Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย บที่ 1

งานวิจัย บที่ 1

Published by padmalid210140, 2020-03-20 04:34:37

Description: รูปแบบการเรียน

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีการทาํ ไรท่ ํานาเป็นสว่ นใหญ่ ดนิ แดนพืน้ ทท่ี ่ีเพาะปลูก ยอ่ มมี ความสําคัญ น่นั หมายถึงหากพนื้ ท่ีดินตํามีธาตุอินทรีย์อุดมสมบรู ณ์ พชื ผลย่อมเติบโตงอกงามให้ ตอกผลอย่าง เต็มท่ี แตห่ ากดนิ ขาดสารอาหาร ตอกผสก็ไม่เตม็ เม็ดเต็มหน่วย ชาวนาไทยมกี ารทาํ นาสอง แบบ คอื การทาํ นา ในช่วงทเ่ี หมาะสมคือฤดูฝน ซึ่งมฤี ตูนป้ี ลี ะครงั้ เรยี กวา่ นาปี สว่ นการทาํ นาในฤดอู ่นื เพ่มิ ขึ้นคอื ทาํ ในฤดูแลง้ จงึ เรียกวา่ นาปรงั ผลผลิตจากนาปแี ละนาปรงั อาจไมเ่ หมือนกัน เนื่องจากนาปี เปน็ การทํานาปีละคร้งั ในวิถชี วี ติ ของคนไทยน้ันผูกพนั ธ์กันมานานนบั แต่โบราณจนถงึ ปัจจบุ ันเพียงแต่ใน ปัจจุบนั มีเคร่อื งไม้เครอ่ื งมือชว่ ยในการ ทํานา ซ่งึ มีความแตกต่างจากสมยั โบราณ ท่ีใชว้ ัวหรือควายท่ใี ช้ใน การไถนา และใชแ้ รงงานคนเปน็ สว่ นใหญ่ บทบาทสาํ คญั ของข้าวในวถิ ีแหง่ ชีวติ คนไทยและคนในเอเชีย นน้ั มงุ่ ปลูกขา้ วใช้เพอ่ื การปริโภค ใชเ้ พอื่ การ แลกเปลี่ยน กับปจั จัยอนื่ ๆ ทีจ่ ําเป็นต่อการดาํ รงชวี ิตเช่น เสือ้ ผา้ ยารกั ษาโรค หรอื อาหารประเภทอ่นื กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถงึ สถานการณ์การผลิตและการตลาดข้าวนาปรงั ปี 2558 (ศาตการณ์ ณ เดอื นมนี าคม 2558) พบว่ามเี นือ้ ที่เพาะปลูก 8.87 ล้านไร่ ผลผลิต 5.52 ลา้ นตนั ขา้ วเปลอื ก และผลผลติ ตอ่ ไร่ 622 กโิ ลกรมั เม่อื เทยี บกับปี 2557 เน้อื ที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 41 ร้อยละ 43 และร้อยละ 3 ตามลําดบั เนอื่ งจากปริมาณนํา้ ในเข่อื นขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ทีใ่ ชก้ ารได้มี นอ้ ย และไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ซึง่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไดอ้ อก ประกาศงตการสง่ นาํ้ เพอ่ื การ ปลกู ข้าวนาปรัง ตัง้ แตว่ นั ท่ี 7 ตุลาคม 2557 - 30 เมษายน 2558 ประกอบ กบั ราคาขา้ วมแี นวโน้มลดลง ทําให้ เกษตรกรลดเนอ้ื ทเ่ี พาะปลูกลง โดยมีเกษตรกรปรับเปล่ียนไปปลกู พชื ท่ีใชน้ า้ํ น้อยกวา่ เช่น พืชตระกูลถัว่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ขา้ วโพดหวาน และบางพืน้ ทป่ี ลอ่ ยว่าง โดยผลผลติ ออกสู่ตลาด ตงั้ แต่เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ – ตุลาคม 2558 ซง่ึ คาดวา่ หาผลผลติ จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม 2558 ปริมาณ 4.43 ล้านตันขา้ วเปลอื ก หรอื คิดเป็นร้อยละ 80 ของผลผลิตข้าวนา ปรงั ทัง้ หมด จังหวัดอุบลราชธานี้สว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรม จะเหน็ ไดจ้ ากพื้นทพี่ น้ื ที่ ปลกู ข้าวประมาณ 3,837,237 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 81 ของพ้นื ทีก่ ารเกษตรทง้ั หมดของจังหวัด ผลจาก การวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางกายภาพพบว่า อา้ เภอเดชอุดม มีศักยภาพของพ้ืนท่ใี นการผลิตข้าวมาก ท่ีสดุ รองลงมาคือตระการพชื ผล อาํ เภอพบิ ูลมังสาหาร อาํ เภอสริ ินธร และปลูกใต้ทท่ี กุ อาํ เภอ สภาพทาง เศรษฐกจิ จงึ ขนึ้ อยกู่ บั ปริมาณผลผลิตและระดบั ราคาพชื ผลทางเศรษฐกจิ พืชผลหลักทางเศรษฐกจิ ได้แก่ ข้าว,มนั สาํ ปะหลงั สว่ นอาชีพทส่ี ําคญั รองลงมาคอื อตุ สาหกรรม โดยเฉพาะ อตุ สาหกรรมการ แปรรปู ผลผลติ การเกษตร การค้าและการบรกิ าร

2 ขา้ วเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมพี นื้ ที่เพาะปลูก ขา้ วนาปี ประมาณ 55,812,540 ไร่ โดยภาคเหนือคดิ เปน็ ร้อยละ 21.15 ภาคกลางคิดเปน็ รอ้ ยละ 13.12 ภาคใต้คดิ เป็น รอ้ ยละ 1.57 และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมพี นื้ ทปี่ ลูก ขา้ วร้อยละ 54. 15 (สาํ นักงาน เศรษฐกิจการเกษตร, 2559) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นอกจากจะเป็น ภูมภิ าคท่มี ีพ้นื ทีเ่ พาะปลูกข้าว มากทสี่ ุดของประเทศ แลว้ ยงั เป็นแหล่งผลิตขา้ วหอมมะลิ 105 ทใ่ี หญท่ ่ีสดุ และมคี ณุ ภาพดีท่ีสดุ ของ ประเทศ เนอ่ื งจากดนิ มี ลักษณะเปน็ ดนิ ทราย ซ่ึงเป็นผลดีทัง้ ในด้านความหอม และความนมุ่ ของรสชาติ จนได้รับความนยิ มจากผู้ บรโิ ภค (กรมการข้าว, 2557) ดังนั้นขา้ วหอมมะลิ 105 จึงเป็นพชื เศรษฐกิจหลัก ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเปน็ พืชเศรษฐกิจทส่ี าํ คญั ท่ีสุดของจงั หวัดอุบลราชธานี ซ่งึ มีพน้ื ทป่ี ลกู ข้าวเปน็ อนั ดบั หนึง่ ของประเทศไทยโดย มีพืน้ ทป่ี ลูกขา้ วรวม 3,850,898 ไร่ มีผลผลิตรวมทง้ั สน้ิ 1,184,353 ตน้ แตผ่ ลผลิตเฉลย่ี ต่อไรย่ งั ตํา่ มาก โดย ผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไรข่ องขา้ วนาปีของจังหวดั อุบลราชธานี เท่ากับ 325 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ซ่งึ ตํ่ากวา่ ผลผลิตของ ประเทศทไ่ี ด้ 435 กิโลกรมั ต่อไร่ และมี ตน้ ทนุ การผลติ ข้าวนาปีประมาณ 4,567 บาทตอ่ ไร่ (สาํ นกั งาน เศรษฐกิจการเกษตร, 2559) อย่างไรก็ ตามปญั หา สําคญั คือความแหง้ แลง้ ขาดแคลนระบบชลประทาน ต้องอาศัยน้ําฝนจากธรรมชาตใิ นการ เพาะปลูก อีกทั้ง ดินยังขาดความอุดมสมบรู ณ์ และประสบปญั หาเกยี่ ว ทับแรงงานขาดแคลน เนอ่ื งจาก แรงงานจากภาศ เกษตรกรรมอพยพสูภ่ าคอตุ สาหกรรมเป็นจํานวนมาก เกษตรกรจงึ หันมาใชว้ ธิ กี ารปลูก ขา้ วแบบหว่านแหง้ หรอื การหว่านผม แทนการปักดาํ อย่างไรกต็ ามขอ้ ก้าหนดของการผลติ เมล็ดพันธุ์ ข้าวต้องใช้การปลกู แบบ นาดําเท่าน้ันเพราะจะทาํ ให้ได้เมลด็ พันธ์ทุ ม่ี คี ุณภาพ ใชส้ ําหรบั จาํ หนา่ ยเป็น เมล็ดพันธขุ์ า้ ว (สํานักวจิ ยั และ พฒั นาข้าว, ม.ป.ป.) ซง่ึ ในการทาํ นาแบบนาหวา่ นนั้น มักมปี ัญหาในการใช้ เมลด็ พนั ธ์ุสงู วชั พชื มาก การจดั การดูแลลําบาก ทําใหไ้ ด้รับผลผลิตต่าํ เมล็ดพันธุ์ ไม่ไดค้ ุณภาพ ไม่เป็นที่ ยอมรบั ของมาตรฐานการผลิต เมล็ดพันธขุ์ ้าว ดังนั้นเกษตรกรทผ่ี ลติ ขา้ วในศนู ยข์ ้าว ชุมชนตอ้ งประสบ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและคา่ จา้ งแรงงานสูงในระยะของการปกั ดํา ซ่ึงในปี 2558 มี โครงการ ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวใน จงั หวัดอุบลราชธาน่ใี ช้วิธีการปลกู แบบนาหยอดแทน การผลติ แบบนาดาํ ซึ่งการปลูกข้าวแบบนาหยอด สามารถทําการตรวจคัดพันธ์ปุ นไดง้ ่าย เนื่องจากนา หยอดจะมีระยะหา่ งระหวา่ งแถว กอ ใกล้เคียงกบั การ ทํานาดาํ ประหยัดเมล็ดพนั ธ์ุ ประหยดั การใช้ แรงงาน ทาํ ใหส้ ามารถลดตน้ ทนุ ในการปลกู ได้เม่ือเทยี บกับการ ทํานาแบบนาดํา(วิวรรธน์, 2556) โดย ศูนย์วิจัยขา้ ว อนญุ าตใหเ้ กษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพนั ธุใ์ ช้แทนการปลกู แบบนาดําได้ อยา่ งไรก็ตามเกษตรกร ผู้ผลิตเมล็ดพนั ธ์ุ ในพ้นื ท่มี อี ัตราการยอมรบั การทํานาหยอดแทนนาด ทตี่ ํ่ามากเพราะไม่ม่ันใจว่าจะได้ ผลผลติ สงู เหมอื น นาตาหรือไม่ และการลงทุนของข้าวนานยอดจะคุม้ คา่ กบั เงนิ ทุนหรอื การจา้ งแรงงาน หรอื ไม่ ดงั น้ันขอ้ มูลดา้ นต้นทนุ ผลตอบแทนของวธิ ีการ ปลกู ท้ังสองวิธีเป็นส่ิงจําเป็นสาํ หรบั เกษตรกรใน การ ตัดสนิ ใจเลอื กวิธีการเพาะปลูกที่ไดร้ ับผลตอบแทน สงู สุด การศกึ ษาคร้งั นีจ้ ึงทําการเปรียบเทียบ โครงสรา้ ง ตน้ ทุนและผลตอบแทนระหวา่ งขา้ วนาหยอดและการ ผลิตข้าวแบบนา เพอื่ เป็นขอ้ มลู ในการ ตดั สนิ ใจเลอื ก รปู แบบการปลูกขา้ ว และวางแผนการเพาะปลูกข้าว ของเกษตรกรผู้ผลิตเมลด็ พันธุ์ข้าว

3 นอกจากนัน้ มีการ วิเคราะห์เปรยี บเทียบกบั ตน้ ทุนผลตอบแทนของการ ปลกู ข้าวแบนนาหวา่ นแหง้ เพื่อ เปน็ ข้อมูลสําคัญสาํ หรับ การสง่ เสริมการปลูกขา้ วนาหยอดของเกษตรกรทั่วไป ข้าวเปน็ พืชเศรษฐกิจทม่ี ีความสาํ คัญของไทย ท้ังนเี้ พราะการเกษตรส่วนใหญ่ของประเทศไทย ปลูกข้าวเป็นพชื หลัก ซึง่ นอกจากข้าวจะเป็นอาหารหลกั ของคนไทยแล้วยงั เปน็ สินค้าสง่ ออกท่สี ร้างรายได้ ให้แกป่ ระเทศในแตล่ ะปีเปน็ จํานวนมาก โดยในปี 2561 มมี ลู คา่ ส่งออกข้าวปริมาณ 11.13 ล้านตนั ปี 62 หดตัวเหลือ 10 ลา้ นตนั แต่ราคายังดี แมว้ า่ การผลติ ข้าวในไทยจะมีแนวโน้มสงู ข้ึน แตเ่ กษตรกรไทย กลบั มคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ตกต่าํ มีฐานะยากจน และเปน็ หนเ้ี ปน็ สนิ จํานวนมาก ในด้านการผลิตข้าวทีไ่ ดต้ อ่ ไร่ สว่ นมากยังมผี ลผลติ ท่ีตํ่า และการผลติ ขา้ วในปจั จุบันเกษตรกรมคี วามจําเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมมี ากขึน้ จงึ ทําให้ต้นทนุ ในการผลติ ข้าว สูงขึ้นไปด้วยตลอดจนประสบปัญหาภัยธรรมชาติ เช่น นํ้าท่วม ภยั แลง้ การเกดิ โรคระบาด ศัตรูพชื เปน็ ต้น จงั หวัดร้อยเอด็ มีพนื้ ท่ีสําหรบั การปลกู ข้าวประมาณ 3,059,709 ไร่ นับว่าเปน็ จกั หวดั ทม่ี กี าร ปลกู ขา้ วมาก จงั หวัดหน่ึงของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื โดยมีการเพาะปลกู ข้าวที่สาํ คัญ ได้แก่ อําเภอ เมืองร้อยเอ็ด อําเภอเกษตรวสิ ัย อาํ เภอจตุรพักตรพิมาน อาํ เภอธวชั บุรี อําเภอปทุมรตั ต์ อาํ เภอพนม ไพร อาํ เภอโพนทอง อาํ เภอสุวรรณภูมิ อําเภอเสลภมู ิ อําเภอหนองพอก อําเภออาจสามารถ อาํ เภอเมอื ง สรวง อาํ เภอโพธ์ิชยั อําเภอโพนทราย อาํ เภอเมยวดี อาํ เภอศรีสมเด็จ อาํ เภอจงั หาร อาํ เภอเชียง ขวัญ อําเภอหนองฮี อําเภอทงุ่ เขาหลวง หมู่บ้านหนองหลุบ ซ่งึ ตง้ั อย่ใู นเขตพ้ืนที่ หมู่ 2 ตําบลนาโพธิ์ อําเภอเมอื ง จังหวัดร้อยเอด็ อยู่ห่างจากตวั เมอื งรอ้ ยเอ็ดประมาณ 12 กโิ ลเมตร มีประชากรอาศยั อยู่ 154 ครัวเรือน จาํ นวน 576 คน ในปัจจบุ ันเกษตรกรในหมู่บ้านจะทํานาได้เพียงปีละครง้ั เนือ่ งจากต้องอาศัยนํ้าตามธรรมชาติ ใน ฤดฝู นเพ่อื การเพาะปลกู เทา่ นั้น และใชว้ ิธีการเพาะปลกู แบบนาหวา่ น มีการใช้ปุ๋ยเคมีและยาปราบวัชพืช และศตั รูพชื ถงึ แมเ้ กษตรกรจะปลูกขา้ วได้ 1ครง้ั ต่อปี ซ่งึ น่าจะทําให้มรี ายได้และความเป็นอยทู่ ด่ี ีข้ึน แต่ จากการสงั เกตและสําภาษณพ์ ดู คยุ กับเกษตรกร ทําใหเ้ ห็นปญั หาซ่งึ เกษตรสว่ นใหญป่ ระสบอยู่ สรปุ ได้ ดงั นี้ 1.นาํ้ มันมีราคาแพง 2.คา่ จา้ งแรงงาสงู ขนึ้ 3.ป๋ยุ มรี าคาแพง 4.ยาปราบวชั พชื และศตั รูพชื มีราคาแพง

4 เหน็ ไดว้ า่ ปัญหาดังกล่าว ล้วนแลว้ แต่เปน็ ปญั หาที่ส่งผลกระทบต่อการเพิม่ ขนึ้ ของต้นทนุ ในการ ปลกู ขา้ วของเกษตรกรทงั้ สน้ิ เพ่อื ให้ไดข้ อ้ เทจ็ จริงเกย่ี วกบั ปญั หาตา่ งๆ และแนวทางเพ่มิ ประสิทธิภาพใน การผลิต ผู้วจิ ัยคร้งั นี้เป็นสว่ นหนึง่ ของชุมชนซง่ึ อาศัยอยใู่ นพ้ืนที่ จึงมคี วามสนใจทจ่ี ะศึกษาตน้ ทุน และ ผลตอบแทนการปลกู ข้าว และวิเคราะห์โครงสรา้ งต้นทนุ การปลูกข้าวของเกษตรกร เพ่ือเป็นขอ้ มลู สําหรบั เกษตรกรในการลดตน้ ทุนทไี่ ม่จาํ เปน็ เพอ่ื หาแนวทางในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการผลิตข้าว หรอื จดั สรร พน้ื ทีใ่ นการทําเกษตรทใี่ ห้ประโยชนเ์ พม่ิ ขึ้น เพ่ือนําไปสู่คณุ ภาพชีวิตและความเป็นอย่ทู ี่ดีขนึ้ ได้ 1.2 วัตถปุ ระสงค์การวิจยั 1.2.1. เพ่อื ศกึ ษาต้นทุนในการลงทุนปลูกข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลบุ หมู่ 2 ตําบลนาโพธ์ิ อําเภอเมือง จงั หวัดร้อยเอด็ 1.2.2. เพ่อื ศกึ ษาผลตอบแทนในการลงทุนปลูกข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลบุ หมู่ 2 ตําบล นาโพธิ์ อําเภอเมอื ง จังหวัดร้อยเอด็ 1.2.3. เพือ่ วิเคราะห์โครงสร้างต้นทนุ ในการลงทุนปลกู ข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลบุ หมู่ 2 ตําบลนาโพธิ์ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด 1.2.4. เพอื่ วเิ คราะห์โครงสรา้ งผลตอบแทนในการลงทนุ ปลูกข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลุบ หมู่ 2 ตําบลนาโพธ์ิ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ร้อยเอด็ 1.3 ขอบเขตของการวจิ ัย 1.3.1. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา การศกึ ษาคร้ังน้ี เปน็ การศกึ ษาต้นทุนและผลตอบแทนในการลงทุนปลกู ข้าวของ เกษตรกร บา้ นหนองหลุบ หมู่ 2 ตําบลนาโพธิ์ อาํ เภอเมือง จงั หวัดร้อยเอ็ด ดังน้ี 1.1 ศึกษาตน้ ทนุ การปลกู ข้าวแบบหวานที่เกิดข้นึ ตง้ั แตก่ ารจัดหาชอ้ื เมล็ดพันธ์ขา้ ว ขัน้ ตอนการเตรยี มดิน การหว่านเมลด็ พนั ธ์ การบํารงุ รกั ษา การใช้สารเคมกี ําจดั วัชพืช การปอ้ งกันกาํ จดั โรคแมลงศตั รขู า้ ว ไปจนถึงการเกบ็ เก่ียวและจาํ หน่ายข้าวเปลอื ก และวเิ คราะหโ์ ครงสร้างต้นทุนการปลูก ขา้ ว 1.2 ศึกษาผลตอบแทนท่ไี ด้รบั จากการปลูกข้าว 1.3 ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในกรลงทุนปลกู ข้าวของเกษตรกรรายย่อย ท่มี ีขนาด พนื้ ท่ปี ลกู ขา้ ว 10 – 30 ไร่ 1.3.2. ชว่ งเวลา เก็บขอ้ มลู สําหรับช่วงเวลาการเพาะปลกู เดือนมถิ นุ ายน – กันยายน 2562

5 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ ตน้ ทนุ หมายถึง ต้นทนุ ทงั้ ส้ินในการปลูกขา้ ว และแปรสภาพใหเ้ ป็นขา้ วเปลือกพร้อมจาํ หนา่ ย ผลตอบแทน หมายถึง อัตรากําไรตอ่ ตน้ ทุน อตั รากําไรตอ่ ยอดขาย อตั ราผลตอบแทนจากเงนิ ลงทุน (ROI) และอตั ราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) เกษตรกร หมายถงึ เกษตรกรหมู่ 2 ตําบลนาโพธ์ิ อาํ เภอเมอื ง จังหวดั รอ้ ยเอ็ด ท่ีประกอบอาชพี ปลกู ข้าว ขา้ ว หมายถงึ ธญั พืชทีใ่ ชเ้ ปน็ อาหารสําคัญอย่างหน่งึ ของโลก ตามหลักวชิ าพฤกษศาสตร์ ข้าว เป็นพืชจาํ พวกใบเลีย้ งเดีย่ ว ในวงศ์ (family) Gramineae อยใู่ นสกลุ (Genus) Oryza ชือ่ เฉพาะของข้าว คือ sativa ดังนั้นขา้ วจงึ มชี ื่อในภาษาละตนิ ว่า Oryza sativa พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้คาํ จํากดั ความขา้ ววา่ เปน็ เมลด็ พืช พวกหญ้า มใี บยาวและบางเส้นใบเปน็ แบบขนาน ต้นเป็นลาํ ขอ้ และมดี อก ในฤดูเกบ็ เกีย่ วทีป่ ลายยอดของแต่ละข้อจะมีกา้ นอ่อนเล็กๆ มากกว่า ก้านจะมเี มล็ดข้าวตดิ อยู่เปน็ แถว มเี ปลือกสนี ํ้าตาลหุม้ เมลด็ ขา้ งใน ถ้าเขย่าเบาๆ จะทาํ ให้ ๕ ก้าน แต่ละเมล็ดหลุดจากช่อ เมล็ดข้างในจะหลดุ ออกจากเปลอื กไดโ้ ดยการตํา หรอื สีขา้ ว เมลด็ ข้าวท่เี อาเปลอื กออกแล้วทาํ ให้สกุ โดย การต้มหรือน่งึ เพือ่ รบั ประทานเป็นอาหาร 1.5 กรอบแนวคิดการวจิ ยั แนวคดิ ต้นทุนและผลตอบแทน มีดงั น้ี 1.5.1. ต้นทุน 1.5.1.1. ตน้ ทุนตามส่วนประกอบของผลติ ภัณฑ์ - คา่ วัตถุดบิ - ค่าแรงงาน - ค่าใชจ้ ่ายการผลติ 1.5.2. ผลตอบแทน 1.5.1.2. กาํ ไร (ขาดทนุ ) สุทธิ - จดุ คมุ้ ทนุ - อตั รากําไรต่อต้นทนุ - อัตรากาํ ไรต่อยอดขาย - อตั ราผลตอบแทนจากเงินลงทุน (ROI) - อัตราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ย์ (ROA)

6 1.6 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 1.6.1. ทาํ ให้ทราบถงึ ตน้ ทุนในการลงทนุ ปลูกข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลบุ หมู่ 2 ตาํ บลนา โพธ์ิ อําเภอเมือง จงั หวัดรอ้ ยเอด็ 1.6.2. ทาํ ให้ทราบถงึ ผลตอบแทนในการลงทนุ ปลูกข้าว ของเกษตรกรบ้านหนองหลุบ หมู่ 2 ตาํ บลนาโพธิ์ อําเภอเมอื ง จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด 1.6.3. ทําให้ทราบถงึ โครงสรา้ งต้นทุนในการลงทุนปลกู ข้าว ของเกษตรกรบา้ นหนองหลบุ หมู่ 2 ตาํ บลนาโพธ์ิ อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด 1.6.4. ทําให้ทราบถงึ โครงสรา้ งผลตอบแทนในการลงทนุ ปลกู ขา้ ว ของเกษตรกรบ้านหนองหลุบ หมู่ 2 ตําบลนาโพธ์ิ อําเภอเมอื ง จังหวดั ร้อยเอ็ด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook