Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 นวัตกรรม

บทที่ 3 นวัตกรรม

Published by Preeyapat Lengrabam, 2022-06-22 20:54:26

Description: บทที่ 3 นวัตกรรม

Keywords: google classroom

Search

Read the Text Version

7272 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการวจิ ยั การวิจัยเรื่อง นวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 5 ผวู จิ ยั ไดด ำเนนิ การวจิ ัยในแตละขัน้ ตอน ตามรายละเอยี ดดังน้ี 1. ประชากรและกลุม ตวั อยาง 2. เครื่องมือท่ใี ชในการวิจัย 3. การสรา งและหาคุณภาพเครอ่ื งมอื 4. วธิ ดี ำเนนิ การทดลอง 5. การวเิ คราะหขอ มูล 6. สถติ ทิ ีใ่ ชในการวิเคราะหข อ มูล ประชากรและกลุมตวั อยา ง 1. ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร จำนวน 4 หองเรียน มีนกั เรยี น 132 คน ซึง่ ทางโรงเรียนไดจดั ผูเรียนของแตล ะหอ งเรยี นแบบคละความสามารถ 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/8 โรงเรียน สีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 1 หองเรียน 33 คน ซึ่งไดมาโดย วิธีการสุม แบบกลุม (Cluster Random Sampling) แบบแผนการวิจยั การวจิ ัยคร้ังนเี้ ปน การวิจยั เชิงทดลอง (experimental research) โดยใชร ปู แบบวจิ ยั ศึกษากลมุ เดียวทดสอบกอนและหลงั การทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) (มาเรยี ม นิลพันธ,ุ 2551. 143-152) ดงั ภาพที่ 2 ภาพที่ 2 รปู แบบการวจิ ยั One Group Pretest-Posttest Design T1 X T2

73 สัญลกั ษณท ่ีใชในแบบแผนการวจิ ยั T1 แทน การทดสอบกอ นเรยี น(Pretest) X แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรูรปู แบบวัฏจกั รการสืบเสาะ หาความรู 7 ข้นั T2 แทน การทดสอบหลังเรยี น(Posttest) เครื่องมือท่ีใชใ นการวิจยั เครือ่ งมอื ท่ีใชใ นการวิจัยครง้ั น้ี ประกอบดว ย 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใชนวตั กรรมการเรียนการสอนดว ยหองเรยี นออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับชั้น มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 เปนแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 30 ขอ 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5 ทมี่ คี วามพงึ พอใจตอการ จัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี จำนวน 15 ขอ เปนแบบวดั ชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมอื ผูวิจัยไดดำเนินการสรางและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการวิจัยตาม รายละเอียดและขน้ั ตอนตอ ไปนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่อื เทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกส และสมบตั ขิ องแกส สำหรับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 จำนวน 9 แผน มีข้ันตอนการสรางและหาประสิทธิภาพดังตอ ไปนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ.2560 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุง วิทยา”เพ่ือใชเ ปนแนวทางในการจดั ทำตารางวิเคราะหห ลักสตู ร กำหนดการสอน และแผนการจัดการ เรียนรู 1.2 ศึกษาเนื้อหา ผลการเรียนรู คำอธิบายรายวิชา หนวยการเรียนรู แกสและสมมบัติ ของแกส จากหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา”พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ. 2560 กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1.3 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการสรางนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน 1.4 กำหนดองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งแตละแผนการจัดการเรียนรูมี องคป ระกอบดังน้ี

74 1.4.1 ชือ่ หนว ยการเรียนรู 1.4.2 สาระ/ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู 1.4.3 วตั ถุประสงคของการจดั การเรียนรูของบทเรียน 1.4.4 คำถามหลกั สำหรับการตรวจสอบความเขา ใจของนักเรยี น (ระบุระดับการรคู ดิ ) 1.4.5 ลกั ษณะงานทมี่ อบหมายใหกบั นักเรียน (ระบุระดับการรูคิด) 1.4.6 สอื่ /แหลงเรียนรู 1.4.7 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู 1.4.8 การวัดผลประเมนิ ผล 1.4.9 บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1.5 จัดทำแผนการจัดการเรียนรูใหสัมพันธกับเนื้อหาหรือจุดประสงคการเรียนรูให สอดคลอ งกับขั้นตอนในการจัดการเรยี นรูทใ่ี ชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรยี นออนไลน โดย ใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โดยใชร ูปแบบการสอน SSCS รวมกับเทคนิค Flipped Classroom ดังน้ี 1.5.1 ขั้นการคนหา (Search) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองเก็บรวบรวมขอมูลจาก สถานการณปญหาเพอื่ ระบุปญหา 1.5.2 ขั้นการแกปญหา (Solve) หมายถงึ ขั้นทน่ี กั เรยี นตองระบุสาแหตุของปญหา ออกแบบขั้นตอน วิธีการในการแกปญหาและดำเนินการแกปญหาเพื่อคนหาคำตอบของปญหาตาม ขน้ั ตอนทอ่ี อกแบบไว 1.5.3 ขั้นการสรางคำตอบ (Create) หมายถึง ขั้นการนำผลที่ไดมาจดั กระทำเปน ขั้นตอนเพือ่ ใหงา ยตอความเขา ใจ และเพ่อื สื่อสารกบั คนอื่นได 1.5.4 ขั้นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Share) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตอง นำเสนอกระบวนการแกปญ หา เรมิ่ ตั้งแตระบปุ ญหา แยกแยะประเดน็ ของปญ หา วธิ ีการทีห่ ลากหลาย ในการแกปญหา คำตอบที่คนพบจากการแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ และการนำวิธีการและคำตอบที่ ไดจากการแกป ญ หาไปประยกุ ตใช 1.6 นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียน ออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ทส่ี รางขน้ึ ไปใหผูเชย่ี วชาญจำนวน 5 ทา น ไดแ ก 1) นางเกศนิ ี ศรีวรรณา ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครเู ชย่ี วชาญ โรงเรยี นสคี ิว้ “สวสั ดผ์ิ ดงุ วิทยา” นครราชสมี า 2) นางภาวติ า พรมสีดา ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครเู ช่ยี วชาญ โรงเรียนสคี ว้ิ “สวัสดิผ์ ดงุ วทิ ยา” นครราชสมี า 3) นายสมเกียรติ แกววเิ วก ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครูเชย่ี วชาญ โรงเรียนสคี ิว้ “สวสั ดผ์ิ ดุงวิทยา” นครราชสีมา 4) นายอนชุ า โกมลภิส ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรยี นสีค้ิว “สวสั ด์ผิ ดุงวิทยา” นครราชสมี า 5) พ.จ.ต.ศิริศกั ดิ์ วงษร ักษา ตำแหนง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

75 โรงเรียนสคี ว้ิ “สวัสด์ผิ ดงุ วิทยา” นครราชสีมา ตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสมของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทั้งดาน สาระสำคัญ ผลการเรียนรู เนื้อหา การนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู สื่อการจัดการเรียนรู การวัดและ ประเมินผล โดยใชแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรูซึ่งเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั 1.7 นำคะแนนที่ไดจากแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูมาหา คาเฉล่ยี พบวา มีคา เฉลีย่ 4.85 แสดงวา แผนการจัดการเรียนรูทผ่ี วู ิจยั สรางขึน้ เปน แผนการจัดการ เรียนรูทมี่ ีคณุ ภาพมกี จิ กรรมการจัดการเรยี นรูทีเ่ หมาะสม (ดังตารางที่ 7 หนา 92) 1.8 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูและแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามขอเสนอแนะ ของผูเชี่ยวชาญ ไดแก ปรับปรุงการเขียนสาระการเรียนรูใหกระชับ และเพิ่มเติมอางอิงที่มาของ รูปภาพในใบงาน และนำแผนการจดั การเรียนรทู ่ปี รบั ปรงุ แลว ไปทดลองใชก บั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษา ปที่ 5/8 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โรงเรียนสีค้ิว “สวัสดผ์ิ ดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือหาขอบกพรองเก่ียวกับ เนอ้ื หา กระบวนการ การจัดกิจกรรม และเวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แลวนำแผนการจัดการเรียนรูมา ปรับปรุงแกไ ข และจัดพมิ พ เปนฉบบั สมบูรณ และนำไปทดลองใชจ ริงกับกลมุ ตัวอยางของการวจิ ัย 1.9 นำแผนการจัดการเรียนรูไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5/8 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564 จำนวน 33 คน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน (Pretest) เรื่อง แกสและสมบัติ ของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ มีขัน้ ตอนการสรา งแบบทดสอบ ดังนี้ 2.1 วเิ คราะหเนอื้ หา ผลการเรยี นรู จดุ ประสงคก ารเรยี นรู โดยกำหนดสดั สว นของ ขอสอบทจี่ ะวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นใหเ หมาะสมกับเนื้อหาวิชาทจี่ ะใชสอน 2.2 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ ใหครอบคลุมเนื้อหาตามจุดประสงค เพื่อเปนแบบทดสอบจริง จำนวน 30 ขอ 2.3 นำแบบทดสอบที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญ จำนวน 5 ทาน ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญชุด เดียวกับที่ประเมินประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู ตรวจสอบความสอดคลองของขอสอบ กับ ผลการเรียนรูและจุดประสงค แลวนำคะแนนที่ไดจากผูประเมินท้ัง 5 ทาน มาวิเคราะหหาคาความ สอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรู (IOC) พบวา มีคาความสอดคลองระหวางขอสอบกับผล การเรยี นรู (IOC) ซึง่ มีคาอยูใ นชว ง 0.80–1.00 มากกวา 0.50 ทุกขอ แตมีขอ เสนอแนะจากผูเ ช่ยี วชาญ ดังน้ี การจดั พิมพข อสอบบางขอภาษาทใ่ี ชไ มเหมาะสม การเรียงลำดบั ตัวเลอื กบางขอ ไมเ หมาะสม 2.4 นำแบบทดสอบที่ปรับปรุงแกไขแลว ไปทดสอบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 5/8 โรงเรียนสีคิว้ “สวัสด์ผิ ดงุ วทิ ยา” อำเภอสคี ิ้ว จงั หวัดนครราชสมี า ภาคเรยี นท่ี 1 ป การศกึ ษา 2563 จำนวน 33 คน เพ่อื หาคณุ ภาพของแบบทดสอบ

76 2.5 นำคะแนนที่ไดจากการตรวจแบบทดสอบมาวิเคราะหหาคุณภาพรายขอ คือ หาคาความยากงาย (P) และคาอำนาจจำแนก (r) ของขอสอบแตละขอ คัดเลือกขอสอบที่มี คาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.20 - 0.80 และคาอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ซึ่งผลจาก การหาคุณภาพของขอสอบ พบวา มีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.43 – 0.82 และคาอำนาจ จำแนก (r) อยรู ะหวา ง 0.21 – 0.71 (ดังตารางที่ 10 หนา 99 -100 ) 2.6 คัดเลือกขอสอบจากขอ 2.5 จำนวน 30 ขอ ไดขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.43 – 0.82 และคาอำนาจจำแนก (r) อยรู ะหวาง 0.21 – 0.71(ดงั ตารางที่ 10 หนา 99) 2.7 นำขอสอบจากขอ 2.6 จำนวน 30 ขอ มาวิเคราะหหาคาความความเช่ือมั่นของ แบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใชสูตร KR-20 ของ คูเดอร ริชารดสัน (Kuder-Richardson) ไดคาความ เชื่อมั่นของแบบทดสอบเทากับ .97 (ภาคผนวก ข หนา 101) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนท่ไี ดไปใชเ ปนเครอื่ งมือการศึกษาตอไป 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดจัดกิจกรรม การเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และ สอ่ื เทคโนโลยี รายวชิ าเคมี เรื่อง แกสและสมบัตขิ องแกส จำนวน 15 ขอ เปนแบบวดั ชนิดมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั มขี ้ันตอนการสรา งและหาคณุ ภาพ ดังน้ี 3.1 ศึกษาหลักการ และวิธีการสรา งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3.2 วิเคราะห กำหนดนิยาม พฤติกรรมทีต่ องการวัดใหชดั เจน 3.3 สรา งแบบประเมินความพึงพอใจที่จะวัด คือ มลี กั ษณะเปน แบบมาตราสว นประมาณ คา 5 ระดบั ตามวิธีของ ลิเคิรท (Likert) ซ่ึงกำหนดคาระดับ ดังนี้ พงึ พอใจมากท่ีสุด 5 คะแนน พึงพอใจมาก 4 คะแนน พึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน พงึ พอใจนอ ย 2 คะแนน พึงพอใจนอยที่สดุ 1 คะแนน 3.4 นำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจไปใหผูเชยี่ วชาญจำนวน 5 ทาน ชุดเดิมตรวจสอบ ความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ความถกู ตองสอดคลองระหวางประเด็นการประเมนิ กบั พฤตกิ รรมที่ ตอ งการวดั 3.5 ปรบั ปรงุ แกไ ขแบบประเมินความพงึ พอใจตามคำแนะนำของผูเชีย่ วชาญ และ จดั พมิ พใ หม เพอื่ นำไปใชในการเก็บรวบรวมขอ มลู วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ผูวิจัยไดด ำเนินการตามลำดับข้นั ดังตอ ไปนี้ 1. นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ ที่ผูวิจัย สรา งขนึ้ ไปทดสอบกบั นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/8 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ซึ่งเปน กลมุ ตวั อยางแลว บันทึกคะแนนที่ไดจาการทดสอบเปน คะแนนผลสมั ฤทธ์ิกอนเรยี น

77 2. ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรม การเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี รายวิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยดำเนินการทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรู ตามแผนการจดั การเรยี นรู จำนวน 9 แผน เวลาเรียน 18 ชว่ั โมง โดยมขี ัน้ ตอนการสอนแตละแผนการ จัดการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี โดยใชรปู แบบการสอน SSCS รว มกบั เทคนคิ Flipped Classroom ดังน้ี 2.1 ขั้นการคนหา (Search) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองเก็บรวบรวมขอมูลจาก สถานการณปญ หาเพื่อระบุปญหา 2.2 ขั้นการแกปญหา (Solve) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตองระบุสาแหตุของปญ หา ออกแบบขั้นตอน วิธีการในการแกปญหาและดำเนินการแกปญหาเพื่อคนหาคำตอบของปญหาตาม ขนั้ ตอนที่ออกแบบไว 2.3 ขั้นการสรางคำตอบ (Create) หมายถึง ขั้นการนำผลที่ไดมาจัดกระทำเปน ขัน้ ตอนเพ่อื ใหงา ยตอ ความเขา ใจ และเพอื่ สอื่ สารกับคนอ่นื ได 2.4 ขั้นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Share) หมายถึง ขั้นที่นักเรียนตอง นำเสนอกระบวนการแกปญหา เริ่มตั้งแตระบุปญหา แยกแยะประเด็นของปญหา วิธีการท่ี หลากหลายในการแกปญหา คำตอบที่คนพบจากการแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ และการนำวิธีการ และคำตอบทไ่ี ดจ ากการแกป ญหาไปประยุกตใช 3. ทดสอบหลังเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ือง แกสและสมบัติ ของแกส วชิ าเคมี 3 ว32223 ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 5 โดยทำการทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ดวย แบบทดสอบซึ่งเปนชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียนไปทดสอบกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5/8 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 ซ่ึงเปนกลมุ ตัวอยาง 4. ตรวจผลการทดสอบจากขอทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น แลวนำคะแนนท่ีไดมา วิเคราะหโดยใชวธิ ีทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐาน 6. เมื่อสิน้ สดุ การเรยี นการสอนทงั้ 9 แผน แลวใหน ักเรียนกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม ความพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ การจดั กิจกรรมการเรยี นรูดวยนวัตกรรมการเรียนการสอนดว ย หองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสอ่ื เทคโนโลยี รายวชิ าเคมี เรอ่ื ง แกสและสมบตั ิ ของแกส จำนวน 15 ขอ การวิเคราะหข อมลู 1. หาคา สถิติพ้นื ฐาน ไดแ ก คาเฉลีย่ คา เบย่ี งเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะหหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู โดยใชคารอยละ ใชสูตร E1 / E2 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื ง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 กอ นและหลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู วยนวตั กรรมการเรยี นการสอนดวย

78 หอ งเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสอ่ื เทคโนโลยี โดยใชส ถิติ t –test แบบ dependent sample 4. วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรยี นโดยหาคา เฉลยี่ คา เบย่ี งเบนมาตรฐานแลวนำคาเฉลย่ี ทไี่ ดไปเปรยี บเทียบกบั เกณฑท่ีตงั้ สถิตทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหข อมลู 1. สถติ ิพนื้ ฐาน ไดแ ก 1.1 หาคา คะแนนเฉลี่ย คำนวณจากสูตรดงั นี้ (ชศู รี วงศร ัตนะ, 2550, หนา 33) X = ∑x n เม่อื X แทน คะแนนเฉล่ยี Σ X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n แทน จำนวนคนในกลุม ตัวอยาง 1.2 ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลมุ ตัวอยาง (S) ใชส ูตรตอไปนี้ (ชูศรี วงศรตั นะ, 2550, หนา 60) S= n∑X2 -(∑X)2 n(n-1) เมอ่ื S แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑X แทน ผลรวมของคะแนน ∑X 2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล ะตวั ยกกำลังสอง n แทน จำนวนคนในกลุมตัวอยาง 2. วิเคราะหค วามเทยี่ งตรงตามเน้อื หา โดยใชดชั นคี วามสอดคลองระหวา งขอสอบกับ ผลการเรียนรู มสี ตู รดังนี้ (ลว น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 249) IOC = R N เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกบั ผลการเรยี นรู R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผเู ช่ยี วชาญทง้ั หมด N แทน จำนวนผเู ชี่ยวชาญ 3. หาคาความยากงา ย (p) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น มีสตู รดังน้ี

79 (ลว น สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 196) p= R N เมื่อ R แทน จำนวนคนทท่ี ำขอนน้ั ถูก N แทน จำนวนคนท่ีทำขอน้นั ทั้งหมด 4. หาคาอำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ, 2543, หนา 198) r = Ru -R1 N 2 เมือ่ Ru แทน จำนวนนกั เรียนท่ีตอบถกู ในกลุมสงู R1 แทน จำนวนนักเรียนทต่ี อบถกู ในกลุม ต่ำ N แทน จำนวนนกั เรียนในกลุมสูงและกลมุ ต่ำ 5. หาคา ความความเชื่อมน่ั โดยใชส ูตรของคเู ดอร -รชิ ารดสนั (Kuder-Richardson) ท่ี 20 (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, หนา 215) =( )rttk 1 - ∑pq k-1 s2 เมอ่ื rtt แทน คาสัมประสิทธ์ขิ องความเชื่อม่ัน k แทน จำนวนขอ สอบ s2 แทน คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบทง้ั ฉบับ 6. หาประสทิ ธิภาพของแผนการจดั การเรยี นรูโดยใชสตู ร E1 / E2 ดงั นี้ (วาโร เพ็งสวสั ด,ิ์ 2546, หนา 43) ∑x E1 = NA × 100 เมื่อ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ

80 ∑ x แทน คะแนนรวมของแบบฝกหดั หรอื งาน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝก หัดทกุ ชิ้นรวมกัน N แทน จำนวนผูเรยี น ∑f =E2 NB × 100 เม่ือ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ ∑ f แทน คะแนนรวมของผลลัพธหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั เรยี น N แทน จำนวนผเู รยี น 7. สถติ ิที่ใชใ นการทดสอบสมมตฐิ าน ไดแ ก วิเคราะหห าความแตกตางระหวา งคะแนนทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี นโดยใชสถติ ิ t –test แบบ dependent sample (บุญชม ศรีสะอาด, 2556, หนา 179) t = ∑D n∑D2 - (∑D)2 n-1 เมอ่ื D แทน ผลตา งของคะแนนหลังและกอนเรียน n แทน จำนวนนกั เรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook