบรวมข้อมูลไดก้ ำหนดรปู แบบการสัมภาษณ์ รายการคำถาม เวลา และสถานที่สัมภาษณ์ไว้เรียบร้อยแล้ว มักใช้กับกรณีมีผู้ถูก สัมภาษณ์หลายคนแต่เป็นการสัมภาษณ์เรื่องเดียวกัน ข้อจำกัด คือ อาจทำให้ได้ข้อมูลไม่ลึกซึ้งเพียงพอในบางประเด็น ตรงข้ามกับ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างที่ผู้รวบรวมข้อมูลอาจตั้งคำถาม ตะล่อม ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เพ่งความสนใจ ไปที่เรื่องเฉพาะเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง เป็นการสัมภาษณ์แบบรวมจุดสนใจ ซึ่งจะทำให้ได้ข้อมูลละเอียด ลึกซงึ้ แตข่ ้อมูลจะไม่เปน็ ระบบเดยี วกนั ทำให้ยงุ่ ยากต่อการวิเคราะห์ 2. การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม/รายบุคคล (group or individual interviews) ลักษณะการสัมภาษณ์ที่แยกตามจำนวนผู้ถูก สัมภาษณ์จะแบง่ เป็น 2 แบบ คอื แบบกลมุ่ และแบบรายบุคคล แบบรายกลุ่ม คือ กรณีมีผู้สัมภาษณ์หลายคนและ สัมภาษณ์ในประเด็นเดียวกันหรือต้องการข้อมูลที่เป็น ข้อเท็จจริงของกลุ่ม วิธีนี้จะช่วยประหยัดเวลาในการสัมภาษณ์ และได้ข้อมลู ครบถว้ น แบบรายบุคคล คือ ผู้ถูกสัมภาษณ์จะให้ข้อมูลที่เป็น ทัศนะหรือความรู้สึกได้อย่างอิสระมากกว่า และเหมาะสมกับ การสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ (in-depth interviews) ขอ้ จำกัดตรงอาจ ได้ขอ้ เทจ็ จรงิ ไมค่ รบถ้วน 16คมู่ อื การใชง้ านเครือ่ งมอื และวธิ ีการวัดพฤตกิ รรมด้านจิตพิสัย

เทคนคิ ในการสมั ภาษณ์ 1. ผสู้ ัมภาษณ์มีความสำคัญมาก บคุ ลกิ ภาพและคณุ ลกั ษณะอ่ืน ๆ ของผู้สัมภาษณ์มี อิทธิพลต่อคําตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ได้ จึงควร ระมัดระวัง ไม่ให้คำถามในลักษณะจงใจให้ตอบไปในแนวทางที่ไม่ตรงกบั ความคิดเห็นทีแ่ ทจ้ รงิ ของผู้ใหส้ มั ภาษณ์ 2. ใช้ภาษาง่าย ๆ สื่อความเข้าใจไดด้ ี 3. ให้ความเป็นกันเอง มีลักษณะการสนทนาที่เป็นไปอย่าง ธรรมชาติ 4. ถ้าผู้เรียนมีจำนวนน้อย อาจสัมภาษณ์เรื่องนั้นกับทุกคน แต่หากมีจำนวนมากอาจสุ่มโดยกระจายให้ครบทั้งคนเก่ง ปานกลาง และออ่ น 5. สัมภาษณ์ทั้งในห้องเรียน หรือที่อื่น ๆ เช่น ที่โรงอาหาร สนามกฬี า ฯลฯ 6. ไม่ทำให้การสัมภาษณ์เป็นปัญหา หรืออุปสรรคต่อการเรียน เช่น ขณะที่สัมภาษณ์ ผู้เรียนคนหนึ่ง ผู้สอนปล่อยให้คนอื่น ๆ ที่เหลืออยู่ว่าง ไม่ได้ทำกิจกรรมการเรียนหรือ การสัมภาษณ์คนหน่ึงไป รบกวนการทำกิจกรรมการเรยี นของคนอืน่ ๆ เป็นต้น 7. ไม่ควรใชก้ ารสมั ภาษณ์เพ่อื ทราบผลการเรียนรู้ของอน่ื ได้ดีกว่า หรือเท่าเทียมกัน เพราะการสัมภาษณ์เป็นกิจกรรมที่ใช้เวลามาก เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่น ๆ กรณีดังกล่าวควรใช้วิธีอื่นมากกว่า เช่น หลงั จากใหศ้ กึ ษาบทความเสร็จแล้ว ถ้าต้องการทราบวา่ ผเู้ รียนมคี วามรู้ เกี่ยวกับเนื้อหาในบทความ ควรให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบ (เขียนตอบ) มากกวา่ ใชว้ ิธีสัมภาษณ์ เป็นต้น 17คมู่ อื การใช้งานเครือ่ งมือและวิธีการวัดพฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสยั

8. เน้นการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงการเรียน การสอนมากกว่าด้านเนื้อหาที่เรียน ตามหลกั สูตร ซ่ึงวดั ไดเ้ ป็นอย่างดดี ว้ ยแบบทดสอบ ดังตวั อยา่ ง คาํ ถาม ท่ีควรสมั ภาษณ์ - วชิ านเ้ี รียนยากไหม? - มเี นอื้ หาเรื่องใดท่ียงั ไม่เขา้ ใจ ? - ฯลฯ 9. จากการสัมภาษณ์เมื่อทราบว่าการสอนได้ผลน้อย ไม่ได้ผล มีปัญหา หรือมีผลทางลบ ควรสอบถามผู้เรียนต่อไปเพื่อทราบ แนวความคิด ทศั นะ เกย่ี วกบั สาเหตุ รายละเอียดของปัญหา และ/หรือ ข้อเสนอแนะ แนวทางในการปอ้ งกนั แกไ้ ข ปรับปรงุ และพฒั นา ซึ่งอาจ ไดข้ อ้ คิดท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการปรับปรงุ การเรียนการสอน 18คมู่ ือการใช้งานเครอื่ งมือและวิธกี ารวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพสิ ัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook