ชุดวชิ า วสั ดศุ าสตร 3 รายวชิ าเลอื กบงั คับ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รหสั พว 32024 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551สํานักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก คาํ นาํ ชุดวิชาวัสดศุ าสตร 3 รหัสวชิ า พว32024 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายนี้ ประกอบดวยเนื้อหาหลักวัสดุศาสตร การใชประโยชนและผลกระทบจากวัสดุ การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุทิศทางการพัฒนาวัสดุในอนาคต ส่ิงประดิษฐจากวัสดุตามหลักสะเต็มศึกษา และเทคโนโลยีการกําจัดวัสดุ เนื้อหาความรู ดังกลาว มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับหลักวัสดุศาสตร โครงสรางและสมบัติวัสดุ การใชประโยชนจากวัสดุตลอดจนสาเหตุและผลกระทบที่เกดิ จากการผลิตและการใชง านของวัสดุตอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอม สามารถคัดแยกวัสดแุ ละกาํ จัดวัสดทุ ใ่ี ชแ ลว ในชีวิตประจําวนั ของตนเอง และชมุ ชนได สํานักงาน กศน. ขอขอบคณุ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี ที่ใหการสนับสนุนองคค วามรูประกอบการนําเสนอเนื้อหา รวมทั้งผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดทําชุดวิชา หวังเปนอยางย่งิ วา ชุดวชิ าน้ี จะเกดิ ประโยชนตอผูเรยี น กศน. และสรา งความตระหนกั ในการจัดการวัสดุทใ่ี ชแลวอยางรูคณุ คา ตอไป สํานักงาน กศน.
ข คาํ แนะนําการใชชุดวชิ า ชุดวชิ าวัสดุศาสตร 3 รหสั วิชา พว32024 ใชส าํ หรับนักศกึ ษาหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายแบง ออกเปน 2 สว น คอื สว นที่ 1 โครงสรางของชดุ วิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรา งหนว ยการเรียนรูเน้ือหาสาระ กจิ กรรมเรียงลําดับตามหนวยการเรียนรู และแบบทดสอบหลงั เรยี น สว นที่ 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบดวย เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรยี น เฉลยและแนวตอบกิจกรรมทายหนว ยการเรียน เรยี งลาํ ดบั ตามหนว ยการเรยี นรูวิธีการใชช ดุ วิชา ใหผ ูเรียนดาํ เนินการตามขั้นตอน ดงั น้ี 1. ศึกษารายละเอยี ดโครงสรา งชดุ วชิ าโดยละเอยี ด เพ่อื ใหท ราบวาผเู รยี นตองเรยี นรูเนอื้ หาในเร่ืองใดบา งในรายวชิ านี้ 2. วางแผนเพ่ือกาํ หนดระยะเวลาและจัดเวลาทผี่ เู รียนมีความพรอ มท่ีจะศกึ ษาชดุ วชิ าเพ่ือใหสามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาไดครบทุกหนวยการเรียนรู พรอมทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนดใหท นั กอ นสอบปลายภาค 3. ทําแบบทดสอบกอ นเรียนของชดุ วิชาตามท่ีกาํ หนด เพ่ือทราบพื้นฐานความรูเ ดมิ ของผูเรียน โดยใหทําลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบ เฉลยและแนวตอบกิจกรรมทา ยหนว ยการเรียน 4. ศึกษาเนอ้ื หาในชุดวชิ าในแตละหนว ยการเรียนรูอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งในชุดวชิ าและสอื่ ประกอบ (ถาม)ี และทาํ กิจกรรมที่กําหนดไวใหครบถวน 5. เมื่อทํากิจกรรมเสร็จแตละกิจกรรมแลว ผูเรียนสามารถตรวจสอบคําตอบไดจากเฉลยและแนวตอบกิจกรรมทายหนวยการเรียน หากผูเรียนตรวจสอบแลวมีผลการเรียนรูไมเ ปนไปตามทค่ี าดหวัง ใหผ เู รียนกลบั ไปทบทวนเน้อื หาสาระในเรื่องนั้นซ้ําจนกวาจะเขาใจแลวกลับมาทาํ กจิ กรรมน้นั ซ้ํา
ค 6. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกหนวยแลว ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียนท่ีใหไวในทายเลม เพื่อประเมินความรูหลังเรียนหากผลไมเปนไปตามที่คาดหวัง ใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเร่ืองน้ันใหเขาใจอีกครั้งหนึ่ง แลวกลับมาทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจใหคะแนนตนเองอีกคร้ัง ผูเรียนควรทําแบบทดสอบหลงั เรยี นใหไ ดคะแนนไมนอยกวารอ ยละ 60 ของแบบทดสอบทัง้ หมด (หรอื36 ขอ) เพ่อื ใหม นั่ ใจวาจะสามารถสอบปลายภาคผาน 7. หากผเู รยี นไดทาํ การศึกษาเน้ือหาและทาํ กจิ กรรมแลวยังไมเขา ใจ ผูเรียนสามารถสอบถามและขอคาํ แนะนาํ ไดจากครู ผูรู หรอื แหลง คน ควา อืน่ ๆ เพิ่มเตมิการศึกษาคน ควา เพ่ิมเตมิ ผูเรียนอาจศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจากแหลงเรียนรูอื่น ๆ เชน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 คูมือประชาชนการคัดแยกขยะมูลฝอยอยางถูกวิธีและเพ่ิมมูลคาคูมือการสรางวินัยสูการจัดการขยะแบบครบวงจร วารสาร แผนพับประชาสัมพันธอินเทอรเ น็ต ผูรู และแหลง เรยี นรใู นชมุ ชน เปน ตนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หลกั สูตรรายวชิ าเลือกบงั คับ วัสดุศาสตร 3 เปน ดงั นี้ 1. ระหวา งภาค วดั ผลจากการทาํ กจิ กรรมหรืองานที่ไดร ับมอบหมายระหวา งเรียน 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทําขอ สอบวัดผลสมั ฤทธ์ิปลายภาค
ง โครงสรา งชุดวิชา พว32024 วสั ดุศาสตร 3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสาระการเรียนรู สาระความรูพื้นฐานมาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานท่ี 2.2 มคี วามรู ความเขาใจ และทกั ษะพื้นฐานเกย่ี วกับคณิตศาสตรวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตรฐานการเรยี นรรู ะดบั มีความรูความเขาใจ ทักษะและเห็นคุณคาเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถ่ิน ประเทศ โลกสาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลง โครงงานวิทยาศาสตรของโลกและดาราศาสตรมจี ิตวทิ ยาศาสตรแ ละนาํ ความรูไปใชในการดาํ เนินชีวิตผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง 1. มคี วามรคู วามเขาใจเก่ียวกับหลกั วสั ดศุ าสตร การใชป ระโยชนและผลกระทบจากวัสดุ การคดั แยกและการรไี ซเคลิ เทคโนโลยกี ารกาํ จดั วัสดุ ส่งิ ประดิษฐจากวัสดตุ ามหลักสะเตม็ ศกึ ษา และแนวโนม และทศิ ทางการพัฒนาวสั ดุในอนาคต 2. สามารถออกแบบและสรางส่งิ ประดษิ ฐจากวัสดุใชแ ลว ได 3. ตระหนักถึงผลกระทบทเี่ กดิ จากการใชว ัสดใุ นชวี ิตประจาํ วนั
จสรปุ สาระสําคญั 1. วัสดุศาสตร (Materials Science) หมายถึง การศึกษาที่เก่ียวของกับวัตถุเปน การนาํ ความรูทางวิทยาศาสตร และวิศวกรรมศาสตร เพ่ืออธิบายถึงความสัมพันธระหวางองคประกอบพืน้ ฐานของวสั ดุ และสมบตั ขิ องวัสดุ ซ่งึ ความรดู ังกลาว จะนํามาผลิตหรอื สรา งเปนผลิตภัณฑ เพ่ือแกปญหาหรืออธิบายสิ่งตาง ๆ ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับวัสดุและสมบัติที่สนใจ ไดแกโลหะ พลาสตกิ หรอื พอลเิ มอร และเซรามิกส โดยวัสดุศาสตรมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของมนษุ ย จึงถอื ไดว าจะเปนสว นหน่ึงของปจ จัยพ้ืนฐานในการดาํ เนินชวี ติ และเปนสวนหน่ึงในการพัฒนาประเทศ ใหก าวทันเทคโนโลยที ีท่ ันสมัยในดา นตาง ๆ ในอนาคต 2. มนุษยมีความผูกพนั กบั วสั ดุศาสตรมาเปนเวลาชา นาน โดยเราสามารถพฒั นาสมบตั ขิ องวัสดุใหส ามารถใชงานในดา นตาง ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน ในการพฒั นาสมบตั ิของวสั ดยุ อมเกดิ มลพิษจากการผลติ และการใชง านวสั ดุ และเกิดผลกระทบท่เี กิดจากการใชว สั ดตุ อสง่ิ มีชีวติ และสงิ่ แวดลอมได 3. การคัดแยกวสั ดทุ ี่ใชแลวเปนวิธีการลดปริมาณวัสดุท่ีใชแลวท่ีเกิดข้ึนจากตนทาง ไดแก ครัวเรือน สถานประกอบการตา ง ๆ กอนท้ิง ในการจัดการวัสดุท่ีใชแลว จําเปนตองจัดใหมีระบบการคัดแยกวัสดุที่ใชแลว ประเภทตาง ๆ ตามแตลักษณะองคประกอบโดยมีวัตถุประสงคเ พื่อนํากลบั ไปใชป ระโยชนใหม โดยจดั วางภาชนะใหเหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมวสั ดทุ ี่ใชแลวอยา งมปี ระสิทธภิ าพ และสอดคลองกับระบบการคัดแยกวัสดุที่ใชแลว เพอื่ เปน การสะดวกแกผูเกบ็ ขนและสามารถนําวัสดุที่ใชแ ลวบางชนิดไปขายเพ่อื เพ่ิมรายไดใหกับตนเองและครอบครัว รวมท้ังงายตอการนําไปกําจัด หลัก 3R เปนหลักการจัดการเศษวัสดุ เพ่ือลดปริมาณเศษวัสดุ ไดแก รีดิวซ (Reduce) คือ การใชนอยหรือลดการใช รียูส(Reuse) คือ การใชซ้ํา และ รีไซเคิล (Recycle) คือ การผลิตใชใหม ใชเปนแนวทางปฏิบัติในการลดปรมิ าณเศษวัสดใุ นครวั เรอื น โรงเรยี น และชมุ ชน
ฉ 4. ปจ จบุ นั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพ่ือตอบสนองตอการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน การพัฒนาวัสดุใหมีสมบัติท่ีเหมาะกับความตอ งการใชงาน จึงเปนส่ิงที่มีความจําเปนอยางย่ิง อันจะชวยใหการพัฒนาของเทคโนโลยีเติบโตไปพรอมกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ควบคูกันไป โดยทิศทางการพัฒนาวัสดุเพือ่ ใหมคี วามเหมาะกับการใชงาน จึงมุงเนนพัฒนาใหวัสดุมีความเบา แข็งแรงทนทาน ทนตอสภาพอากาศ มคี วามยืดหยุนสูง นาํ ไฟฟาย่งิ ยวด หรอื วัสดุท่ีมคี วามเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม ตามความตองการของภาคอตุ สาหกรรม 5. สะเต็มศึกษา (STEM Education) คอื แนวทางการจดั การศึกษาท่บี รู ณาการความรูใน 4 สหวิทยาการ ไดแก วิทยาศาสตร วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร โดยเนนการนําความรไู ปใชแกป ญหาในชีวิตจรงิ รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลติ ใหมท ี่เปนประโยชนต อการดาํ เนนิ ชวี ติ และการทาํ งาน 6. การเผาเศษวัสดุเหลือท้ิงเปนการจัดการเศษวัสดุเหลือท้ิง เปนวิธีท่ีไดรับความนยิ มสามารถกําจัดของเสยี ทม่ี าจากการรักษาพยาบาลและของเสียท่มี พี ิษได ดกี วา การกาํ จดั เศษวัสดุเหลือท้ิงโดยวิธีฝงกลบและอาจนําสวนท่ีเหลือน้ีไปใชประโยชนได ผลกระทบทางระบบนเิ วศนก็นอยกวา ความจําเปนท่จี ะตองแสวงหาแหลงพลังงานหมนุ เวยี นทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซ่ึงนับวันจะมีปริมาณลดนอยลงและมีราคาสูงข้ึน เศษวัสดุเหลือทิ้งเปนอีก ทางเลือกหนึ่งดานการผลิตพลังงาน เพราะเศษวัสดุเหลือท้ิง มีศักยภาพท่ีสามารถนํามาใชเพื่อผลิตพลงั งานได ทัง้ นี้ เนื่องจากมปี ริมาณมาก และไมตองซื้อหาแตในปจจุบันมีการนําเศษวัสดุเหลือท้ิงมาผลติ เปนพลงั งานนอ ยมากเมือ่ เทยี บกับพลังงานทดแทนดา นอ่ืน ๆขอบขา ยเน้อื หา จํานวน 10 ช่วั โมง จํานวน 20 ชั่วโมง หนว ยท่ี 1 หลกั วสั ดุศาสตร จาํ นวน 20 ชว่ั โมง หนวยที่ 2 การใชประโยชนแ ละผลกระทบจากวสั ดุ จํานวน 20 ชัว่ โมง หนว ยท่ี 3 การคดั แยกและการรีไซเคิล จาํ นวน 30 ชว่ั โมง หนว ยที่ 4 แนวโนมและทศิ ทางการพัฒนาวสั ดใุ นอนาคต จํานวน 20 ชว่ั โมง หนว ยท่ี 5 สงิ่ ประดษิ ฐจ ากวสั ดตุ ามหลกั สะเตม็ ศกึ ษา หนวยที่ 6 เทคโนโลยกี ารกําจดั วสั ดุ
ชการจดั ประสบการณการเรยี นรู 1. บรรยาย 2. ศกึ ษาคนควา ดว ยตนเองจากสอ่ื ทีเ่ กี่ยวของ 3. พบกลมุ ทาํ การทดลอง อภปิ ราย แลกเปล่ียนเรยี นรู วเิ คราะห และสรปุ การเรยี นรูทไ่ี ดล งในเอกสารการเรยี นรดู วยตนเอง (กรต.)สอ่ื ประกอบการเรยี นรู 1. ส่อื เอกสาร ไดแ ก 1.1 ชดุ วิชา วัสดุศาสตร 3 รหสั วชิ า พว32024 1.2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนรู ชดุ วิชา วสั ดศุ าสตร 3 2. ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส ไดแก 2.1 เวบ็ ไซต 2.2 หนงั สอื เรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร 2.3 CD,DVD ท่เี กย่ี วของ 3. แหลงเรียนรใู นชุมชน ไดแก 3.1 มุมหนังสือ กศน.ตาํ บล 3.2 หองสมดุ ประชาชนอาํ เภอ 3.3 หอ งสมุดประชาชนจงั หวัด 3.4 ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษา 3.5 เทศบาลและสาํ นกั งานสงิ่ แวดลอ มจํานวนหนว ยกติ ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จํานวน 120 ช่วั โมง รวม 3 หนว ยกติ
ซกจิ กรรมการเรียนรู 1. ทําแบบทดสอบกอนเรียนและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม รายวชิ าวสั ดุศาสตร 3 2. ศึกษาเนอ้ื หาสาระในหนวยการเรียนรูทกุ หนวย 3. ทํากจิ กรรมตามทีก่ าํ หนดและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยและแนวตอบในทา ยเลม รายวิชาวสั ดุศาสตร 3 4. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนและตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทายรายวชิ าวสั ดศุ าสตร 3
สารบญั ฌคํานาํ หนาคาํ แนะนาํ การใชช ุดวชิ าโครงสรา งชุดวชิ า กสารบัญ ขหนวยท่ี 1 หลกั วัสดศุ าสตร ง ช เร่อื งท่ี 1 ความหมายของวสั ดุศาสตรและประเภทของวัสดุ 1 เรือ่ งท่ี 2 สมบัตวิ ัสดศุ าสตร 1หนว ยที่ 2 การใชป ระโยชนและผลกระทบจากวัสดุ 11 เรือ่ งที่ 1 การใชป ระโยชนจากวัสดุ 17 เร่อื งท่ี 2 มลพิษจากการผลติ และการใชงาน 18 เรอ่ื งที่ 3 ผลกระทบตอ สง่ิ มชี วี ิตและสิง่ แวดลอม 43หนวยท่ี 3 การคัดแยกและการรีไซเคิลวสั ดุ 45 เรอื่ งท่ี 1 การคัดแยกวัสดุท่ใี ชแลว 50 เรอ่ื งที่ 2 การจัดการวัสดุดว ยการรีไซเคิล 51หนวยท่ี 4 แนวโนมการใชวสั ดแุ ละทศิ ทางการพัฒนาวสั ดุในอนาคต 58 เรอื่ งท่ี 1 แนวโนม การใชวัสดุในอนาคต 70 เรือ่ งท่ี 2 ทิศทางการพัฒนาวัสดุในอนาคต 71หนวยท่ี 5 สง่ิ ประดิษฐจากวสั ดุตามหลกั สะเต็มศึกษา 74 เรื่องที่ 1 หลกั สะเตม็ ศึกษา 81 เรอ่ื งที่ 2 หลักสะเตม็ ศึกษาสําหรบั การประดษิ ฐว ัสดใุ ชแลว 82 เร่ืองที่ 2 การประดษิ ฐวัสดุเหลอื ทง้ิ 86หนว ยท่ี 6 เทคโนโลยกี ารกําจัดวสั ดุ 91 เร่อื งท่ี 1 เทคโนโลยีการกําจัดเศษวัสดเุ หลอื ทิ้งดวยการเผา 103 เร่ืองท่ี 2 การผลิตพลังงานจากเศษวัสดเุ หลือทิ้ง 104บรรณานกุ รม 119คณะผจู ัดทํา 127 140
1 หนวยท่ี 1 หลกั วัสดุศาสตรสาระสาํ คัญ วัสดุศาสตร (Materials Science) หมายถึง การศึกษาที่เก่ียวของกับวัตถุ เปนการนําความรูทางวิทยาศาสตร และวิศวกรรมศาสตร เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธระหวางองคป ระกอบพนื้ ฐานของวัสดุ และสมบตั ขิ องวัสดุ ซึง่ ความรูดังกลาว จะนํามาผลิตหรอื สรางเปนผลิตภัณฑ เพื่อแกปญหาหรืออธิบายสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับวัสดุและสมบัติท่ีสนใจ ไดแกโลหะ พลาสติก หรือ พอลิเมอร และเซรามิกส โดยวัสดุศาสตรมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของมนษุ ย จงึ ถอื ไดวาจะเปน สวนหนง่ึ ของปจจัยพืน้ ฐานในการดําเนินชีวิต และเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาประเทศ ใหก าวทันเทคโนโลยีที่ทนั สมยั ในดา นตา ง ๆ ในอนาคตตวั ชวี้ ดั 1. บอกความหมายของวสั ดุได 2. อธบิ ายประเภทของวสั ดไุ ด 3. อธบิ ายสมบัติของวสั ดุได 4. ทดสอบสมบตั ิของวัสดุได 5. นาํ ความรูเรอื่ งสมบตั ิของวสั ดุไปใชไดขอบขายเนอ้ื หา 1 ความหมายของวสั ดุศาสตรและประเภทของวัสดุ 2 สมบัตวิ สั ดุ
2 หนวยที่ 1 หลักวสั ดศุ าสตรเรือ่ งที่ 1 ความหมายของวัสดศุ าสตร วัสดุศาสตร (Materials Science) คือ การศึกษาที่เกี่ยวของกับวัสดุ เปนการนําความรูทางวทิ ยาศาสตร และวิศวกรรมศาสตร เพอ่ื อธิบายถงึ ความสัมพันธระหวางองคประกอบพื้นฐานของวัสดุ และสมบัติของวัสดุ ซ่ึงความรูดังกลาวน้ี จะนํามาผลิตหรือสรางเปนผลิตภัณฑพรอมทั้งหาคาสมรรถนะในการใชงานของผลิตภัณฑ ความรูท่ีนํามาใชน้ันจะมีลักษณะเปนสหวิทยาการ คือ การใชความรูในหลาย ๆ แขนงมารวมกัน วัสดุศาสตรจึงยิ่งจําเปนตองใชความรูหลายแขนงวิชา ไมวาจะเปนความรูทางฟสิกส เคมี วิศวกรรม ชีววิทยา ไฟฟาคณิตศาสตร หรือ การแพทย เขามารวมกันเพื่อแกปญหาหรืออธิบายส่ิงตาง ๆ ท่ีเก่ียวเน่ืองกับวัสดแุ ละสมบตั ทิ ่ีสนใจ ประเภทของวสั ดุศาสตร ในปจจุบันไมวาวิศวกร นักวิทยาศาสตร หรือนักเทคโนโลยี ลวนตองเก่ียวของกับวัสดุ (Materials) อยเู สมอทั้งในเชิงของผใู ชวสั ดุ ผูผ ลติ และผคู วบคมุ กระบวนการผลิต ตลอดจนผูออกแบบทั้งในรูปแบบ องคประกอบ และโครงสราง บุคคลเหลาน้ีจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเลอื กใชว สั ดุใหเ หมาะสมถกู ตอ งจากสมบตั ขิ องวสั ดุเหลานนั้ นอกจากนย้ี ังสามารถวิเคราะหไดวาเมือ่ มคี วามผิดปกตเิ กิดข้นึ มนั เปน เพราะเหตใุ ด โดยเฉพาะอยางย่งิ ในปจจุบนั การคนควาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มคี วามกา วหนาไปอยางมาก วัสดใุ หม ๆ ถูกผลิตขึ้น และมีการคนควาสมบัติพิเศษของวัสดุ เพื่อใชประโยชนมากข้ึน กระบวนการผลิตก็สามารถทําไดอยางมีประสิทธภิ าพ ทําใหราคาของวัสดนุ น้ั ตํา่ ลง วสั ดุศาสตร แบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแ ก 2.1 โลหะ (Metallic materials) 2.2 พลาสตกิ หรอื พอลเิ มอร (Polymeric materials) 2.3 เซรามกิ ส (Ceramic materials)
3 2.1 วัสดุประเภทโลหะ โลหะ (Metals) หมายถึง วัสดุที่ไดจากการถลุงสินแรตาง ๆ อันไดแก เหล็กทองแดง อลูมิเนียม นิกเกิล ดีบุก สังกะสี ทองคํา ตะก่ัว เปนตน โลหะเมื่อถลุงไดจากสินแรในตอนแรกน้นั สวนใหญจะเปนโลหะเน้ือคอนขางบริสุทธิ์ มีโครงสรางเปนผลึกซ่ึงอะตอมจะมีการจัดเรียงตัวอยางเปนระเบียบและเฉพาะ โดยทั่วไปโลหะเปนตัวนําความรอนและไฟฟาที่ดี แตโลหะเหลานี้มักจะมีเนื้อออนไมแข็งแรงเพียงพอท่ีจะนํามาใชในงานอุตสาหกรรมโดยตรงสว นมากจะนาํ ไปปรับปรงุ คุณสมบัตกิ อ นการใชงาน โลหะและโลหะผสม (Alloys) สามารถแบงออกเปน 2 พวก คือ 1) โลหะและโลหะผสมทีม่ ีเหล็กเปนองคประกอบ (ferrous metals andalloys) โลหะพวกนี้จะประกอบดว ยเหลก็ ทีม่ ีเปอรเซ็นตส งู เชน เหล็กกลา และเหล็กหลอ 2) โลหะและโลหะผสมท่ีไมมเี หล็กเปน องคประกอบ หรอื มอี ยูนอ ย(nonferrous metals and alloys) เชน อะลมู ิเนียม ทองแดง สังกะสี ไทเทเนียม และนกิ เกลิ คําวา โลหะผสม (Alloys) หมายถึง ของผสมของโลหะตั้งแต 2 ชนิดหรือมากกวา 2 ชนิด หรอื เปนโลหะผสมกับอโลหะ ภาพท่ี 1.1 วัสดปุ ระเภทโลหะ ทมี่ า : http://www.fsocial789013.blogspot.com/
4 2.2 วัสดุประเภทพอลิเมอร พอลิเมอร (Polymers) หมายถึง สารประกอบท่โี มเลกลุ มีขนาดใหญม ากเกดิ จากโมเลกุลเดียวมาเชื่อมตอกันดวย พันธะเคมแี ตล ะโมเลกุลเดี่ยวหรือหนวยยอ ย เรยี กวามอนอเมอร วัสดุพอลเิ มอรส ว นมากประกอบดว ยสารอินทรีย (คารบอนเปนองคประกอบ)ที่มีโมเลกุลเปนโซยาว หรือเปนโครงขาย โดยโครงสรางแลววัสดุพอลิเมอรสวนใหญไมมีรูปรางผลึก แตบางชนิดประกอบดวยของผสมของสวนท่ีมีรูปรางผลึกและสวนมากไมมีรูปรางผลึกความแข็งแรงและความออนเหนียวของวัสดุพอลิเมอรมีความหลากหลาย เน่ืองจากลักษณะของโครงสรางภายใน ทําใหวัสดุพอลิเมอรสวนมากเปนตัวนําไฟฟาท่ีไมดี บางชนิดเปนฉนวนไฟฟาท่ดี ี โดยท่ัวไปวัสดพุ อลเิ มอร มคี วามหนาแนน ตาํ่ และมีจุดออนตัวหรืออุณหภูมิของการสลายตัวคอ นขางตํา่ ประเภทของพอลเิ มอร พอลเิ มอรเปน สารท่มี อี ยมู ากมายหลายชนดิ ซึ่งในแตล ะชนิดก็จะมีสมบตั ิและการกาํ เนิดทีแ่ ตกตา งกัน ดังนั้นการจัดจาํ แนกประเภทพอลิเมอรจ งึ สามารถทาํ ไดหลายวิธีขน้ึ อยูกับวาใชลักษณะใดเปนเกณฑในการพจิ ารณา เราสามารถจําแนกประเภทพอลิเมอรไ ดโดยอาศยั ลักษณะตาง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี 1. พิจารณาตามแหลงกําเนิด เปนวธิ ีการพิจารณาโดยดูจากวิธกี ารกําเนิดของพอลเิ มอรช นิดนนั้ ซงึ่ จะสามารถจําแนกพอลิเมอรไดเ ปน 2 ประเภท คือ พอลเิ มอรธ รรมชาติ และพอลิเมอรส ังเคราะห 1) พอลิเมอรธรรมชาติ (Natural Polymers) เปนพอลิเมอรท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ สามารถพบไดในส่ิงมีชีวิตทุกชนิด โดยพอลิเมอรธรรมชาติเหลาน้ีเปนสิ่งที่สง่ิ มีชีวิตผลิตขึน้ โดยอาศัยกระบวนการทางเคมตี าง ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ภายในเซลล และมกี ารเก็บสะสมไวใชประโยชนตามสวนตาง ๆ ดังน้ันพอลิเมอรธรรมชาติจึงมีความแตกตางกันไปตามชนิดของสิง่ มีชีวิตและตําแหนง ทพี่ บในส่ิงมีชวี ิต ตัวอยา งพอลิเมอรธ รรมชาติ ไดแก เสนใยพืช เซลลูโลสและไคติน เปนตน
5 ภาพท่ี 1.2 พอลิเมอรธรรมชาติ ที่มา : http://www.newsplus.co.th 2) พอลเิ มอรสังเคราะห (Synthetic Polymers) เกิดจากการสงั เคราะหขึ้นโดยมนุษย ดว ยวธิ กี ารนําสารมอนอเมอรจาํ นวนมากมาทําปฏกิ ริ ยิ าเคมีภายใตสภาวะทเี่ หมาะสม ทําใหมอนอเมอรเ หลา นน้ั เกดิ พนั ธะโคเวเลนตต อกนั กลายเปนโมเลกุลพอลเิ มอร โดยสารมอนอเมอรท่ีมักใชเปนสารต้งั ตนในกระบวนการสังเคราะหพอลเิ มอรคือสารไฮโดรคารบอนที่เปน ผลพลอยไดจ ากการกล่นั นาํ้ มันดบิ และการแยกแกส ธรรมชาติ เชนเอททลี นี สไตรนี โพรพลิ ีน ไวนิลคลอไรด เปนตน ภาพที่ 1.3 พอลเิ มอรสงั เคราะห ทมี่ า : http://www.vcharkarn.com
6 2. พิจารณาตามมอนอเมอรทเี่ ปน องคป ระกอบ เปนวิธกี ารพิจารณาโดยดจู ากลกั ษณะมอนอเมอร ท่ีเขามาสรา งพันธะรวมกนั โดยจะสามารถจาํ แนกไดเ ปน 2 ประเภท คือ 1) โฮโมพอลเิ มอร (Homopolymer) คือ พอลเิ มอรทเี่ กดิ จากมอนอเมอร ชนิดเดยี วกนั ทัง้ หมด เชน แปง พอลิเอทลิ ีน และพีวีซี เปนตน ภาพท่ี 1.4 แสดงโมเลกุลของโฮโมพอลิเมอร ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/ 2) โคพอลเิ มอร (Copolymer) คอื พอลเิ มอรทเี่ กดิ จากมอนอเมอรมากกวา 1 ชนดิ ข้ึนไป เชน โปรตนี ซง่ึ เกดิ จากกรดอะมโิ นที่มีลักษณะตาง ๆ มาเชอื่ มตอ กันพอลเิ อไมดแ ละพอลเิ อสเทอร เปนตน ภาพที่ 1.5 แสดงโมเลกลุ ของโคพอลเิ มอร ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki/3. พิจารณาตามลกั ษณะการใชงานไดเ ปน 4 ประเภท ไดแก1) อิลาสโตเมอร (Elastomer)หรือพอลิเมอรประเภทยาง อาจเปนพอลิเมอรธรรมชาติ หรอื พอลิเมอรสงั เคราะห ทม่ี ีสมบตั ิยดื หยุน เกิดจากลักษณะโครงสรางโมเลกุลมลี กั ษณะมว นขดไปมา และบิดเปน เกลียว สามารถยดื ตัวไดเมอื่ มแี รงดงึ หดกลบั ไดเ มอ่ื ลดแรงดงึ และสามารถเกดิ การยืดตัวหดตัวซาํ้ ไป ซา้ํ มาได เชนยางรถยนต เปนตน ภาพที่ 1.6 อิลาสโตเมอร
7 2) เสนใย (Fabric) คือ พอลิเมอรท่ีประกอบดวยโมเลกุลขนาดยาว ลักษณะโครงสรางมีความเหนียวและยืดหยุน สามารถนํามาปนเปนเสนยาวได เม่ือนํามาสานจะไดผลติ ภัณฑท่มี คี วามคงตัว เหมาะสาํ หรบั นําไปใชเ ปน เคร่ืองนุงหม สามารถนําไปซักรีดได โดยไมเสียรูป หรือเส่ือมคุณภาพ โดยเสนใยน้ันมีท้ังที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และไดจากการสงั เคราะห ภาพที่ 1.7 เสนใย ท่ีมา : http://santext.igetweb.com 3) พลาสตกิ (Plastic) คอื พอลิเมอรก ลุมใหญก วาพอลเิ มอรป ระเภทอน่ื ๆ เปนพอลิเมอรที่ไดจ ากการสงั เคราะหข น้ึ โดยทวั่ ไปจะมีลักษณะออนตัวไดเมือ่ ไดร บั ความรอน ทําใหสามารถนาํ ไปหลอ หรือขึน้ รูปเปนรูปตาง ๆ ได มีสมบตั ิระหวางเสนใยกบั อลิ าสโตเมอร พลาสติกอาจจาํ แนกไดเ ปน พลาสตกิ ยดื หยุน และพลาสติกแขง็ ภาพท่ี 1.8 พลาสตกิ ที่มา : http://www.kanchanapisek.or.th
8 4) วัสดเุ คลือบผิว (Coating Materials) คอื พอลิเมอรท ่ีใชใ นการปองกนัตกแตง ผิวหนา ของวสั ดรุ วมถึงพอลิเมอรขนาดเลก็ ทีใ่ หส ี ใชยอมผาใหมสี ตี า ง ๆ พอลเิ มอรกนั น้าํบางชนิดเคลือบเหลก็ ไมใหเกิดสนิม นอกจากนี้ ยงั รวมถงึ กาว กาวลาเทกซ และกาวพอลิเมอรชนดิ ตาง ๆ ภาพท่ี 9 วสั ดเุ คลือบผวิ 2.3 วัสดปุ ระเภทเซรามกิ ส เซรามิกส มีรากศัพทมาจากภาษากรีกวา “เครามอส (Keramos)” หมายถึงวัตถุทีผ่ า นการเผา ดังน้นั ผลติ ภณั ฑเ ซรามิกสจึงครอบคลุมผลติ ภัณฑตา ง ๆ ท่ใี ชความรอนในกระบวนการผลิต ปจจุบัน เซรามิกส หมายถึง ผลิตภัณฑที่ทําจากวัตถุดิบในธรรมชาติ เชนดิน หิน ทราย และแรธาตุตาง ๆ นํามาผสมกัน ทําเปนสิ่งประดิษฐแลวเผาเพ่ือเปลี่ยนเนื้อวัสดุใหมีความแขง็ แรงและคงรปู อยูได เชน อิฐ ถว ยชาม แกว แจกนั เปน ตน วสั ดปุ ระเภทเซรามกิ ส สว นใหญใ ชวตั ถุดิบอยู 2 กลุมใหญ ๆ คือ วัตถุดิบหลักเชน ดิน เฟลดสปาร อวอตซ และวัตถุดิบรอง ซึ่งเปนวัตถุดิบชวยเสริมใหผลิตภัณฑท่ีไดมีคณุ ภาพสูงขึน้ เชน ดิกไคซ โดโลไมต และสารประกอบออกไซดบ างชนดิ ดนิ (Clays) เปนวตั ถุดบิ สําคญั ในการผลติ เซรามกิ สห ลายประเภท โดยเฉพาะผลิตภัณฑที่ใชเปนภาชนะใสอาหาร เคร่ืองสุขภัณฑ กระเบื้อง เปนตน ถาแบงดินตามลักษณะทางกายภาพอาจจําแนกไดเปน ดินขาว (Chaina clays) และดนิ เหนียว (Ball clays)
9 เฟลดส ปาร (Feldspar) หรือหินฟนมา เปนสารประกอบอะลูมิโนซลิ ิเกต (Al3O5Si) ใชผ สมกับดนิ เพอื่ ชวยใหสว นผสมหลอมตวั ทอ่ี ุณหภมู ิตา่ํ และทาํ ใหผลติ ภัณฑมคี วามโปรงแสง ใชผสมในนํ้ายาเคลอื บทาํ ใหผลติ ภณั ฑมีความแวววาว ในอุตสาหกรรมแกว เม่ือเฟลดส ปารหลอมตวั กับแกว จะทาํ ใหแกว มีความเหนียว คงทนตอ การกระแทก และทนตอความรอ นเฉยี บพลัน ควอตซ (Quartz) หรอื หนิ เข้ยี วหนุมาน เปนสารประกอบออกไซดข องซิลิคอนไดออกไซค (SiO2) หรือทเ่ี รยี กวา ซลิ ิกา สวนมากมลี ักษณะใสไมม ีสี แตถามมี ลทินเจอื ปนจะทําใหเ กดิ สีตาง ๆ ควอตซ ทําหนาทเี่ ปน โครงสรา งของผลติ ภณั ฑเ ซรามิกส ชว ยใหเกิดความแข็งแรง ไมโ คง งอ ทําใหผ ลิตภณั ฑทัง้ กอนเผาและหลงั เผาหดตวั นอย แรโ ดโลไมต (Dolomite) หรอื หินตะกอนท่ีมอี งคป ระกอบหลัก คือแคลเซียมแมกนีเซียมคารบอเนต (CaMg(CO3)2 มีลักษณะคลายหนิ ปนู ใชผสมกับเน้ือดนิ เพ่อืลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และใชผสมในน้ํายาเคลอื บ สารประกอบออกไซด เปนสารที่ใชเตมิ เพอื่ ใหผลิตภณั ฑมสี มบตั แิ ละคุณภาพตามทต่ี อ งการ เชน มีสมบัตทิ นไฟ มสี มบตั โิ ปรง แสงทึบแสง นอกจากน้ียังมีวัตถุดิบอ่ืนๆ เชน ดิกไคต ซ่ึงมีองคประกอบเหมือนดิน แตมีโครงสรางผลึกและสัดสวนขององคประกอบตางกัน ปริมาณอะลูมินาที่องคประกอบมีผลตอสมบัติของผลิตภัณฑถาอะลูมินาเปนองคประกอบรอยละ 28 – 32 โดยมวล จะมีลักษณะเปนหินแข็งเหมาะสําหรับแกะสลักเปนรูปตางๆ แตถาอะลูมินาเปนองคประกอบรอยละ11 –28โดยมวล เหมาะสําหรับใชผลิตวัสดุทนไฟ กระเบื้องปูพื้นและถามีอะลูมินาเปนองคประกอบในสดั สวนท่นี อยกวาน้จี ะใชผสมทาํ ปูนซีเมนตขาว เปนตน
10 กระบวนการผลิตเซรามิกสแตล ะชนดิ ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ เชนการเตรียมวตั ถดุ บิ การข้ึนรูป การตากแหง การเผาดิบ การเคลอื บ การเผาเคลือบ นอกจากน้ีการตกแตง ใหสวยงามโดยการเขยี นลวดลายดว ยสหี รือการติดรูปลอก ซง่ึ สามารถทาํ ไดทั้งกอนและหลังการเคลอื บ ภาพท่ี 1.10 วัสดุประเภทวัสดเุ ซรามกิ ส ในชีวติ ประจําวัน ท่มี า : http://www.hong-pak.com
11เรื่องที่ 2 สมบตั ิของวสั ดุ การศกึ ษาและทดสอบสมบัตขิ องวัสดุ มีความสําคัญและมคี วามจาํ เปน ตอผูปฏิบัติงาน ท้ังในดานวิทยาศาสตร วิศวกรรม และดานเทคโนโลยี เพราะแตละกลุมยอมตองมีความรู ความเขาใจในศาสตรของวัสดุ เพ่ือใชอธิบายปรากฏการณตาง ๆ สําหรับการออกแบบหรือผลิตผลิตภัณฑ ตลอดจนการสังเคราะหวัสดุชนิดใหม แตการศึกษาสมบัติวัสดุนี้อาจศึกษาในรายละเอียดท่แี ตกตา งกัน เชน หากเปน การศึกษาทางวิทยาศาสตรข องวัสดุ จะเปนการศึกษาความสัมพันธท่ีเกิดข้ึนระหวางโครงสรางและสมบัติของวัสดุ การศึกษาทางวิศวกรรมศาสตรของวสั ดุ จะเปนการอาศัยความสัมพันธระหวางโครงสรางและสมบัติในการออกแบบ เพ่ือสรางผลติ ภณั ฑใหไดต ามตองการ ดังนนั้ การศกึ ษาสมบัตขิ องวัสดโุ ดยทวั่ ๆ ไป จาํ แนกได ดงั นี้ 1) สมบตั ทิ างเคมี (Chemical properties) เปนสมบตั ทิ ส่ี าํ คัญของวสั ดซุ ่งึ จะบอกลักษณะเฉพาะตัวท่ีเก่ียวกับโครงสรางและองคประกอบของธาตุตาง ๆ ที่เปนวัสดุน้ัน ตามปกติสมบัติน้ีจะทราบไดจากการทดลองในหองปฏบิ ัตกิ ารเทานัน้ โดยใชวธิ กี ารวิเคราะหแบบทาํ ลายหรอื ไมท าํ ลายตวั อยาง 2) สมบัตทิ างกายภาพ (Physical properties) เปน สมบัติเฉพาะของวัสดุทีเ่ กยี่ วกบั การเกดิ อันตรกิรยิ า (Interaction) ของวสั ดุน้นั กับพลงั งานในรูปตาง ๆ กัน เชน ลักษณะของสี ความหนาแนน การหลอมเหลว ปรากฏการท่ีเกิดเก่ยี วกบั สนามแมเหล็กหรอื สนามไฟฟา เปนตน การทดสอบสมบตั นิ ้จี ะไมม ีการทําใหวสั ดนุ ้นั เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมหี รอื ถกู ทําลาย 3) สมบตั ิเชิงกล (Mechanical properties) เปนสมบตั ิเฉพาะตัวของวัสดุท่ีถกู กระทําดว ยแรง โดยทัว่ ไปจะเกยี่ วกับการยดื และหดตัวของวสั ดุ ความแข็ง ความสามารถในการรับนํ้าหนกั ความสึกหรอ และการดดู กลนืพลังงาน เปนตน 4) คุณสมบตั ทิ างความรอ น (Thermal properties) เปนการตอบสนองของวัสดุตอปฏิบัติการทางความรอน เชน การดูดซับพลังงานของของแข็งในรูปของความรอนดวยการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิและขนาด พลังงานจะถายเทไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่ากวาถาวัสดุมีสองบริเวณที่มีอุณหภูมิตางกัน โดยวัสดุอาจเกิดการหลอมเหลวในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ความจุความรอน การขยายตัวจากความรอนและการนําความรอนเปน สมบตั ิทางความรอนทส่ี ําคญั ของวัสดขุ องแข็งในการนําไปใชง าน
12 3.1 สมบัตวิ ัสดุประเภทโลหะ (Metallic Materials) วสั ดุพวกนีเ้ ปนสารอนินทรีย (Inorganic substances) ทีป่ ระกอบดว ยธาตุ ที่เปน โลหะเพยี งชนิดเดียวหรอื หลายชนดิ ก็ได และอโลหะประกอบอยูดว ยก็ได ธาตทุ ่ีเปน โลหะ ไดแก เหล็ก ทองแดง อะลูมเิ นยี ม นกิ เกิล และไทเทเนยี ม ธาตุท่ีเปน อโลหะ ไดแ กคารบ อน ไนโตรเจน และออกซิเจน โลหะท่ีมีโครงสรางเปนผลกึ ซง่ึ อะตอมจะมกี ารจัดเรยี งตัวอยางเปน ระเบียบและเฉพาะ ทาํ ใหโลหะมีสมบตั ิ ดงั นี้ 1. การนําไฟฟา เปน ตวั นําไฟฟาไดดี เพราะมอี เิ ล็กตรอนเคลือ่ นท่ีไปไดง า ยท่ัวท้ังกอ นของโลหะ แตโ ลหะนําไฟฟา ไดน อยลง เมอ่ื อุณหภูมสิ ูงข้นึ เนอื่ งจากไอออนบวกมกี ารสัน่ สะเทอื นดว ยความถี่และชว งกวางทสี่ งู ข้ึนทาํ ใหอิเลก็ ตรอนเคลอ่ื นทไ่ี มสะดวก 2. การนาํ ความรอน โลหะนําความรอนไดด ี เพราะมอี เิ ล็กตรอนที่เคลือ่ นทีไ่ ด โดยอิเล็กตรอนซ่ึงอยูตรงตําแหนง ท่ีมอี ุณหภูมิสงู จะมีพลังงานจลนสูง และอิเล็กตรอนทม่ี ีพลังงานจลนสูงจะเคล่ือนทไี่ ปยงั สวนอน่ื ของโลหะจงึ สามารถถา ยเทความรอ นใหแ กสว นอื่น ๆ ของ แทงโลหะที่มอี ณุ หภูมิต่ํากวา ได 3. ความเหนียว โลหะตีแผเปนแผนหรือดึงออกเปนเสนได เพราะไอออนบวก แตละไอออนอยูในสภาพเหมือนกัน ๆ กัน และไดรับแรงดึงดูดจากประจุลบเทากันทั้งแทงโลหะไอออนบวกจึงเล่ือนไถลผานกันไดโดยไมหลุดจากกัน เพราะมีกลุมขอองอิเล็กตรอนทําหนาท่ีคอยยดึ ไอออนบวกเหลา น้ีไว 4. ความมนั วาว โลหะมผี ิวเปนมนั วาว เพราะกลมุ ของอิเล็กตรอนท่ีเคล่ือนท่ีได โดยอิสระจะรบั และกระจายแสงออกมา จงึ ทาํ ให โลหะสามารถสะทอนแสงซงึ่ เปน คลื่นแมเ หล็กไฟฟา ได 5. จดุ หลอมเหลว โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะ เปนพันธะที่เกิดจากแรงยดึ เหน่ยี วระหวา งวาเลนซอิเลก็ ตรอนอสิ ระทงั้ หมดในกอนโลหะกบั ไอออนจงึ เปนพนั ธะทีแ่ ข็งแรงมาก
13 3.2 สมบัติวัสดพุ อลเิ มอร ชนดิ ของสมบัตขิ องพอลิเมอรแบงอยางกวางๆไดเปนหลายหมวดข้ึนกับความละเอียด ในระดับนาโนหรือไมโครเปนสมบัติท่ีอธิบายลักษณะของสายโดยตรงโดยเฉพาะโครงสรางของพอลิเมอร ในระดับกลาง เปนสมบัติท่ีอธิบายสัณฐานของพอลิเมอรเม่ืออยูในที่วาง ในระดับกวางเปนการอธิบายพฤติกรรมโดยรวมของพอลิเมอร ซึ่งเปนสมบัติในระดับการใชงาน 1. จดุ หลอมเหลว จุดหลอมเหลวที่ใชกับพอลิเมอรไมใชการเปลี่ยนสถานะ จากของแข็งเปนของเหลวแตเปนการเปล่ียนจากรูปผลึกหรือ ก่ึงผลึกมาเปนรูปของแข็ง บางคร้ังเรียกวาจุดหลอมเหลวผลึก ในกลุมของพอลิเมอรสังเคราะหจุดหลอมเหลวผลึกยังเปนที่ ถกเถียงในกรณีของเทอรโ มพลาสตกิ เชน เทอรโ มเซตพอลเิ มอร ท่ีสลายตวั ในอุณหภูมิสงู มากกวาจะหลอมเหลว 2. พฤตกิ รรมการผสม โดยท่ัวไปสวนผสมของพอลิเมอรมีการผสมกันไดนอยกวา การผสมของโมเลกุลเล็กๆผลกระทบน้ีเปนผลจากแรงขับเคลื่อนสําหรับการผสมที่เปนแบบระบบปด ไมใชแบบใชพลงั งาน หรืออีกอยา งหน่ึง วัสดทุ ่ผี สมกนั ไดท ่เี กิดเปน สารละลายไมใชเพราะปฏิสัมพันธระหวางโมเลกุลท่ีชอบทําปฏิกิริยากัน แตเปนเพราะการเพ่ิมคาเอนโทรปและพลังงานอิสระท่ีเกย่ี วขอ งกบั การเพิ่มปริมาตรที่ใชงานไดของแตละสวนประกอบ การเพ่ิมข้ึนในระดับเอนโทรปขน้ึ กับจาํ นวนของอนภุ าคทนี่ ํามาผสมกนั 3. การแตกก่ิง การแตกกิ่ง ของสายพอลิเมอรมีผลกระทบตอสมบัติทั้งหมดของพอลิเมอร สายยาวที่แตกก่ิงจะเพิ่มความเหนียว เน่ืองจากการเพ่ิมจํานวนของความซับซอนตอสายความยาวอยางสุม และสายส้ันจะลดแรงภายในพอลิเมอรเพราะการรบกวนการจัดตัวโซขางสั้นๆ ลดความเปนผลึกเพราะรบกวนโครงสรางผลึก การลดความเปนผลึกเก่ียวของกับการเพิ่มลักษณะโปรง ใสแบบกระจกเพราะแสงผานบริเวณที่เปนผลกึ ขนาดเล็ก 4. การนาํ ความรอ น การนาํ ความรอนของพอลิเมอร สว นใหญม ีคา ต่าํ ดวยเหตนุ ีว้ สั ดพุ อลิเมอรจ ึงถูกนาํ มาใชเปน ฉนวนทางความรอน เนื่องจากคา การนาํ ความรอนตํา่ เชนเดียวกบั วัสดุเซรามิกส โดยสมบัตคิ วามเปน ฉนวนของพอลเิ มอรจะสงู ขน้ึ จากโครงสรางทม่ี ีลักษณะเปนรูอากาศเลก็ ๆ ท่เี กดิ จากกระบวนการเกดิ polymerization เชน โฟมพอลไี สตรีนหรือที่เรยี กวาStyrofoam ซึ่งมักถกู นํามาใชเ ปน ฉนวนกนั ความรอ น
14 3.3 สมบัตวิ สั ดุเซรามกิ ส วสั ดุเซรามิกส เปนสารอนินทรียที่ประกอบดวยธาตุที่เปนโลหะและธาตุท่ีเปนอโลหะรวมตัวกันดวยพันธะเคมี ที่ยึดจับตัวกันจากการผานกระบวนการผลิตที่อุณหภูมิสูง วัสดุเซรามิกสมีโครงสรางเปนไดทั้งแบบมีรูปรางผลึก และไมมีรูปรางผลึกหรือเปนของผสมของท้ังสองแบบ 1. การนาํ ความรอ น การนําความรอนของเซรามิกส จะเปนฉนวนความรอนมากขึ้นตามจํานวนอิเล็กตรอนอิสระที่ลดลง คาการนําความรอนของวัสดุเซรามิกอยูในชวงประมาณ 2 ถึง50 วตั ตตอเมตรเคลวิน เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นการกระเจิงจากการสั่นของผลึกจะมากขึ้น ทําใหการนาํ ความรอ นของวสั ดุเซรามิกสล ดลง แตคาการนําความรอนจะกลับเพิ่มข้ึนอีกครั้งที่อุณหภูมิสูงทั้งนี้ เนื่องจากการถายเทความรอนของรังสีอินฟราเรด จํานวนหนึ่งจะสามารถทําใหความรอนถายเทผานวัสดุเซรามิกสโปรงใสได โดยประสิทธิภาพการนําความรอนของกระบวนการน้ีจะเพ่ิมขึ้นตามอุณหภูมิท่ีสูงข้ึน สมบัติดานการเปนฉนวนควบคูไปกับการทนความรอนสูง ๆ และทนตอ การขัดสี ทาํ ใหเซรามิกสหลายชนิดสามารถนําไปใชบุผนังเตาเผาที่อุณหภูมิสูงเพื่อหลอมโลหะ เชน เตาหลอมเหล็กกลา การนําเซรามิกสไปใชงานทางอวกาศนับวามีความสําคัญมากคือ ใชกระเบ้ืองเซรามิกสบุผนังกระสวยอวกาศ (space shuttle) วัสดุเซรามิกสเหลาน้ีชวยกันความรอ นไมใหผา นเขาไปถึงโครงสรางอะลูมิเนียมภายในกระสวยอวกาศเม่ือขณะบินออก และกลับเขา สูบ รรยากาศของโลกซง่ึ มอี ุณหภมู สิ ูงถงึ 800 องศาเซลเซียส 2. ความเหนยี วของเซรามิกส เนื่องจากพนั ธะทเ่ี กิดขึน้ ภายในโครงสรา งของเซรามิกเปนพนั ธะแบบไอออนิก – โคเวเลนต ดังน้ันวัสดุเซรามิกสจะมีความเหนียว (toughness) ที่ต่ํา มีงานวิจัยมากมายท่ีพยายามคนควาเพ่ือ ปรับปรุง ความเหนียวของเซรามิกส อาทิเชน การทําอัดดวยความรอน (hot pressing) และเติม สารเคมีบางชนิดเพ่ือใหเกิดพันธะข้ึน การทดสอบความตานทานตอ การขยายตวั ของรอยแตก (fracture – toughness tests) กับวัสดุเซรามิกสเพ่ือหาคาความสามารถกระทาํ ไดเ ชนเดยี วกบั ในโลหะ
15 3.ความแขง็ ของเซรามกิ ส เนื่องจากเซรามิกสมีความแข็งมาก ทําใหเราสามารถนําเอาวัสดุเซรามิกสมาใชเปนวัสดุสําหรับ ขัดสี (abrasive materials) เพื่อตัด บด และขัดถูวัสดุอ่ืนที่มีความแข็งนอยกวา เซรามิกสเหลานี้ ไดแกอลูมิเนียมออกไชด (aluminum oxide) และซิลิคอนคารไบด (silicon carbide) เซรามกิ สท่ีใช เปนวัสดุสําหรับขัดสีจะตองมีอนุภาคท่ีแข็งและมีปริมาณรูพรนุ ที่พอเหมาะ เพ่ือใหอ ากาศและของ เหลวไหลผานโครงสรางได อลูมิเนียมออกไซดมักจะมีความเหนียวที่สูงกวาซิลิคอนคารไบดแต ไมแข็งเทา ดังน้ันซิลิคอนคารไบดจึงถูกใชมากกวา ในขณะเดียวกันเม่ือผสมเซอรโคเนียมออกไชด (zirconium oxide) ลงไป อลูมิเนียมออกไชดจะทาํ ใหเราไดวสั ดขุ ัดสมี ีความแข็งแรง ความแขง็ และความคมมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ียังมีเซรามิกสที่ใชสําหรับขัดสี (abrasive ceramic) ที่สําคัญอีกชนิดหนึ่งคือโบรอนไนไตรด (boron nitride)ซ่งึ มชี ือ่ ทางการคาวา Borazon ซ่งึ มีความแข็ง เกือบเทา กบั เพชร แตท นความรอนไดด ีกวาเพชร กลา วโดยสรปุ การศกึ ษาสมบัติของวสั ดุแตล ะประเภท มคี วามสําคญั และมคี วามจําเปน ตอ ผปู ฏบิ ัตงิ านอยา งมาก เพอ่ื ใหส ามารถออกแบบและสรางผลติ ภณั ฑใหไ ดตามความตอ งการและเกดิ ประโยชนต อการใชง านมากทส่ี ุด โดยการออกแบบผลิตภัณฑจ ะตอ งคํานึงถงึ ชนดิ และสมบตั ิของวสั ดทุ จี่ ะนาํ ไปใชตัวอยา งสมบตั ิของวสั ดุชนดิ ตาง ๆ สมบตั ิ ชนิดของวัสดุ นําไฟฟา ดี สามารถทาํ ใหมีรูปรา งตา งๆ ไดดี สามารถหลอ ได กลงึ ได รบั การสั่นไดโลหะ ทองแดง (Cu) มีความแขง็ แรงสงู และสามารถเพมิ่ ความแขง็ แรงเหลก็ หลอ (cast iron) ไดด วยความรอนเหลก็ กลา ผสม (alloy steel) ทําเปน แผนฟล ม บางๆได ออนตัวได เปนฉนวน ความรอ นและไฟฟาพอลิเมอร ผิวแขง็ ทนทานตอการขดี ขว น ออ นตวั ไดพอลิเอทีลนี (Polyethylene: PE) เปน ฉนวนไฟฟาทดี่ ีมาก แมท ่อี ณุ หภูมิสงูพอลิโพรไพลนี (Polypropylene:PP)พอลไิ วนิลคลอไรด (Polyvinyl เปนฉนวนไฟฟาอยา งดี ไมตดิ ไฟ มีลักษณะเปนchloride: PVC) ของแขง็ คงรปู และออนนุมเหนียว สามารถพอลไิ วนิลอะซิเตต (Polyvinyl นําไปใชง านไดอ ยา งกวางขวาง ออนนม่ิ เปน ของเหลวขน หนืด สขี นุ ขาว เมอ่ื แหง
16ชนดิ ของวัสดุ สมบัติacetate: PVA) จะใส ไมสามารถหลอ ขึน้ รูปดว ยวธิ แี มพิมพพอลสิ ไตรีน (Polystyrene: PS) แข็ง แตเปราะ แตกรานงา ย นาํ้ หนักเบา เปน ฉนวนไฟฟาพอลอิ ะครเิ ลต (Polyacrylate) มีความโปรง ใสคลายกระจก มีจดุ ออ นตัวตาํ่ มคี วามเหนียว คงรูปดีมากและทนทานตอ การขีดขว นพอลคิ ารบ อเนต (Polycarbonate) โปรงใส และแข็งมาก ตา นทานการขีดขว น ไดดีไนลอน(Nylon) เหนียว และมีผิวลืน่พอลเิ ททระฟลอู อโรเอทลิ ีน ทนทานตอ การกัดกรอนของสารเคมี และ(Polytetrafluoroethylene : ทนความรอนสงู สขี าวขุน ผวิ มคี วามล่นื มันPTFE) ไมตอ งการสารหลอ ลน่ืฟนอลฟอรมาลดไี ฮด เนอ้ื แขง็ คงตัว แตเ ปราะ ทนทานตอการผุกรอน(PhenolFormaldehyde :Bakelite)อพี อกซ(ี Epoxy) เปนฉนวนไฟฟาและกนั ความช้นื ไดซิลคิ อนไดออกไซด (SiO2) ใหป ระโยชนทางแสง และเปน ฉนวนความรอน(วสั ดุหลักในการผลติ แกว )แมกนีเซยี มออกไซด (MgO) เปนฉนวนความรอน,หลอมเหลวท่อี ุณหภูมสิ งู , สมบตั ิเฉอื่ ยตอ โลหะทีห่ ลอมเหลวแบเรียมไทเทไนท (BaTiO3) เปลย่ี นเสียงเปน ไฟฟา โดยอาศยั สมบตั กิ าร เปลย่ี นแปลงความตานทาน กจิ กรรมทายหนว ยที่ 1 หลังจากท่ีผูเรยี นศึกษาเอกสารชดุ การเรียนหนวยที่ 1 จบแลว ใหศึกษาคน ควาเพิม่ เติมจากแหลงเรยี นรตู าง ๆ แลวทํากจิ กรรมการเรียนหนว ยท่ี 1 ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู แลวจัดสงตามทค่ี รผู สู อนกําหนด
17 หนวยที่ 2 การใชป ระโยชนแ ละผลกระทบจากวสั ดุสาระสาํ คัญ มนุษยมีความผูกพันกับวัสดุศาสตรมาเปนเวลาชานาน โดยเราสามารถพัฒนาสมบัติของวัสดใุ หส ามารถใชงานในดานตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน ในการพัฒนาสมบัติของวัสดุยอมเกิดมลพษิ จากการผลติ และการใชงานวัสดุ และเกิดผลกระทบท่ีเกิดจากการใชวัสดุตอส่ิงมีชีวิตและสิง่ แวดลอมไดตัวชว้ี ดั 1. อธิบายถึงการใชประโยชนจากวสั ดุ 2. สามารถประยกุ ตใชป ระโยชนจ ากวัสดุได 3. อธบิ ายสาเหตุของมลพษิ จากการผลติ และการใชง านได 4. นําความรูเรื่องมลพษิ จากการผลติ และการใชงานไปใชไ ด 5. อธบิ ายผลกระทบที่เกิดจากการใชว ัสดตุ อ ส่งิ มีชีวิตและสิง่ แวดลอม 6. นาํ ความรเู ร่ืองผลกระทบท่ีเกดิ จากการใชว ัสดุตอสิ่งมีชีวติ และส่งิ แวดลอ มไปใชไดขอบขายเนื้อหา 1. การใชประโยชนจ ากวัสดุ 2. มลพษิ จากการผลิตและการใชงาน 3. ผลกระทบจากการใชวัสดุตอสงิ่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอม
18 หนวยที่ 2 การใชประโยชนแ ละ ผลกระทบจากวัสดุเร่อื งท่ี 1 การใชประโยชนจ ากวสั ดุ มนุษยมีความผูกพันกับวัสดุศาสตรมาเปนเวลาชานาน หรืออาจกลาวไดวา“วัสดุศาสตรอ ยรู อบตวั เรา” ซึ่งวัตถุตา งๆ ลวนประกอบขึ้นจากวัสดุ โดยเราสามารถพัฒนาสมบัติของวัสดใุ หสามารถใชงานในดานตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน สามารถจําแนกไดเปน 3 ประเภท ไดแกโลหะ พอลเิ มอร และเซรามิกส 1.1 วัสดปุ ระเภทโลหะ โลหะที่นิยมนาํ มาใชในงานอตุ สาหกรรมสามารถแบง เปนกลุม ใหญ ๆ3 ประเภท ไดแก 1) โลหะจําพวกเหล็ก (Ferrous metal) เปนโลหะท่ีมีแหลงที่มาจากสินแรเหลก็ ซึ่งเปนแรม ีปรมิ าณมากบนพ้นื ผวิ โลกและมกี ารนาํ มาใชป ระโยชนค ดิ เปน ปรมิ าณมากทีส่ ุด 2) โลหะนอกกลุม เหล็ก (Nonferrous metal) สามารถแบง เปน ประเภทยอ ย ๆ ได 3 ชนดิ คอื กลมุ โลหะพ้ืนฐาน เปนโลหะทีม่ แี หลงกําเนิดเปนแรประเภทออกไซดหรือซลั ไฟดซ งึ่ มีกระบวนถลงุ เอาโลหะออกมาไดง า ย เชน ทองแดง ตะกว่ั สงั กะสี ดีบกุ พลวงเปน ตน กลุมโลหะหนัก เปนโลหะท่ีมีความหนาแนนสูงกวา 5 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร เชนแทนทาลัม ไทเทเนียม แคดเมียม ปรอท โครเมียม แมงกานีส นิกเกิล เปนตน และกลุมโลหะเบา ซ่ึงเปนโลหะที่มีความหนาแนนนอยกวา 5 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร เชน อะลูมิเนียมแมกนเี ซียม เบรลิ เลียม เปน ตน 3) โลหะมีคา (Precious metal) เปนโลหะท่ีมีสีสันสวยงามและคงทน จึงนิยมใชทาํ เปนเคร่อื งประดับ เชน ทองคํา เงิน และแพลทินมั นอกจากนโ้ี ลหะมีคายังมีความสาํ คัญในดา นทุนสาํ รองเงนิ ตราระหวางประเทศ เนอ่ื งจากมลู คาของโลหะประเภทนี้ มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนอ่ื ง
19 เนื่องดว ยโลหะมคี ุณสมบตั ทิ ี่ดีมากมายหลายประการจึงทําใหความตองการใชโลหะมเี พ่มิ มากขึน้ มาโดยตลอด ดังจะเห็นไดจากปจจุบันท่ีโลหะเขามาเปนสวนหน่ึงในชีวิตประจําวันของมนุษยจนขาดไมได ทั้งเครื่องใชครัวเรือน ภาชนะบรรจุภัณฑ เครื่องประดับ เฟอรนิเจอรอุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกส ยานพาหนะ ส่ิงกอสราง ผลงานศิลปะ หรือแมกระทั่งอาวุธยุทโธปกรณ กล็ ว นแตท าํ ขนึ้ ดว ยมโี ลหะเปน สว นประกอบทัง้ ส้นิ โลหะสามารถนํามาใชประโยชนทง้ั ในรูปของโลหะบริสทุ ธิ์ โลหะผสมประเภทตางๆ และสารประกอบโลหะ การใชประโยชนของโลหะชนิดตา ง ๆ 1. เหลก็ เหล็กเปนแรธาตุโลหะที่มีอยูบนพ้ืนผิวโลกมากท่ีสุด เปนอันดับสองรองจากอะลมู เิ นียม มนุษยไดคิดคนวธิ กี ารถลุงแรเหล็กมาเปนเวลานานกวา 3,500 ป โดยในยุคเริ่มแรกไดนํามาใชเ พ่อื การสงคราม และดวยคุณสมบัติทดี่ หี ลายประการโดยเฉพาะดานความแข็งแรงสูงและมรี าคาถูก ทําใหป จจุบันเหลก็ นับเปนโลหะท่มี ีการนํามาใชประโยชนมากที่สุดในโลก โดยมีปริมาณการผลิตเหล็กคิดเปนรอยละ 95 ของปริมาณการผลิตโลหะทั้งหมด สําหรับทางอตุ สาหกรรมมกี ารนําเหลก็ มาใชอ ยางแพรห ลายในรปู ของเหล็กหลอ (Cast iron) และเหล็กกลา(Steel) การใชป ระโยชนของโลหะเหล็ก เหล็กมีการนําไปใชประโยชนมากมายนับต้ังแตการใชเปนวัสดุสําหรับงานกอสรางตา งๆ เชน โครงสรางอาคาร เสา คาน หลังคา สะพาน เสาไฟฟาแรงสูง เปนตน ในอุตสาหกรรมคมนาคมขนสงก็มีการใชเหล็กเปนวัสดุสําหรับผลิตยานพาหนะตางๆ เชน รถยนต รถบรรทุกรถไฟ เรือเดินสมุทร และเคร่ืองบิน นอกจากนี้ของใชตางๆ ในชีวิตประจําวันของเราก็ลวนมีสวนประกอบท่ที าํ จากเหล็กท้ังสนิ้ ไมวา จะเปน ตเู ยน็ เครอ่ื งปรับอากาศ พัดลม นาฬิกาเคร่ืองซักผา หมอหุงขาว กระทะ เตาแกส ถังแกส เตารีด โตะ เกาอี้ มุงลวด ทอน้ํา ชอน สอมมดี ฯลฯ
20 2. ดบี ุก ดีบุกเปนโลหะสีขาวซ่ึงมีการนํามาใชประโยชนเปนเวลานานแลว เนื่องจากดีบุกสามารถผสมเปนเนื้อเดียวกับทองแดงไดดี การใชงานในชวงแรกจึงเปนการผลิตโลหะผสมระหวางดีบุกกับทองแดงหรือท่ีเรียกวา โลหะสัมริด (Bronze) ซึ่งมีการใชคนพบมาตั้งแตประมาณ 3,500 ปกอ นครสิ ตกาล ดีบุกจัดเปนโลหะท่ีมีลกั ษณะเดน คอื มคี วามออนตัวสงูมีความตา นทานตอการกัดกรอ นสูง และมคี ณุ สมบตั ิดานหลอ ลื่นดี การใชป ระโยชนของโลหะดบี กุ โลหะดีบุกเปนโลหะออนจึงไมใชดีบุกในการผลิตช้ินสวนจักรกล แตดวยคุณสมบัติเดนที่มีความทนทานตอการกดั กรอ นของกรดและสารละลายตาง ๆ ทนตอการเปนสนิม มีความเงางาม สวยงาม และไมกอใหเกิดสารพิษที่เปนอันตรายตอรางกาย จึงนิยมใชในการเคลือบแผนเหล็กเพ่ือผลิตเปนภาชนะบรรจุอาหารและเคร่ืองด่ืม ดีบุกเมื่อรีดเปนแผนบาง ๆ สามารถนําไปใชหอส่ิงของตาง ๆ เพื่อปองกันความช้ืนไดดี นอกจากนี้โลหะดีบุกยังมีคุณสมบัติในการผสมเปน เนื้อเดียวกับโลหะอ่ืนไดดี จึงสามารถผลิตเปนโลหะดีบุกผสมที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการใชงานไดอยางกวางขวาง เชน โลหะดีบุกผสมตะกั่ว พลวง หรือสังกะสี ท่ีใชในการผลิตโลหะบัดกรีสําหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา และคอมพิวเตอร โลหะดีบุกผสมตะก่ัวเพ่ือใชผลิตหมอนํ้ารถยนตและชิ้นสวนยานยนต โลหะดีบุกผสมทองแดงท่ีใชในการผลิตทองสมั ฤทธ์เิ พื่อทําระฆังและศลิ ปะวตั ถุตา ง ๆ โลหะดีบกุ ผสมเงิน ทองแดง และปรอท ใชส าํ หรับอุดฟนและงานทันตกรรม นอกจากนี้ยังใชทําโลหะดีบุกผสมทองแดงและพลวงหรือท่ี เรียกวาพิวเตอร (Pewter) ซ่ึงนิยมนําไปผลิตเปนเครื่องใช เคร่ืองประดับตกแตง ของท่ีระลึก ตลอดจนการชุบเคลือบตาง ๆ อีกดวย โลหะดีบุกท่ีสําคัญอีกชนิดหน่ึงท่ีใชทําเปนโลหะแบร่ิง มีช่ือวาBabbit เปนโลหะทป่ี ระกอบดวย ดีบุก พลวง ทองแดง และอาจมีตะกั่วผสมอีกเล็กนอย โลหะผสมชนดิ นมี้ โี ครงสรา งพนื้ ฐานท่ีออนและมีสัมประสิทธิ์ความฝดตํ่าทําใหเหมาะที่จะใชเปนโลหะแบริง่
21 3. ตะกั่ว ตะกว่ั เปนท่ีรจู กั มานานตั้งแต 3,500 ปกอนคริสตกาล ในอียิปตสมัยโบราณมีการใชแรตะกั่วเปนเคร่ืองสําอางสําหรับทาตา โลหะตะก่ัวก็นับเปนโลหะชนิดหนึ่งท่ีมีการใชมานานที่สดุ การคน พบโลหะตะก่ัวเกดิ ข้นึ โดยบังเอญิ โดยขณะท่ีมีการกอกองไฟบนแรทม่ี ีสว นผสมของตะก่วั ไดเกิดมโี ลหะตะก่ัวหลอมเหลวไหลออกมาบริเวณกองไฟน้ัน เนอื่ งจากตะกว่ั มีจุดหลอมเหลวตํ่า จงึ สามารถสกดั เอาโลหะออกจากแรไ ดโดยงา ยดว ยอณุ หภูมิที่ไมส งู นกัชาวโรมนั โบราณเร่มิ นําโลหะตะก่ัวมาใชอ ยา งจรงิ จังสาํ หรับผลิตเปนภาชนะและทอนํ้า ซึ่งยังคงหลกั ฐานอยูจ นกระทั่งปจ จุบนั นบั จากน้ันกไ็ ดม กี ารใชประโยชนจ ากโลหะตะก่ัวอยางแพรหลายจนจัดเปนโลหะท่ีมีการใชมากที่สุดเปนอันดับหารองจาก เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง และสังกะสี การใชประโยชนข องโลหะตะกวั่ โลหะตะกั่วเปนมีคุณสมบัติเดนคือ มีหลอมเหลวตํ่า มีความหนาแนนสูง มีความออนตัวสูง ความแข็งแรงอยูในเกณฑตํ่า มีคุณสมบัติหลอล่ืน และตานทานการกัดกรอนไดดีการใชประโยชนโลหะตะก่ัวสวนใหญจะใชในอุตสาหกรรมทําแบตเตอร่ีรถยนต ใชเปนสารประกอบตะก่ัวสําหรับผสมทําสี ใชทําลูกกระสุนและยุทธภัณฑ ใชทําฉากก้ันเพื่อปองกันรังสีตาง ๆ เชน รังสีเอ็กซ รังสีเบตา รังสีแกมมา เปนตน นอกจากนี้ยังใชเปนธาตุผสมกับโลหะทองแดงและเหลก็ เพอ่ื เพ่มิ คุณสมบตั ดิ านการกลึงหรือตัด ซ่ึงการนําตะกั่วไปใชประโยชนในดานตาง ๆ ท้ังสภาพโลหะและสารเคมที ีส่ าํ คญั มีดังน้ี 1) แบตเตอร่ี โลหะตะกว่ั ใชม ากทส่ี ดุ ในการผลติ แบตเตอรี่ ซงึ่ ประกอบดวยแผนข้ัวและหว งยึดแบตเตอร่ี แบตเตอรี่ทีใ่ ชใ นรถยนตจะมตี ะกว่ั ประมาณ 9 - 12 กิโลกรมั 2) เปลอื กเคเบิล ใชตะก่ัวหุมสายเคเบิลไฟฟาและสื่อสารที่อยูใตดินและใตน้ํา เพ่ือปอ งกนั ความเสยี หายจากความช้ืน และการกดั แทะของหนู ซ่ึงชว ยใหไมเกิดการขัดของในระบบไฟฟาและการสื่อสาร 3) ตะกั่วแผน เน่ืองจากตะก่ัวมีคุณสมบัติตานทานการกัดกรอน จึงใชตะก่ัวแผนเปนวสั ดุกอสรางทส่ี ําคญั ในอตุ สาหกรรมเคมี และการกอสรางอาคาร แผนก้ันรังสีตาง ๆ รวมท้ังการใชตะก่ัวแผนรวมกับแอสเบสทอสและเหล็กสําหรับปูใตฐานตึกเพื่อปองกันการสั่นสะเทือนและควบคุมเสียงสําหรับรถไฟใตดิน
22 4) ทอตะก่ัว เน่ืองจากตะกั่วมีคุณสมบัติตานการกัดกัดกรอน ดัดงองาย และแปรรูปดวยการอัดรีดงา ย จึงใชทาํ ทอไรต ะเขบ็ สาํ หรบั อุตสาหกรรมเคมีและระบบทอ สงน้าํ 5) โลหะบัดกรี จากคุณสมบัติจุดหลอมเหลวตํ่าและราคาถูก จึงใชเจือกับดีบุกเปนโลหะบัดกรี (อัตราสวนดีบุกตอตะกั่ว 60-40 หรือ 70-30) เพื่อเช่ือมชิ้นงานโลหะใหติดกันโลหะบัดกรีบางชนิดอาจผสมธาตุอ่ืน เชน พลวงและเงิน เขาไปเพ่ือเพ่ิมความแข็งแกรงและตา นทานการกัดกรอน 6) โลหะตัวพิมพที่ใชในอุตสาหกรรมการพิมพ เปนโลหะผสมระหวางตะกั่ว พลวงและดีบุก โดยตะกั่วชวยใหมีจุดหลอมตัวตํ่าและหลอไดงาย พลวงชวยเพ่ิมความแข็งแรงตา นทานแรงกดและการสึกหรอ ลดอุณหภมู หิ ลอ และลดการหดตัวตัวพิมพ สําหรับดีบุกชวยใหหลอ ไดงาย ลดความเปราะ และชว ยใหต ัวพมิ พม ลี วดลายละเอยี ด 7) โลหะผสมตะกั่ว - ดีบุก (มีดีบุก 8-12%) ใชในการเคลือบผิวแผนเหล็ก เพื่อเพ่ิมความแขง็ แรงและตา นทานการกัดกรอ น นิยมใชทาํ ถงั บรรจนุ า้ํ มันรถยนต อุปกรณกรอง และมงุ หลังคา 8) ฟวสระบบตัดไฟอัตโนมัติ อาศัยคุณสมบัติท่ีมีจุดหลอมเหลวต่ํา จึงทําใหตะกั่วหลอมละลายเมอื่ มีกระแสไฟฟา ไหลผานมากเกินท่ีกาํ หนดไวในระบบ 9) รงควัตถุ ใชสําหรับเปนสีสําหรับทาเพ่ือปองกันสนิมใหเหล็กและเหล็กกลา และใชท าสีเครือ่ งหมายบนทางเทา 4. สงั กะสี สังกะสีเปนโลหะที่มีการผลิตและนํามาใชประโยชนเมื่อประมาณ 600 ปมาแลวโดยชว งแรกจะมกี ารใชมากในแถบประเทศอินเดียและจีน โดยมีการผลิตเคร่ืองใชท่ีทําจากโลหะสังกะสีผสม และนําสังกะสีออกไซดมาผสมถานหินเพื่อใชทําเคร่ืองปนดินเผา สําหรับกระบวนการผลิตโลหะสังกะสีที่เปนตนแบบของเทคโนโลยีการถลุงสังกะสีในปจจุบันถูกคิดคนในป 1738 โดยวลิ เลย่ี ม แชมเปยม ทําใหมีการใชสังกะสีอยางแพรหลาย และถือเปนโลหะท่ีมีปรมิ าณการใชมากทีส่ ุดเปน อนั ดบั สใี่ นปจ จบุ ัน รองจากเหลก็ อะลูมิเนยี ม และทองแดง
23 การใชประโยชนของโลหะสังกะสี สงั กะสีเปน โลหะทีม่ จี ดุ หลอมเหลวตํ่า มีความเหนียวนอยหรือเปราะ เพราะมีระบบผลึกเปนรูปหกเหลี่ยม อัตราการยืดตัวนอย และมีคุณสมบัติตานทานการกัดกรอนไดดีนอกจากน้ียังสามารถกอใหเกิดพิษไดเน่ืองจากรวมตัวกับออกซิเจนเปนสังกะสีออกไซดไดงายซ่งึ เปน ควนั สขี าวที่มีอนั ตราย สงั กะสีถูกนําไปใชประโยชนหลายดาน ตามคุณสมบัติท่ีมีมากมายโดยอาจแบงการใชป ระโยชนต ามลักษณะการนาํ ไปใชไดดังนี้ 1) ใชเคลือบผิวเหล็กเพ่ือปองกันการเกิดสนิม และการผุกกรอน โดยสังกะสีจะทําหนาทปี่ องกัน 2 ขนั้ ตอนคอื ข้ันแรกจะทาํ หนาทป่ี องกนั ผวิ เหลก็ ไมใหสมั ผสั กับอากาศหรือสารอยางอ่ืน และหากเกดิ รอยขีดขวนหรอื ผกุ รอ นจนถงึ ผวิ เหลก็ แลว สงั กะสีจะทําหนาที่ในข้นั ตอไปรูปของ Galvanic action คือ โลหะสงั กะสีซง่ึ มคี ุณสมบัติทางเคมีไฟฟา(Electrochemical activity) สงู กวาเหลก็ จะทําตัวเปนข้ัวบวกและดึงออกซิเจนมาทําปฏิกิริยาเกดิ เปนสนิมแทนเหล็ก ทาํ ใหผ ิวเหล็กไมผกุ รอนแมผิวเหลก็ จะสมั ผสั ถูกอากาศ การใชงานดา นน้ีมีสัดสวนมากทสี่ ดุ โดยคดิ เปนรอ ยละประมาณ 45 - 50 ของการบรโิ ภคสงั กะสีท้งั หมด 2) ใชทําทองเหลืองโดยผสมกับโลหะทองแดง และอาจมีโลหะอื่น ๆ ผสมเพิ่มคุณสมบัตเิ ปน การเฉพาะตอ การใชง าน เชน ตะกวั่ อะลมู เิ นียม ดบี กุ พลวง แมงกานสี เปน ตน 3) สังกะสีออกไซดใชในอุตสาหกรรมยาง เซรามิกส ยา สีสะทอนแสง สังกะสีซัลเฟดใชใ นการผลติ สารทําใยสังเคราะหเรยอน และสังกะสีคลอไรดใชทํายาดับกล่ินปาก ยาฆาเชอ้ื และยารกั ษาเนือ้ ไมไ มใหผแุ ละตดิ ไฟงา ย 4) สังกะสีฝนุ (Zinc dust) ใชใ นการผลิตสารเคมีท่ใี ชใ นการพิมพและยอมผาใชผ สมกบั อะลูมเิ นยี มผงเพอื่ แกน ้าํ กระดาง ใชเ ปนสารผลิตกาซในคอนกรตี ทําใหไดรูพรุน ใชเปนสารเรงในอุตสาหกรรมปโตรเลียม ชวยใหเกิดการคายไฮโดรเจนในการทําสบูจากขี้ผึ้งพาราฟนนอกจากน้ียงั ใชทาํ ดอกไมไ ฟ ผงไฟแฟลช อุตสาหกรรมน้ําตาล และกระดาษ 5) ใชทําโลหะผสมสําหรบั งานหลอ (Die casting) เน่อื งจากมจี ดุ หลอมเหลวต่ําจึงใหคุณสมบัติท่ีดีคือ งายก็การข้ึนรูป นอกจากน้ียังคงทน กลึงไสตกแตงงาย และมีสีสันสวยงาม โลหะผสมที่สําคัญ ไดแก อะลูมิเนียม แมกนีเซียม และทองแดง เปนตน สําหรับผลิตภัณฑที่ทําดวยโลหะสังกะสีผสมมีมากมายเชน ช้ินสวนยานยนต ลูกบิดประตู ของเลนเด็กเคร่อื งใชใ นครัวเรือน เคร่อื งมือกล อปุ กรณสํานกั งาน และทอนํ้าเปน ตน
24 5. พลวง พลวงเปนโลหะท่ีมีการใชป ระโยชนมานานกวา 2,500 ป โดยช่ือของโลหะพลวง(Antimony) มาจากภาษากรกี วา Anti และ Monos ซึ่งหมายความวา โลหะท่ไี มค อยพบไดโดยลําพัง แตในความเปนจริง บางคร้ังเราอาจพบโลหะพลวงบริสุทธ์ิในสภาพธรรมชาติได(Native antimony) สัญลักษณทางเคมีของโลหะพลวงคือ Sb ซึ่งมาคําวา Stibium ในภาษาลาตนิ การใชป ระโยชนข องโลหะพลวง พลวงเปน โลหะสีขาวเงิน วาว มคี ณุ สมบตั ิแขง็ เปราะ ไมสามารถแปรรูปไดที่อุณหภูมิปกติ แตมีคุณสมบัติตานทานการกัดกรอนของกรดเจือจางได ท่ีอุณหภูมิสูงจะรวมตัวกับออกซิเจนไดดีและใหเปลวไปสีนาํ้ เงิน เม่อื กลายเปนออกไซดจะเปน ผงสีขาว โลหะพลวงไมสามารถใชงานไดในสภาพบริสุทธ์ิ สวนใหญจะถูกใชในลักษณะของโลหะผสม โดยการใชประโยชนข องโลหะพลวงมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1) การใชงานหลักของโลหะพลวง คือ เปนสารเจือในตะกั่ว สําหรับทําแผนธาตุแบตเตอรี่ นอกจากน้ียังใชในงานเกี่ยวกับเคมี ทอ แผนมุงหลังคา ใชบุถัง ทําโลหะตัวพิมพโลหะบัดกรี โลหะรองเพลา และกระสุน เปนตน เน่ืองจากชวยเพ่ิมความแข็ง ความตานทานการกดั กรอ น ลดการหดตัว และใหความคมชดั สําหรับโลหะตัวพมิ พ 2) ใชเปนสารชะลอการติดไฟ พลวงไตรออกไซดหรือไตรคลอไรดในสารละลายอนิ ทรยี ใชในการทาํ เสน ใยกนั ไฟและเปลวไฟจากการสนั ดาป 3) มีการใชพลวงไตรออกไซดในการผลิตพลาสติก เซรามิกสสเคลือบ ใชเปนสีขาวสําหรบั ทาสี และเปน สารทใี่ หล ักษณะคลา ยแกว และมีคุณสมบตั กิ ารสะทอนแสงที่ดีพลวงออกไซดใ ชร ว มกบั คลอรเิ นเทดพาราฟนและปูนขาวในอุตสาหกรรมทอผา นอกจากนี้พลวงเพนตะซลั ไฟดยังใชท าํ สีสาํ หรับพรางตา และเปน สารทาํ ใหยางแขง็ ตวั
25 6. นิกเกลิ นิกเกิลเปน โลหะมีสีขาวเงนิ มีความคลายคลึงกับเหลก็ ดา นความแขง็ แรงและมีความตานทานการกัดกรอนท่ีดีคลายทอง มีการคิดคนวิธีการสกัดโลหะนิกเกิลจากแรเปนครั้งแรกเมื่อประมาณ 250 ปที่ผานมา นิกเกิลเปนธาตุท่ีเช่ือวามีปริมาณมากบริเวณใจกลางของโลก เน่ืองจากผลวิเคราะหของสะเก็ดดาวที่มีแหลงกําเนิดไมตางกับโลกพบวา มีนิกเกิลในปริมาณสูงการใชประโยชนของโลหะนิกเกิล นิกเกิลเปนโลหะท่ีมีคุณสมบัติตานทานการเกิดออกซิเดช่ัน และตานทานการกัดกรอนสูง มีความเหนียวและออนตัวมากสามารถข้ึนรูปที่อุณหภูมิตํ่าไดงาย นอกจากน้ียังสามารถละลายกับโลหะอื่นไดงาย และใหสารละลายของแข็งที่มีความเหนียว งานใชงานโลหะนกิ เกลิ สวนใหญจะใชใ นอุตสาหกรรมผลติ เหล็กกลาไรสนิมและเหล็กกลาผสม นอกจากนั้นยังใชในงานทต่ี อ งทนการกดั กรอนสงู ๆ และใชเคลอื บผวิ เหลก็ การใชป ระโยชนข องโลหะนกิ เกลิ 1) ใชท าํ มาตรนา้ํ ประตนู ํ้า ทอสําหรบั อุปกรณสง ถา ยความรอน และวสั ดกุ รองในอตุ สาหกรรมเคมแี ละการกลั่นน้าํ มัน 2) ใชท ําโลหะผสมชนดิ พเิ ศษ (Super alloy) ซง่ึ ตา นทานความเคนและทนการกัดกรอนท่อี ุณหภมู ิสูงสาํ หรบั อุตสาหกรรมอากาศยาน โดยใชเปนวัสดุในการผลิตอุปกรณรักษาระดับความดนั อากาศ ชนิ้ สวนตางๆ และเคร่ืองยนตของเครื่องบินไอพน 3) ใชเคลือบผวิ อปุ กรณป ระดับยนตตางๆ รวมถงึ เครื่องใชในครัวเรือน เชนเตาไฟฟา หมอ หุงขาว เตาปงขนมปง เคร่ืองเปา ผม ชอ มสอ ม จาน ถาด และอปุ กรณการทาํ อาหาร เปน ตน 4) ใชผลิตอุปกรณไฟฟา เชน หลอดสูญญากาศ หลอดโทรทัศน และใชทําข้ัวแอโนด แคโทด และลวดยึดในอปุ กรณอ ิเล็กทรอนกิ ส โดยอาศยั คณุ สมบัติการยดื ดึงการตานแรง และคุณลักษณะการปลอ ยอิเลก็ ตรอน 5) จากคุณสมบัติท่ีสามารถดูดติดแมเหล็กของนิกเกิลจึงใชในอุปกรณตาง ๆมากมาย เชน เคร่อื งแปลงกาํ ลงั สําหรับพลงั งานอัลตรา โซนิค อุปกรณการสาํ รวจใตนํ้าในอตุ สาหกรรมการเดินเรือ อุปกรณท าํ ความสะอาดช้นิ งานกอ นเคลอื บผิวในอุตสาหกรรมชุบเคลอื บโลหะ
26 6) ใชท ําสปรงิ แบนในระบบถา ยทอดโทรศพั ท ปล๊ักไฟซึ่งทนการกัดกรอนจอแมเหล็ก แกนเหนี่ยวนําในคลื่นเสียงวิทยุ เคร่ืองกําเนิดไฟฟาในมอเตอรไซค รถยนต และมอเตอรกระแสตรงขนาดใหญ นิกเกิลผงทอ่ี ัดเปนแทง ใชในแบตเตอรี่ทม่ี ีสารละลายเปนดางซึ่งใชในเคร่อื งบนิ 7) ในการกอสรางมีการใชนิกเกิลในรูปเหล็กกลาไรสนิมเพ่ือทําอุปกรณประดับอาคาร เน่อื งจากมีความตา นทานการกัดกรอน แข็งแรง และใหความสวยงาม 7. แทนทาลมั แทนทาลัมนับเปนโลหะใหมที่เพ่ิงมีการคนพบและนํามาใชประโยชนเมื่อประมาณ200 ปท่ีผานมา โดยมักจะพบรวมกันกับไนโอเบียม จนชวงแรกที่มีการคนพบเขาใจวาธาตุท้ังสองชนิดนี้เปนประเภทเดียวกัน แทนทาลัมเปนโลหะท่ีมีคุณสมบัติทนความรอนสูงมาก มีความเหนยี ว สามารถรีดเปนเสน ลวดขนาดเล็กหรือตเี ปน แผนบาง ๆ ได มีความตา นทานการกัดกรอนเปนส่ือนําไฟฟาและความรอนที่ดี และมีคุณสมบัติดานการเก็บประจุไฟฟาที่ดี นอกจากน้ียังสามารถนาํ ไปผสมกบั โลหะอนื่ ๆ ได การใชป ระโยชนของโลหะแทนทาลัม แทนทาลัมมีการใชป ระโยชนใ นงานตาง ๆ ดังนี้ 1) ใชผงโลหะแทนทาลัม เปนวัตถุดิบในการผลิตตัวเก็บประจุไฟฟา (Capacitor)สําหรับเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสท่ีตองใชเทคโนโลยีขั้นสูง โดยเฉพาะอุปกรณขนาดเล็ก เชนโทรศัพทมือถือ เคร่ืองคอมพิวเตอร เครื่องมือส่ือสาร เคร่ืองคํานวณ เครื่องสงสัญญาณเตือนภัยหมอแปลงไฟฟา และกลองวีดีโอดิจติ อล เปนตน ซึง่ การใชแทนทาลมั ในงานดา นนีค้ ดิ เปนรอยละ 55 ของการใชงานท้ังหมด 2) ใชท าํ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณทางเคมี ซ่ึงมีความตานทานและทนตอการกัดกรอนของกรด และสารเคมี รวมท้ังใชทาํ ภาชนะบรรจนุ ํา้ ยาและสารประกอบเคมบี างชนดิ 3) แทนทาลมั คารไบด มีความแข็งแรงและทนทานตอการกัดกรอนไดดี สามารถใชผสมกับโลหะคารไบดชนิดอ่ืนๆ เชน ทังสเตนคารไบดหรือไนโอเบียมคารไบด เพื่อใชในการทําเครื่องมอื กลงึ เจาะ ไส หรือตดั เหลก็ และโลหะอื่น ๆ
27 4) ใชทําโลหะผสมท่ีมีคุณสมบัติพิเศษ เชน วัสดุท่ีใชในเคร่ืองยนตและตัวถังของยานอวกาศ ตลอดจนพาหนะที่ตองการคุณสมบัติการทนความรอนสูงท่ีเกิดจากการเสียดสีใชทําขดลวดความรอน คอนเดนเซอรวาลว และปมชนิดพิเศษ นอกจากนี้ยังใชผสมกับโลหะอนื่ ๆ เชน โคบอลต เหลก็ นกิ เกลิ ไททาเนยี ม และไนโอเบยี ม 5) ใชทําเครื่องมือพิเศษอื่นๆ เชน ตัวเช่ือมกระดูกหรือดายเย็บกระดูก เคร่ืองมือผาตดั เครอื่ งมอื ผลติ ใยสังเคราะห และเครือ่ งมอื ในหองปฏิบตั กิ าร 6) การใชงานอนื่ ๆ เชน ทําเลนสสําหรับกลองถายรูปและกลอ งจุลทรรศนท ม่ี ีคา ดรรชนีหักเหสงู มากเปน พิเศษ และใชเ ปน ตัวเรง ปฏกิ ริ ิยาในการทาํ วัสดุสังเคราะห เชนยางเทียม เปน ตน 8. อะลมู ิเนียม โลหะอะลูมิเนียมเปนธาตุเริ่มเปนที่รูจักของมนุษยเม่ือไมนานมานี้ โดยมีการคน พบคร้งั แรกในป ค.ศ. 1820 ณ แหลง บอกไซด ประเทศฝรงั่ เศส ซ่ึงตอมาไดใ ชเ ปนชอ่ื เรยี กแรอ ะลูมิเนยี มจนถึงปจ จบุ ัน แมโลหะอะลมู เิ นยี มจะเปนธาตชุ นิดใหม แตม ีคุณสมบตั เิ ดนหลายประการและสามารถนําไปใชไดอยางกวางขวางในอุตสาหกรรมหลายประเภท ทําใหการใชป ระโยชนจากโลหะอะลมู ิเนียมมีปริมาณเพิม่ ขนึ้ มาโดยตลอด จนนบั เปนโลหะนอกกลุมเหล็กทม่ี ีปริมาณการใชมากทีส่ ดุ ในโลก โดยปจจุบันมีปริมาณการใชโลหะอะลูมิเนียมทั่วโลกประมาณ28 ลานตนั ตอ ป คิดเปนปรมิ าณการใชท่เี พ่ิมข้ึนจากเมือ่ 20 ปท ี่แลวถงึ รอยละ 75 การใชป ระโยชนข องโลหะอะลูมิเนยี ม อะลูมิเนียมเปนโลหะท่ีมีคุณสมบัติเดนในหลายดาน เชน มีความหนาแนนนอยนา้ํ หนักเบา และมีกําลงั วัสดตุ อหนว ยสงู (High Strength to weight ratio) มคี ณุ สมบตั ิที่ยืดตัวไดงายและมีความเหนียวมาก ทําใหสามารถข้ึนรูปดวยกรรมวิธีตาง ๆ ไดงาย มีจุดหลอมเหลวต่ําและมีคณุ สมบตั กิ ารไหลของนํา้ โลหะทีด่ ี ทาํ ใหม ีความสามารถในการขึน้ รูปดวยวิธีหลอไดดี มีคาการนําไฟฟาที่ดี มีคาการนําความรอนสูง และผิวหนาของโลหะอะลูมิเนียมมีดัชนีการสะทอนของแสงสูง ดังนั้นโลหะอะลูมิเนียมจึงนําไปใชประโยชนอยางกวางขวาง เชน
28 1) เนอื่ งจากอะลูมิเนยี มมคี วามแขง็ แรงเทียบกบั นํ้าหนกั สูง จึงนิยมใชทําเครื่องจักรอุปกรณ ตลอดจนช้ินสวนหลายอยางในเครื่องบิน จรวด และรถยนต เพื่อลดนํ้าหนักของยานพาหนะใหนอ ยลงและชวยในการประหยัดเชอื้ เพลิง 2) อะลูมิเนียมสามารถทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศไดดี ทําใหเกิดฟลมอะลูมิเนียมออกไซด (Al2O3) ท่ีผิวของชิ้นงาน ซ่ึงฟลมน้ีมีความแนนทึบมากจึงชวยใหสามารถตอตานการเปนสนิมไดดวยตัวเองและตานทานการกัดกรอนในช้ันบรรยากาศไดดี ดังน้ัน โลหะอะลูมเิ นียมจึงนยิ มนําไปใชง านในอุตสาหกรรมหลายประเภท เชน ใชท าํ ทอ กรอบประตูกรอบหนา ตาง และวัสดุกอ สรา งตา ง ๆ เปน ตน 3) อะลูมิเนียมสามารถผสมกับโลหะอื่น ๆ ไดหลายชนิด เชน ซิลิกอน ทองแดงแมกนีเซยี ม และสงั กะสี ซึ่งโลหะอะลมู เิ นยี มผสมแตละประเภทจะมคี ุณสมบตั ิทแี่ ตกตา งกนัทําใหมีขอบเขตการใชงานทก่ี วางขวางมาก 4) ใชเ ปน ตวั นาํ ไฟฟา ในงานท่ตี องคํานงึ ถงึ เร่ืองนาํ้ หนกั เบาเปนสาํ คัญ เชนสายไฟฟาแรงสูง เปน ตน 5) เหมาะสําหรับใชทําเปนภาชนะหุงตมหรือหีบหอบรรจุอาหาร โดยเฉพาะกระปองท่ีบรรจุเคร่ืองด่ืมคารบอนเนต เน่ืองจากไมกอใหเกิดสารพิษท่ีเปนอันตรายตอรางกายและทนตอการ กัดกรอนไดดี โดยปจจุบันกระปองเครื่องด่ืมกวารอยละ 97 และกระปองเบียรเกอื บทั้งหมดลว น ทําจากโลหะอะลูมิเนียมท้ังส้นิ 6) ใชท าํ แผนสะทอ นแสงในแฟลชถายรูป จานสะทอ นแสงในโคมไฟหรือไฟหนารถยนต
29 9. แมกนเี ซยี ม แมกนีเซียมเปนธาตุที่มีมากที่สุดเปนอันดับ 8 บนพื้นผิวโลก โดยแหลงท่ีสําคัญคือ น้ําทะเลซึ่งจะมีปริมาณของแมกนีเซยี มคลอไรด (MgCl2) ซ่งึ ถาคิดน้ําหนกั ของแมกนเี ซยี มที่มีอยูในทะเลท้งั หมดจะไดป รมิ าณถงึ 1.85 x 1015 ตัน การใชป ระโยชนของโลหะแมกนเี ซียม แมกนีเซียมเปนโลหะที่มีนํ้าหนักเบา สามารถตัดเจาะไดงายและมีความแข็งแรงอยูในเกณฑสูงเม่ือเทียบกับน้ําหนัก แตขอจํากัดที่ทําใหโลหะแมกนีเซียมมีการใชงานไมมากนักไดแก มีความแข็งแรงและความเหนียวต่ํา ขาดคุณสมบัติตานทานการกัดกรอน นอกจากนี้ยังรวมตัวกับออกซเิ จนเกิดเปนเปลวไฟท่ีอุณหภูมิสูงไดงาย ทําใหแมกนีเซียมมีการใชงานสวนใหญในรูปธาตผุ สมกบั โลหะอื่น โดยการใชประโยชนของโลหะแมกนีเซยี มมีดงั น้ี 1) โลหะแมกนีเซียมเมื่อผสมดวยโลหะตางๆ ในปริมาณเล็กนอย เชน อะลูมิเนียมแมงกานีส โลหะแรเอิรธ ทอเลียม สังกะสี และเซอรโคเนียม จะไดโลหะที่มีความแข็งแรงรับนา้ํ หนกั ไดมากที่อณุ หภมู สิ ูงและอณุ หภูมปิ กติ ทนการส่นั สะเทือน และสามารถกลึงไสและแปรรูปไดงาย 2) ใชกําจัดออกซิเจนและกํามะถันในการผลิตโลหะนิกเกิลผสมและทองแดงผสมใชก ําจัดกํามะถนั ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา ใชกําจดั บสิ มทั ในตะกว่ั และเปน สารลดออกซเิ จนในการผลติ เบรลิ เลียม ไทเทเนียม เซอรโคเนียม ทอเรียม และยูเรเนียม ใชการผลิตซลิ โิ คนและสารประกอบอนิ ทรยี เ คมตี า ง ๆ 3) ใชส าํ หรับปอ งกนั การกดั กรอ นโดยเปนแอโนดเพื่อปองกันแคโทดของโลหะอื่น ๆโดยเฉพาะทอใตดนิ แทง็ คนา้ํ ตัวเรือ เครอื่ งทาํ นํา้ รอน และโครงสรา งอ่นื ๆ ทีอ่ ยูใตด ินและใตน ้าํ 4) ใชใ นแบตเตอรีส่ าํ หรบั งานเฉพาะอยา งและการทหาร โดยเปนข้วั แอโนดทําใหมีนา้ํ หนักเบาแตใหไ ฟแรงสูง 5) เน่อื งจากเปนโลหะท่ีมีนํ้าหนักเบาจึงนํามาใชในการผลิตช้ินสวนยานยนตตาง ๆเชน คารบเู รเตอร ตะแกรงหนา วัสดปุ ด เครอ่ื งทําความสะอาดอากาศ คันโยกถายกําลัง คลัช ลอพวงมาลัย เส้ือสูบ เกียร มอเตอร เปนตน ทําใหรถยนตมีน้ําหนักลดลงและชวยประหยัดพลงั งานไดม ากข้นึ
30 10. ทองแดง โลหะทองแดงนับเปนโลหะที่มนุษยรูจักและนํามาใชงานเปนเวลานานมากท่ีสุดประเภทหนึง่ ทองแดงมสี ัญลักษณทางเคมี คือ Cu ซง่ึ มาจากภาษาลาตินวา Cuprumท่หี มายถงึ ชื่อเกาะไซปรัส (Cyprus) อนั เปนแหลงแรทองแดงขนาดใหญท ม่ี ีการคนพบและนําโลหะทองแดงมาใชประโยชนเ มอื่ หลายพนั ปกอ น แรทองแดงสามารถพบในสภาพบรสิ ุทธิ์โดยธรรมชาติ คือ พบในสภาพที่เปนโลหะ (Metallic state) หรือในสภาพทองแดงธรรมชาติ(Native copper) ทําใหรวบรวมและนํามาหลอมเปน โลหะสาํ หรบั ใชง านไดงา ย แตถือเปน ธาตุท่ีพบปริมาณไมมากบนผิวโลก (ประมาณ 0.0001% ของธาตุบนพื้นผิวโลกทั้งหมด) และถือวานอ ยมากเม่ือเทียบกับแรอ ะลูมเิ นียมและเหล็กท่ีมีปริมาณ 8.07% และ 5.06% ของธาตุทั้งหมดตามลําดบั การใชป ระโยชนข องโลหะทองแดง โลหะทองแดงมีคุณสมบัติเดนมากมายโดยเฉพาะการนําไฟฟาและการนําความรอนที่สูง มีความตานทานการกัดกรอน สามารถแปรรูปดวยวิธีตางๆ ไดงาย นอกจากนี้ยังมี ความแขง็ แกรง และมีความตานทานความลาสูง ดังนนั้ โลหะทองแดงจงึ มกี ารนําไปใชประโยชนอยางกวางขวางดังนี้ 1) เนื่องจากทองแดงเปนตัวนําไฟฟาท่ีดีการใชงานสวนใหญจึงเกี่ยวของกับอตุ สาหกรรมไฟฟา เชน ใชทําสายไฟ เคเบลิ มอเตอร เครอื่ งกําเนิดไฟฟา ไดนาโม พัดลม ระบบควบคุมในโรงงาน อปุ กรณไ ฟฟา ระบบจา ยกําลงั เครื่องปรับอากาศ และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตา ง ๆ 2) ดวยคุณสมบตั ติ า นทานการกดั กรอนทองแดงจงึ นาํ มาใชใ นการกอ สรางหลายอยา ง เชน ทําหลงั คา ทอ นํา้ และขอตอตางๆ ระบบใหค วามรอ น และระบบปรับอากาศ 3) ใชทําเครอ่ื งจกั รกล เครื่องใชในบาน เน่อื งจากข้นึ รูปงา ย และเนื่องจากมีความสามารถตานทานการกัดกรอนของนํ้าทะเลและมกี ารถา ยเทความรอ นสงู จงึ ใชทําทอ วาลว ขอตอ ในโรงกล่ันนา้ํ จากนา้ํ ทะเล อปุ กรณแลกเปลีย่ นความรอน และเครื่องมือกลอน่ื ๆ 4) ใชในอุตสาหกรรมยานยนต และชิ้นสวนเคร่ืองบิน เรือเดินสมุทร หัวจักรรถไฟอุปกรณส วติ ซ และสญั ญาณตาง ๆ 5) การใชประโยชนดานอื่น ๆ ของทองแดง เชน ใชผลิตยุทธภัณฑ ใชในอุตสาหกรรมเคมี เคร่ืองวัดตาง ๆ เคร่ืองประดับ เครื่องตกแตง เหรียญกษาปณ บรรจุภัณฑและใชผลติ โลหะผสม เชน ทองเหลอื ง และทองสมั ฤทธ์ิ เปน ตน
31 11. ทองคาํ ทองคําเปนโลหะชนิดแรกท่ีมีการนํามาใชประโยชนเมื่อประมาณ 8,000 ปมาแลว สัญลักษณทางเคมีของทองคํา คือ Au ซ่ึงมาจากภาษาลาตินวา Aurum ที่มีความหมายถึง แสงสวางแหงรุงอรุณ ทองคําเปนแรท่ีประกอบดวยธาตุชนิดเดียวหรือสามารถปรากฏพบในสภาพบริสุทธ์ิโดยธรรมชาติ (Native gold) จึงมีกระบวนการแยกสกัดของจากแร ท่ีไมยุงยาก บางคร้งั อาจพบกอนโลหะทองคําในธรรมชาติขนาดใหญซ่ึงสามารถนําไปหลอม เพ่ือใชงานไดทนั ที ดวยจุดเดนดา นสสี ันที่สวยงาม มคี วามเหนียวสามารถดึงเปน เสน ลวดหรือตีแผเปนแผนบาง ๆ ได ทําใหการใชประโยชนของทองคําจะเนนไปทางดานการผลิตเคร่ืองประดับตา ง ๆ การใชประโยชนของโลหะทองคาํ ทองคํามคี ณุ สมบตั ินาํ ไฟฟาและนาํ ความรอ นไดดี มคี วามเหนียว สามารถข้นึ รูปไดงา ย มคี วามตา นทานการกัดกรอ น และเปนธาตุเฉอื่ ยท่ีไมทําปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในอุณหภูมิปกติ จึงทําใหทองมีความเงางามไมหมองอยูตลอดเวลา นอกจากน้ีทองคํายังเปนธาตุที่หายากและมีความคงทนไมแปรสภาพแมเวลาจะผานไปนานเทาใด จึงถูกนํามาเปนส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนซ้ือขายเชิงพาณิชย และเปนปจจัยทางดานเศรษฐศาสตรในการแสดงฐานะ ความมง่ั คง รวมถงึ ใชเ ปนทนุ สาํ รองสาํ หรับแตละประเทศในการเจรจาทําธรุ กรรมตา ง ๆ นอกเหนือจากการใชงานหลักในการทําเครื่องประดับ และของตกแตงตาง ๆ แลวโลหะทองคาํ ยังมีการนําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ อีกมากมาย ดงั น้ี 1) ทองคําใชเปนสวนประกอบในลวดตัวนําของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ เพ่ือใชใ นการเชือ่ มตอ กบั ระบบแผงวงจรควบคุมทีท่ ําหนา ทปี่ ระมวลผล หรอื สงขอมูลในระบบสั่งงานขนาดเลก็ โดยเฉพาะอุปกรณท ี่ตองการความเรว็ ในการประมวลผลสูง 2) ใชเคลือบอุปกรณไฟฟาของดาวเทียมเพ่ือปองกันรังสีคอสมิคและการเผาไหมของดวงอาทติ ย เพราะทองคาํ มคี ุณสมบัติการสะทอนแสงทดี่ แี ละมีความทนทานตอการกัดกรอ น 3) ใชใ นงานทันตกรรม เชน การทาํ ครอบฟน และการทําฟนปลอม 4) ทองคําถกู นํามาใชผสมในไอออนของแสงเลเซอร เพือ่ เปนตวั ควบคมุปรับความชัดเจนของโฟกัสในการผาตัดเซลลมะเร็งดวยการยิงเลเซอร โดยจะเลือกทําลายเฉพาะเซลลม ะเรง็ และไมกอ ใหเกดิ อันตรายกบั รา งกาย
32 5) ใชเคลือบกระจกเคร่ืองบินในหองนักบิน เพื่อปองกันความรอนจากแสงอาทิตยและชวยรักษาอุณหภูมิภายในหองนักบิน กําจัดเมฆหมอกท่ีอาจบดบังทัศนวิสัยในการมองเห็นของนักบิน 6) ในเครื่องตรวจวัดความชื้นใชทองคําเปนตัวเคลือบระบบตรวจวัดปริมาณของแกสคารบอน ไดออกไซดท ีม่ ีสว นสําคัญในการปอ งกันการเนาเสียของอาหาร เน่อื งจากทองไมทําปฏิกิริยากับความช้ืนในอากาศที่เปนสภาพท่ีเหมาะสมของการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจําพวกเห็ดและรา 7) ทองใชเปนตัวเคลือบที่กระเปาะของเทอรโมมิเตอร เน่ืองจากมีคุณสมบัติในการสะทอ นความรอ นไดดี ทาํ ใหก ารวัดอณุ หภูมิเปนไปอยางถกู ตองแมนยํา นอกจากนี้ ยังมีการใชตะกั่วในการทําหลอดบรรจุสีสําหรับงานศิลปะ ออกไซดของตะก่ัวใชสารออกซิไดซในการผลิตสียอม ไมขีดไฟ ยางเทียม กลั่นน้ํามัน กาว และใชเปนโลหะถวงนํา้ หนัก เปน ตน 1.2 วัสดปุ ระเภทพอลิเมอร( พลาสติก) พอลิเมอร(พลาสตกิ ) แตล ะประเภทแตกตา งกนั เนอื่ งจากมหี ว งโซคารบอนที่ตางกัน สามารถจาํ แนกออกเปน 10 ประเภท ดังนี้ 1.2.1 พอลิเอทิลีน (Polyethylene: PE) โดยทั่วไปแลว พอลิเอทิลีนมีสีขาวขุน โปรงแสง มีความลื่นมันในตัวเมื่อสมั ผัสจงึ รูสึกล่นื หยุนตัวได ไมม กี ลน่ิ ไมมีรส ไมต ดิ แมพ มิ พ มีความเหนียว ทนความรอนไดไ มมากนัก ทนตอการกัดกรอนของสารเคมี เปนฉนวนไฟฟา ใสสีผสมไดงาย มีความหนาแนนต่ํากวาน้ํา จึงลอยน้ําได เมื่อความหนาแนนสูงข้ึน จะทําใหมีความแข็ง และความเหนียวเพิ่มข้ึนอณุ หภูมิหลอมตัวสูงขึ้น และอัตราการคายกาซเพ่ิมข้ึน เมื่อความหนาแนนลดลง จะทําใหอัตราการเสื่อมสลายของผิวเพิม่ ข้นึ กลาวคอื ผวิ จะแตกรานไดง า ยข้นึ
33 ผลิตภัณฑท ีท่ ําดวยพอลเิ อทลิ ีน ผลิตภัณฑท สี่ าํ คญั ไดแก ขวดใสส าร เคมี ขวดใสนํ้า ลงั หรอื กลองบรรจุสินคาภาชนะตา งๆ เคร่อื งเลนของเด็ก ถุงเยน็ ถาดทาํ นํ้าแข็ง ช้นิ สว นของแบตเตอรี่ ชิน้ สว นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ฉนวนไฟฟา ถุงใสข อง แผนฟลมสําหรับหอ ของ โตะ และเกาอ้ี ภาพที่ 2.1 ผลติ ภัณฑท ี่ทําจากพอลิเอทิลนี ทมี่ า : http://www.gacner.com/ 1.2.2 พอลิโพรไพลีน (Polypropylene: PP) พอลิโพรไพลนี มีลกั ษณะขาวขนุ ทึบแสงกวาพอลิเอทิลนี มคี วามหนาแนนในชวง 0.890 – 0.905 กโิ ลกรัมตอ ลูกบาศกเมตร ดวยเหตนุ ี้ จึงสามารถลอยน้าํ ไดเชนเดยี วกันกบั พอลิเอทิลีน ลักษณะอืน่ ๆ คลายกับพอลิเอทิลีน ผลติ ภัณฑท ่ีทาํ จากพอลโิ พรไพลนี ผลิตภัณฑท ่ีพบเสมอคอื กลอ งเครอ่ื งมือ กระเปา ปกแฟมเอกสาร กลองและตลับเครอ่ื งสําอาง กลองบรรจุอาหาร อปุ กรณข องรถยนต เครอ่ื งใชใ นครัวเรอื น อุปกรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส อปุ กรณทางการแพทย วสั ดบุ รรจุภัณฑในอุตสาหกรรม ขวดใสสารเคมี กระปอ งนาํ้ มนั เคร่ือง กระสอบขา วและถงุ บรรจุปยุ ภาพที่ 2.2 ผลติ ภณั ฑทีท่ ําจากพอลโิ พรไพลนี ที่มา : http://kanchanapisek.or.th
34 1.2.3 พอลิไวนิลคลอไรด (Polyvinyl chloride: PVC) พอลิไวนลิ คลอไรด เปน พอลิเมอรท่ีสาํ คัญทสี่ ุดในกลุม ไวนิลดว ยกัน มกัเรยี กกนั ทั่วไปวา พีวซี ี เน้ือพีวซี มี ักมลี กั ษณะขนุ ทึบ แตกส็ ามารถผลติ ออกมาใหมสี ีสนั ไดท กุ สีเปน ฉนวนไฟฟาอยางดี ตวั มันเองเปนสารท่ีทําใหไ ฟดับจงึ ไมตดิ ไฟ มีลกั ษณะท้ังท่ีเปน ของแขง็คงรูป และออนนุม เหนียว เรซนิ มีทง้ั ที่เปนเม็ดแขง็ หรือออ นนุม และเปนผง จงึ สามารถนาํ ไปใชงานไดอ ยางกวา งขวาง ผลติ ภณั ฑท ่ีทําจากพอลิไวนลิ คลอไรด ผลิตภัณฑทั่วไป ไดแก หนังเทียม ซึ่งมีความออนนุมกวาหนังแทสําหรับหุมเบาะเกาอ้ีหรือปูโตะ เคลือบกระดาษและผา กระเปาถือ ของสตรี กระเปาเดินทางกระเปา ใสส ตางค รองเทา เขม็ ขดั หมุ สายไฟฟา สายเคเบลิ หมุ ดามเครอื่ งมอื หมุ ลวดเหล็กทอนาํ้ ทอรอยสายไฟฟา อา งนา้ํ ประตู หนา ตา ง 1.2.4 พอลไิ วนิลอะซเิ ตต (Polyvinyl acetate: PVA) เปน พอลิเมอรทีม่ ีแขนงหนาแนน มีลักษณะโมเลกุลแบบอะแทกตกิ ไมมีความเปนผลึก จึงมีลักษณะออนนิ่มมากจนเปนของเหลวขนหนืด สีขุนขาว เม่ือแหงจะใสเน่ืองจากความออนนิ่ม จนมีลักษณะเปนของเหลวขนหนืด จึงไมสามารถหลอขึ้นรูปดวยวิธีแมพ ิมพใ ด ๆ ได การใชงาน พอลเิ มอรช นิดนใี้ ชทาํ กาวในรปู ของอีมลั ชนั สําหรบั ติดไม กระดาษ ผาและหนงั เทียม มักเรียกกาวชนิดน้ีวา \"กาวลาเทก็ ซ\" ใชเ ปน สารเหนียวในหมากฝรงั่ ทําสี และเคลอื บหลอดไฟแวบ็ สาํ หรับถา ยรปู ในสมยั กอน
35 1.2.5 พอลิสไตรีน (Polystyrene: PS) เปนพอลิเมอรเ กาแกท่รี ูจกั กนั มานานแลว โดยท่วั ไปสไตรีนพอลิเมอร จะมคี วามแขง็ เปราะแตกรานไดง าย แตส ามารถทาํ ใหเ หนยี วขึน้ ได โดยการเติมยางสังเคราะหบิวทาไดอีนลงไป ซ่ึงเรียกวา สไตรีนทนแรงอัดสูง การใชสไตรีน เปนโคพอลิเมอร (พอลิเมอรท่ีประกอบดวยมอนอเมอร 2 ชนิด) เพ่ือปรับปรุงคุณภาพ และสมบัติของพอลิเมอรอื่นใหดีขึ้นเมื่อรวมตัวกับพอลิเมอรอื่นจะทําใหมีคุณสมบัติเปล่ียนไป เชน มีความเหนียว และความแข็งเพิ่มขึน้ ทนความรอ นเพิม่ ขึ้น อุณหภูมิจุดหลอมตัวสูงขึ้น พอลิสไตรีนบริสุทธิ์มีลักษณะใสคลายกระจก ปจจบุ นั นักวิทยาศาสตรไดพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตพอลิสไตรนี ใหมีคณุ ภาพดขี ึ้นมีความเปนผลึกใส แข็ง และข้ึนรูปไดงาย พอลิสไตรีนเปนพอลิเมอรที่มีอุณหภูมิ หลอมเหลวเปน ชวงกวา ง ทําใหงายตอการหลอข้ึนรูปดวยแมพิมพ สามารถเลือกต้ังอุณหภูมิ และความดันของเครื่องจักรไดงาย พอลิสไตรนี เปนพอลิเมอรท ม่ี ีนา้ํ หนักเบา ราคายอมเยา ผลิตภัณฑท่ที าํ จากพอลสิ ไตรนี พอลสิ ไตรีนเรซนิ มลี ักษณะเปนเม็ด เปนผง และเปน ของเหลว เหมาะสําหรับการขึน้ รูปผลิตภัณฑด ว ยวิธตี าง ๆ ผลติ ภณั ฑท่วั ไป ไดแก ถวยจาน แกว น้าํ ชอ นสอ มท่ีใชแลวทิ้ง กลองบรรจุอาหาร และผลไม ไมบ รรทดั อุปกรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส ของเลน ดา มลูกอมขนมเด็ก ขวดหรอื กระปกุ ใสยาเฟอรนเิ จอรบ างอยา ง ชิน้ สวนในตูเ ยน็ โฟมกันแตก สําหรับบรรจุภณั ฑ และฉนวนความรอ น ภาพที่ 2.3 ผลติ ภัณฑที่ทําจากพอลิสไตรนี ทม่ี า : http://kanchanapisek.or.th/
36 1.2.6 พอลอิ ะครเิ ลต (Polyacrylate) พอลิอะคริเลต มักเรียกกันทั่วไปวา อะคริลิก เปนพอลิเมอรท่ีไดจากผลิตภัณฑปโตรเลียม สามารถผลิตไดจากมอนอเมอรหลายชนิด พลาสติกประเภทน้ีที่เปนพ้ืนฐาน ไดแก เมทิลเมทาคริเลต (Methyl methacry late) พอลิอะคริเลต เปนพลาสติกที่มีโครงสรางเสนสายเปนแบบ อะแทกติก (Atactic) กลาวคือ โมเลกุลมีกิ่งหรือแขนงไมแนนอนสัน้ บางยาวบา ง มีความโปรงใสมาก (แสงผานไดประมาณรอยละ 92) จึงเปนวัสดุมาตรฐานท่ีใชผลิตชน้ิ สว นรถยนต เชน เลนสและฝาครอบไฟทาย ผลติ ภณั ฑท่ที ําจากพอลอิ ะครเิ ลต อาจนําพอลอิ ะคริเลตมาใชแทนกระจกท้งั ใสและเปน สีชา ผลติ ภณั ฑอน่ื ๆ ไดแ ก กลอ งพลาสติก กระจกกันลมสาํ หรับเรอื เร็ว กระจกบงั ลมสําหรับหมวกนิรภัยช้นิ สว นทางอิเลก็ ทรอนิกส เสนใยนาํ แสง (Fiber optics) กระจกโคมไฟรถยนต แผน ปา ยและปายโฆษณา 1.2.7 พอลิคารบอเนต (Polycarbonate) พอลิคารบ อเนตเปนพลาสตกิ ที่มีความโปรงใส และแข็งมาก ตานทานการขดี ขวนไดดี จึงมักใชท าํ ผลติ ภัณฑแ ทนแกว หรือกระจก ผลิตภัณฑท ีท่ ําจากพอลิคารบอเนต ลักษณะของเรซนิ มีท้ังเปนเม็ดใส เปนผง และเปน แผน เหมาะสาํ หรับการขึ้นรูปดวยแมพ ิมพ เชน การฉดี เขาแมพ มิ พ หรอื เอกซท รูชัน ใชท าํ โคมไฟฟา กระจกเลนสโคมไฟหนา ของรถยนต กระจกแวนตาภาชนะ และขวดพลาสติก ใบพดั เรือ และชิ้นสวนอเิ ล็กทรอนกิ ส
37 1.2.8 ไนลอน (Nylon) ไนลอนเปนพอลิเมอรที่มมี านาน คนไทยมักรูจักไนลอนในรูปของเสื้อผา และเชอื กไนลอน ผลิตภัณฑไ นลอนทน่ี ยิ มใชแ พรหลาย มหี ลายชนิด เชน ไนลอน 4ไนลอน 6,6 ไนลอน 6,10 ไนลอน 10 และไนลอน 11 เปนตน ผลติ ภัณฑท่ีทาํ จากไนลอน เน่ืองจากไนลอนมีสมบัติที่ดี ในดานความเหนียว และมีผิวล่ืน จึงมักใชทําเฟองเกียรแทนโลหะ เพื่อลดการใชสารหลอล่ืน ทําเสนใยท่ีมีเสนละเอียดมาก สําหรับทอเปนผา และผลิตเครื่องนุงหม ลักษณะของเรซินมีทั้งที่เปนเม็ด แผน แทง และทออีกดวยผลิตภัณฑจากไนลอนที่พบเห็นไดท่ัวไป ไดแก เครื่องมือชาง ฝาครอบไฟฟา ภายในรถยนตอุปกรณไฟฟา รอก และเชือกราวมาน อวน แห หวี เฟองเกียร ลูกปนในเครื่องจักรกลที่ไมตองใชน าํ้ มันหลอ ลนื่ ผา ไนลอน และใบเรอื 1.2.9 พอลิเททระฟลอู อโรเอทิลีน (Polytetrafluoroethylene : PTFE) พอลิเททระฟลอู อโรเอทิลนี (พที ีเอฟอี) เปนพลาสติกชนิดพิเศษที่รูจักกันดีชนิดหนึ่ง มีคุณสมบัติดีเย่ียมในดานความทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมี และทนความรอน สูง สีขาวขุน ผิวมีความล่ืนมัน ไมตองการสารหลอลื่น เน่ืองจากมีความทนทานตอความรอนสูงมาก จึงทําใหกระบวนการข้ึนรูปเปนผลิตภัณฑ ตองใชความรอนสูง และมีความยงุ ยากกวาพลาสตกิ ชนิดอน่ื ผลิตภณั ฑท ่ีทําจากพอลิเททระฟลูออโรเอทิลีน ลักษณะของเรซินเปนของเหลว เปน เม็ด และเปนผง ใชเคลอื บดา มเครือ่ งมือชาง เคลือบภายในหมอและกระทะทําใหไ มต อ งใชน า้ํ มนั หุมสายไฟฟา แหวนลูกสูบของเครื่องยนต ลกู ปน ทใ่ี ชในเครื่องจกั รกลที่ไมตอ งการสารหลอลนื่ ภาชนะและอปุ กรณท่ีใชในการทดลองทางเคมี เชน หลอดทดลอง บีกเกอร ฯลฯ นอกจากนย้ี งั ใชผ สมกบั นาํ้ มันหลอล่ืนเพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพการหลอ ลนื่ อกี ดวย ภาพท่ี 2.4 ผลติ ภณั ฑทท่ี ําจาก พอลเิ ททระฟลูออโรเอทิลนี ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/
38 1.2.10 ฟนอลฟอรมาลดีไฮด (Phenol Formaldehyde : Bakelite) ฟนอลฟอรมาลดไี ฮด หรอื เบกาไลต เปนพลาสตกิ ประเภทเทอรโ มเซ็ตชนดิ แรก ทีร่ ูจักมานาน มสี นี ํ้าตาลคลายขนมปง มคี วามแขง็ และอยตู ัว เรซินชนิดน้ีมีทง้ั ท่ีเปนของเหลวใส เหมาะสาํ หรบั หลอในพิมพ และแบบท่เี ปน ผงสําหรับการขนึ้ รูปดวยแมพ มิ พ ซงึ่ ชนิดหลังนี้ มีสนี ้ําตาลดาํ เพียงอยางเดียว ผลติ ภณั ฑท่ีทําจากฟน อลฟอรม าลดีไฮด ใชทําปลอกหุมขดลวดทองแดงรถยนต แกนคอยลในเครื่องรับวิทยุและโทรทัศน เปลอื กเคร่อื งโทรศัพทสมยั โบราณ ดามเครื่องมือชา ง หหู มอ หูกระทะ ดา มมีดลูกบิลเลียด แผงวงจรและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส กาว สารเคลือบผิว ตลอดจนใชเปนสารเติมแตงในอุตสาหกรรมยาง 1.3 วสั ดุประเภทเซรามกิ ส ผลติ ภัณฑเซรามิกสที่พบหรอื ใชใ นชวี ิตประจาํ วนั มีมากมายหลายชนดิ ตัวอยางผลิตภณั ฑเ ซรามกิ สตามลักษณะการใชงาน ไดแ ก 1) ผลิตภณั ฑเ ซรามกิ สท่ีใชเ ปนภาชนะรองรบั หรือปรงุ อาหาร เชน ถว ย ชาม 2) ผลติ ภณั ฑเคร่ืองสุขภณั ฑ เชน โถสวม อา งลา งหนา ที่วางสบู 3) ผลติ ภัณฑก ระเบือ้ ง เชน กระเบ้ืองปพู ้นื กระเบอื้ งกรุฝาผนงั 4) ผลิตภณั ฑท ี่ใชง านดานไฟฟา เชน กลองฟว ส ฐานและมอื จบั สะพานไฟฟา 5) ผลิตภณั ฑท ่ีใชเ ปน วสั ดทุ นไฟ เชน อิฐฉนวนทนไฟ 6) ผลติ ภณั ฑแกว เชน แกว กระจก การใชผลิตภัณฑเซรามิกส ควรคํานึงถึงอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนจากสารเคมีตาง ๆ ที่เก่ียวของในกระบวนการผลิต เชน สารตะก่ัวที่ใชเปนตัวชวยลดอุณหภูมิการหลอมละลายและเคลือบใหมีสีสดใส ถานํ้าเคลือบยึดติดกับผิวเน้ือดินปนไมดี สารตะกั่วที่เคลือบอาจหลุดกะเทาะออกมาได ซึ่งเปนอันตรายตอการบริโภค นอกจากน้ีการนําผลิตภัณฑดังกลาวไปใสอ าหารทเ่ี ปนกรดหรอื เบส จะทาํ ใหส ารตะก่วั ที่เคลอื บอยลู ะลายปนมากับอาหารได
39 ภาพท่ี 2.5 ผลิตภัณฑเ ซรามกิ ส มีหลากหลายรูปแบบ และสีสนั ทมี่ า : http://fieldtrip.ipst.ac.th เซรามิกส (ceramic) มีความหมายวา ความรอ น คําจาํ กัดความของคําวาเซรามิกส คือ วัสดุที่เกิดจากการรวมกันของสารอนินทรีย (inorganic) ท่ีอุณหภูมิสูง และสําหรับคําจํากัดความตาม ASTM คือ วัสดุที่เร่ิมตนจากสารอนินทรีย มาประกอบกันเกิดปฏิกิริยา ท่ีอุณหภูมิสูง สงผลใหอนุภาคของวัสดุเกิดการรวมชิดติดกันจนเกิดเปนอนุภาคขนาดเปล่ียนไปหรอื เกดิ เฟสใหมขน้ึ และทําใหโ ครงสรา งผลกึ เปลยี่ นไปจากเดิม เม่ือกลา วถงึ คาํ วา เซรามิกส มักจะนกึ ถึงผลิตภัณฑป ระเภทตา ง ๆ ที่ใชในชีวิตประจําวัน เชน ผลิตภัณฑบนโตะอาหาร ไดแก ถวยกาแฟ จานชาม เหยือก ผลิตภัณฑประเภทสขุ ภัณฑ อางลางหนา ท่ใี สสบู แกวนํา้ กระเบอื้ งปูพ้ืนและบุผนงั กระเบ้ืองหลังคาเซรามกิ ส โอง กระถาง และของตกแตงตาง ๆ แตในความเปนจริง ปจจุบันผลิตภัณฑเซรามิกสมีมากกวาท่ีกลาวมาแลวขางตน ซ่ึงทุกคนอาจไมคิดวาสิ่งของท่ีใชในชีวิตประจําวัน เชนอุปกรณอิเลคโทรนิคตาง ๆ เชน โทรศัพทมือถือ โทรทัศน วิทยุ รถยนต อุปกรณในเคร่ืองจักรตา ง ๆ อุปกรณท างดานการแพทย กระดูกเทียม ฟนปลอม จะมีสวนท่ีเปนเซรามิกสประกอบอยูดว ยทงั้ ส้นิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153