7272 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการวจิ ยั การวิจัยเรื่อง นวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 5 ผวู จิ ยั ไดด ำเนนิ การวจิ ัยในแตละขัน้ ตอน ตามรายละเอยี ดดังน้ี 1. ประชากรและกลุม ตวั อยาง 2. เครื่องมือท่ใี ชในการวิจัย 3. การสรา งและหาคุณภาพเครอ่ื งมอื 4. วธิ ดี ำเนนิ การทดลอง 5. การวเิ คราะหขอ มูล 6. สถติ ทิ ีใ่ ชในการวิเคราะหข อ มูล ประชากรและกลุมตวั อยา ง 1. ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร จำนวน 4 หองเรียน มีนกั เรยี น 132 คน ซึง่ ทางโรงเรียนไดจดั ผูเรียนของแตล ะหอ งเรยี นแบบคละความสามารถ 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/8 โรงเรียน สีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 1 หองเรียน 33 คน ซึ่งไดมาโดย วิธีการสุม แบบกลุม (Cluster Random Sampling) แบบแผนการวิจยั การวจิ ัยคร้ังนเี้ ปน การวิจยั เชิงทดลอง (experimental research) โดยใชร ปู แบบวจิ ยั ศึกษากลมุ เดียวทดสอบกอนและหลงั การทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) (มาเรยี ม นิลพันธ,ุ 2551. 143-152) ดงั ภาพที่ 2 ภาพที่ 2 รปู แบบการวจิ ยั One Group Pretest-Posttest Design T1 X T2
73 สัญลกั ษณท ่ีใชในแบบแผนการวจิ ยั T1 แทน การทดสอบกอ นเรยี น(Pretest) X แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรูรปู แบบวัฏจกั รการสืบเสาะ หาความรู 7 ข้นั T2 แทน การทดสอบหลังเรยี น(Posttest) เครื่องมือท่ีใชใ นการวิจยั เครือ่ งมอื ท่ีใชใ นการวิจัยครง้ั น้ี ประกอบดว ย 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใชนวตั กรรมการเรียนการสอนดว ยหองเรยี นออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับชั้น มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 เปนแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 30 ขอ 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5 ทมี่ คี วามพงึ พอใจตอการ จัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี จำนวน 15 ขอ เปนแบบวดั ชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมอื ผูวิจัยไดดำเนินการสรางและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการวิจัยตาม รายละเอียดและขน้ั ตอนตอ ไปนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่อื เทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกส และสมบตั ขิ องแกส สำหรับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 จำนวน 9 แผน มีข้ันตอนการสรางและหาประสิทธิภาพดังตอ ไปนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ.2560 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุง วิทยา”เพ่ือใชเ ปนแนวทางในการจดั ทำตารางวิเคราะหห ลักสตู ร กำหนดการสอน และแผนการจัดการ เรียนรู 1.2 ศึกษาเนื้อหา ผลการเรียนรู คำอธิบายรายวิชา หนวยการเรียนรู แกสและสมมบัติ ของแกส จากหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา”พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ. 2560 กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1.3 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสรางนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน 1.4 กำหนดองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งแตละแผนการจัดการเรียนรูมี องคป ระกอบดังน้ี
74 1.4.1 ชือ่ หนว ยการเรียนรู 1.4.2 สาระ/ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู 1.4.3 วตั ถุประสงคของการจดั การเรียนรูของบทเรียน 1.4.4 คำถามหลกั สำหรับการตรวจสอบความเขา ใจของนักเรยี น (ระบุระดับการรคู ดิ ) 1.4.5 ลกั ษณะงานทมี่ อบหมายใหกบั นักเรียน (ระบุระดับการรูคิด) 1.4.6 สอื่ /แหลงเรียนรู 1.4.7 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู 1.4.8 การวัดผลประเมนิ ผล 1.4.9 บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1.5 จัดทำแผนการจัดการเรียนรูใหสัมพันธกับเนื้อหาหรือจุดประสงคการเรียนรูให สอดคลอ งกับขั้นตอนในการจัดการเรยี นรูทใ่ี ชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรยี นออนไลน โดย ใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โดยใชร ูปแบบการสอน SSCS รวมกับเทคนิค Flipped Classroom ดังน้ี 1.5.1 ขั้นการคนหา (Search) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองเก็บรวบรวมขอมูลจาก สถานการณปญหาเพอื่ ระบุปญหา 1.5.2 ขั้นการแกปญหา (Solve) หมายถงึ ขั้นทน่ี กั เรยี นตองระบุสาแหตุของปญหา ออกแบบขั้นตอน วิธีการในการแกปญหาและดำเนินการแกปญหาเพื่อคนหาคำตอบของปญหาตาม ขน้ั ตอนทอ่ี อกแบบไว 1.5.3 ขั้นการสรางคำตอบ (Create) หมายถึง ขั้นการนำผลที่ไดมาจดั กระทำเปน ขั้นตอนเพือ่ ใหงา ยตอความเขา ใจ และเพ่อื สื่อสารกบั คนอื่นได 1.5.4 ขั้นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Share) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตอง นำเสนอกระบวนการแกปญ หา เรมิ่ ตั้งแตระบปุ ญหา แยกแยะประเดน็ ของปญ หา วธิ ีการทีห่ ลากหลาย ในการแกปญหา คำตอบที่คนพบจากการแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ และการนำวิธีการและคำตอบที่ ไดจากการแกป ญ หาไปประยกุ ตใช 1.6 นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียน ออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ทส่ี รางขน้ึ ไปใหผูเชย่ี วชาญจำนวน 5 ทา น ไดแ ก 1) นางเกศนิ ี ศรีวรรณา ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครเู ชย่ี วชาญ โรงเรยี นสคี ิว้ “สวสั ดผ์ิ ดงุ วิทยา” นครราชสมี า 2) นางภาวติ า พรมสีดา ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครเู ช่ยี วชาญ โรงเรียนสคี ว้ิ “สวัสดิผ์ ดงุ วทิ ยา” นครราชสมี า 3) นายสมเกียรติ แกววเิ วก ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครูเชย่ี วชาญ โรงเรียนสคี ิว้ “สวสั ดผ์ิ ดุงวิทยา” นครราชสีมา 4) นายอนชุ า โกมลภิส ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรยี นสีค้ิว “สวสั ด์ผิ ดุงวิทยา” นครราชสมี า 5) พ.จ.ต.ศิริศกั ดิ์ วงษร ักษา ตำแหนง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
75 โรงเรียนสคี ว้ิ “สวัสด์ผิ ดงุ วิทยา” นครราชสีมา ตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสมของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทั้งดาน สาระสำคัญ ผลการเรียนรู เนื้อหา การนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู สื่อการจัดการเรียนรู การวัดและ ประเมินผล โดยใชแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรูซึ่งเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั 1.7 นำคะแนนที่ไดจากแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูมาหา คาเฉล่ยี พบวา มีคา เฉลีย่ 4.85 แสดงวา แผนการจัดการเรียนรูทผ่ี วู ิจยั สรางขึน้ เปน แผนการจัดการ เรียนรูทมี่ ีคณุ ภาพมกี จิ กรรมการจัดการเรยี นรูทีเ่ หมาะสม (ดังตารางที่ 7 หนา 92) 1.8 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูและแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามขอเสนอแนะ ของผูเชี่ยวชาญ ไดแก ปรับปรุงการเขียนสาระการเรียนรูใหกระชับ และเพิ่มเติมอางอิงที่มาของ รูปภาพในใบงาน และนำแผนการจดั การเรียนรทู ่ปี รบั ปรงุ แลว ไปทดลองใชก บั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษา ปที่ 5/8 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โรงเรียนสีค้ิว “สวัสดผ์ิ ดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือหาขอบกพรองเก่ียวกับ เนอ้ื หา กระบวนการ การจัดกิจกรรม และเวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แลวนำแผนการจัดการเรียนรูมา ปรับปรุงแกไ ข และจัดพมิ พ เปนฉบบั สมบูรณ และนำไปทดลองใชจ ริงกับกลมุ ตัวอยางของการวจิ ัย 1.9 นำแผนการจัดการเรียนรูไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5/8 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564 จำนวน 33 คน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน (Pretest) เรื่อง แกสและสมบัติ ของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ มีขัน้ ตอนการสรา งแบบทดสอบ ดังนี้ 2.1 วเิ คราะหเนอื้ หา ผลการเรยี นรู จดุ ประสงคก ารเรยี นรู โดยกำหนดสดั สว นของ ขอสอบทจี่ ะวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นใหเ หมาะสมกับเนื้อหาวิชาทจี่ ะใชสอน 2.2 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ ใหครอบคลุมเนื้อหาตามจุดประสงค เพื่อเปนแบบทดสอบจริง จำนวน 30 ขอ 2.3 นำแบบทดสอบที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญ จำนวน 5 ทาน ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญชุด เดียวกับที่ประเมินประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู ตรวจสอบความสอดคลองของขอสอบ กับ ผลการเรียนรูและจุดประสงค แลวนำคะแนนที่ไดจากผูประเมินท้ัง 5 ทาน มาวิเคราะหหาคาความ สอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรู (IOC) พบวา มีคาความสอดคลองระหวางขอสอบกับผล การเรยี นรู (IOC) ซึง่ มีคาอยูใ นชว ง 0.80–1.00 มากกวา 0.50 ทุกขอ แตมีขอ เสนอแนะจากผูเ ช่ยี วชาญ ดังน้ี การจดั พิมพข อสอบบางขอภาษาทใ่ี ชไ มเหมาะสม การเรียงลำดบั ตัวเลอื กบางขอ ไมเ หมาะสม 2.4 นำแบบทดสอบที่ปรับปรุงแกไขแลว ไปทดสอบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 5/8 โรงเรียนสีคิว้ “สวัสด์ผิ ดงุ วทิ ยา” อำเภอสคี ิ้ว จงั หวัดนครราชสมี า ภาคเรยี นท่ี 1 ป การศกึ ษา 2563 จำนวน 33 คน เพ่อื หาคณุ ภาพของแบบทดสอบ
76 2.5 นำคะแนนที่ไดจากการตรวจแบบทดสอบมาวิเคราะหหาคุณภาพรายขอ คือ หาคาความยากงาย (P) และคาอำนาจจำแนก (r) ของขอสอบแตละขอ คัดเลือกขอสอบที่มี คาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.20 - 0.80 และคาอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ซึ่งผลจาก การหาคุณภาพของขอสอบ พบวา มีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.43 – 0.82 และคาอำนาจ จำแนก (r) อยรู ะหวา ง 0.21 – 0.71 (ดังตารางที่ 10 หนา 99 -100 ) 2.6 คัดเลือกขอสอบจากขอ 2.5 จำนวน 30 ขอ ไดขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.43 – 0.82 และคาอำนาจจำแนก (r) อยรู ะหวาง 0.21 – 0.71(ดงั ตารางที่ 10 หนา 99) 2.7 นำขอสอบจากขอ 2.6 จำนวน 30 ขอ มาวิเคราะหหาคาความความเช่ือมั่นของ แบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใชสูตร KR-20 ของ คูเดอร ริชารดสัน (Kuder-Richardson) ไดคาความ เชื่อมั่นของแบบทดสอบเทากับ .97 (ภาคผนวก ข หนา 101) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนท่ไี ดไปใชเ ปนเครอื่ งมือการศึกษาตอไป 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดจัดกิจกรรม การเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และ สอ่ื เทคโนโลยี รายวชิ าเคมี เรื่อง แกสและสมบัตขิ องแกส จำนวน 15 ขอ เปนแบบวดั ชนิดมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั มขี ้ันตอนการสรา งและหาคณุ ภาพ ดังน้ี 3.1 ศึกษาหลักการ และวิธีการสรา งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3.2 วิเคราะห กำหนดนิยาม พฤติกรรมทีต่ องการวัดใหชดั เจน 3.3 สรา งแบบประเมินความพึงพอใจที่จะวัด คือ มลี กั ษณะเปน แบบมาตราสว นประมาณ คา 5 ระดบั ตามวิธีของ ลิเคิรท (Likert) ซ่ึงกำหนดคาระดับ ดังนี้ พงึ พอใจมากท่ีสุด 5 คะแนน พึงพอใจมาก 4 คะแนน พึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน พงึ พอใจนอ ย 2 คะแนน พึงพอใจนอยที่สดุ 1 คะแนน 3.4 นำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจไปใหผูเชยี่ วชาญจำนวน 5 ทาน ชุดเดิมตรวจสอบ ความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ความถกู ตองสอดคลองระหวางประเด็นการประเมนิ กบั พฤตกิ รรมที่ ตอ งการวดั 3.5 ปรบั ปรงุ แกไ ขแบบประเมินความพงึ พอใจตามคำแนะนำของผูเชีย่ วชาญ และ จดั พมิ พใ หม เพอื่ นำไปใชในการเก็บรวบรวมขอ มลู วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ผูวิจัยไดด ำเนินการตามลำดับข้นั ดังตอ ไปนี้ 1. นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ ที่ผูวิจัย สรา งขนึ้ ไปทดสอบกบั นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/8 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ซึ่งเปน กลมุ ตวั อยางแลว บันทึกคะแนนที่ไดจาการทดสอบเปน คะแนนผลสมั ฤทธ์ิกอนเรยี น
77 2. ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรม การเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยดำเนินการทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู ตามแผนการจดั การเรยี นรู จำนวน 9 แผน เวลาเรียน 18 ชว่ั โมง โดยมขี ัน้ ตอนการสอนแตละแผนการ จัดการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี โดยใชรปู แบบการสอน SSCS รว มกบั เทคนคิ Flipped Classroom ดังน้ี 2.1 ขั้นการคนหา (Search) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองเก็บรวบรวมขอมูลจาก สถานการณปญ หาเพื่อระบุปญหา 2.2 ขั้นการแกปญหา (Solve) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองระบุสาแหตุของปญ หา ออกแบบขั้นตอน วิธีการในการแกปญหาและดำเนินการแกปญหาเพื่อคนหาคำตอบของปญหาตาม ขนั้ ตอนที่ออกแบบไว 2.3 ขั้นการสรางคำตอบ (Create) หมายถึง ขั้นการนำผลที่ไดมาจัดกระทำเปน ขัน้ ตอนเพ่อื ใหงา ยตอ ความเขา ใจ และเพอื่ สอื่ สารกับคนอ่นื ได 2.4 ขั้นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Share) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตอง นำเสนอกระบวนการแกปญหา เริ่มตั้งแตระบุปญหา แยกแยะประเด็นของปญหา วิธีการท่ี หลากหลายในการแกปญหา คำตอบที่คนพบจากการแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ และการนำวิธีการ และคำตอบทไ่ี ดจ ากการแกป ญหาไปประยุกตใช 3. ทดสอบหลังเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ือง แกสและสมบัติ ของแกส วชิ าเคมี 3 ว32223 ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 5 โดยทำการทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ดวย แบบทดสอบซึ่งเปนชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียนไปทดสอบกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5/8 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 ซ่ึงเปนกลมุ ตัวอยาง 4. ตรวจผลการทดสอบจากขอทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น แลวนำคะแนนท่ีไดมา วิเคราะหโดยใชวธิ ีทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐาน 6. เมื่อสิน้ สดุ การเรยี นการสอนทงั้ 9 แผน แลวใหน ักเรียนกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม ความพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ การจดั กิจกรรมการเรยี นรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดว ย หองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสอ่ื เทคโนโลยี รายวชิ าเคมี เรอ่ื ง แกสและสมบตั ิ ของแกส จำนวน 15 ขอ การวิเคราะหข อมลู 1. หาคา สถิติพ้นื ฐาน ไดแ ก คาเฉลีย่ คา เบย่ี งเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะหหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู โดยใชคารอยละ ใชสูตร E1 / E2 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื ง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 กอ นและหลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู วยนวตั กรรมการเรยี นการสอนดวย
78 หอ งเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสอ่ื เทคโนโลยี โดยใชส ถิติ t –test แบบ dependent sample 4. วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรยี นโดยหาคา เฉลยี่ คา เบย่ี งเบนมาตรฐานแลวนำคาเฉลย่ี ทไี่ ดไปเปรยี บเทียบกบั เกณฑท่ีตงั้ สถิตทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหข อมลู 1. สถติ ิพนื้ ฐาน ไดแ ก 1.1 หาคา คะแนนเฉลี่ย คำนวณจากสูตรดงั นี้ (ชศู รี วงศร ัตนะ, 2550, หนา 33) X = ∑x n เม่อื X แทน คะแนนเฉล่ยี Σ X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n แทน จำนวนคนในกลุม ตัวอยาง 1.2 ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลมุ ตัวอยาง (S) ใชส ูตรตอไปนี้ (ชูศรี วงศรตั นะ, 2550, หนา 60) S= n∑X2 -(∑X)2 n(n-1) เมอ่ื S แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑X แทน ผลรวมของคะแนน ∑X 2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล ะตวั ยกกำลังสอง n แทน จำนวนคนในกลุมตัวอยาง 2. วิเคราะหค วามเทยี่ งตรงตามเน้อื หา โดยใชดชั นคี วามสอดคลองระหวา งขอสอบกับ ผลการเรียนรู มสี ตู รดังนี้ (ลว น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 249) IOC = R N เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกบั ผลการเรยี นรู R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผเู ช่ยี วชาญทง้ั หมด N แทน จำนวนผเู ชี่ยวชาญ 3. หาคาความยากงา ย (p) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น มีสตู รดังน้ี
79 (ลว น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 196) p= R N เมื่อ R แทน จำนวนคนทท่ี ำขอนน้ั ถูก N แทน จำนวนคนท่ีทำขอน้นั ทั้งหมด 4. หาคาอำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 198) r = Ru -R1 N 2 เมือ่ Ru แทน จำนวนนกั เรียนท่ีตอบถกู ในกลุมสงู R1 แทน จำนวนนักเรียนทต่ี อบถกู ในกลุม ต่ำ N แทน จำนวนนกั เรียนในกลุมสูงและกลมุ ต่ำ 5. หาคา ความความเชื่อมน่ั โดยใชส ูตรของคเู ดอร -รชิ ารดสนั (Kuder-Richardson) ท่ี 20 (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, หนา 215) =( )rttk 1 - ∑pq k-1 s2 เมอ่ื rtt แทน คาสัมประสิทธ์ขิ องความเชื่อม่ัน k แทน จำนวนขอ สอบ s2 แทน คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบทง้ั ฉบับ 6. หาประสทิ ธิภาพของแผนการจดั การเรยี นรูโดยใชสตู ร E1 / E2 ดงั นี้ (วาโร เพ็งสวสั ด,ิ์ 2546, หนา 43) ∑x E1 = NA × 100 เมื่อ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ
80 ∑ x แทน คะแนนรวมของแบบฝกหดั หรอื งาน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝก หัดทกุ ชิ้นรวมกัน N แทน จำนวนผูเรยี น ∑f =E2 NB × 100 เม่ือ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ ∑ f แทน คะแนนรวมของผลลัพธหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั เรยี น N แทน จำนวนผเู รยี น 7. สถติ ิที่ใชใ นการทดสอบสมมตฐิ าน ไดแ ก วิเคราะหห าความแตกตางระหวา งคะแนนทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี นโดยใชสถติ ิ t –test แบบ dependent sample (บุญชม ศรีสะอาด, 2556, หนา 179) t = ∑D n∑D2 - (∑D)2 n-1 เมอ่ื D แทน ผลตา งของคะแนนหลังและกอนเรียน n แทน จำนวนนกั เรียน
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: