คำนำ คู่มือมิติท่ี ๒ การจัดการเรียนรู้เล่มน้ี เป็นส่วนหนึ่งของคู่มือการขับเคลื่อน ๖ มิติคุณภาพสู่การ ปฏิบัติ จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา และเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน หลกั สตู รสถานศึกษาสู่หอ้ งเรยี นคุณภาพตามนโยบายของสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ โดยคู่มือเล่มนี้จะใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนสำหรับครู อาจารย์ และผู้ที่อยู่ในวงการ การศึกษา ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจ ได้เลือกใช้เทคนิคการสอน ใบงาน และสื่อต่าง ๆ เพ่ือนำไปใช้จัดการ เรียนการสอนที่หลากหลาย ส่งผลตอ่ การถ่ายทอดความรู้สผู่ ูเ้ รียนอย่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื เปน็ การสง่ เสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ นเิ ทศ ติดตามครูผู้สอนในการนำหลักการ รูปแบบ และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกไปใช้จัดการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้จัดทำแนวทางการนิเทศเพ่ือพัฒนาและส่งเสริม การ จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพ่ือให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัด สพป. อุดรธานี เขต 2เพ่ือใช้ในากรจัดการเรียนรู้ Active Learning ตามนโยบายลดเวลา เรียน เพ่ิมเวลารู้ ตาม สภาพ บรบิ ทของเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษาตอ่ ไป สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่าเอกสารเล่มนีจ้ ะ อำนวยประโยชนใ์ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยรวมและเกดิ ผลในการปฏิบตั อิ ยา่ งเป็นรูปธรรมใน อนาคตตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทำค่มู อื การขับเคลอ่ื น ๖ มิตคิ ุณภาพสูก่ ารปฏิบัติ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตลอดจนคณะผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและบุคลากรในสังกดั ทุกท่านท่มี สี ่วนร่วมในการจดั ทำเอกสารเล่ม นจี้ นสำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2
สารบญั หนา้ การจัดการเรยี นรู้ ๑ การเรยี นรู้ (Learning) ๒ การจัดการเรียนรู้ / องคป์ ระกอบของการจัดการเรยี นรู้ ๓ บทบาทของผสู้ อน ๔ บทบาทผู้เรยี น ๔ หลกั การพนื้ ฐานในการจดั การเรียนรู้ ๕ รปแบบการจดั การเรียนรู้ ๕ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๖ การจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ๗ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ๘ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ๑๑ การจดั การเรียนรแู้ บบท่ีเนน้ การปฏิบัติ 17 การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning: PBL) ๑8 การจดั การเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (PROBLEM-BASED LEARNING) 19 การจดั การเรยี นรแู้ บบกระบวนการแกป้ ญั หา ๒1 การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ๒2 การจดั การเรยี นรู้โดยใช้แนวคดิ สะเต็มศกึ ษา ๒3 การจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน (Brain based Learning: BBL) ๒6 บทสรปุ ๒8 จิตวิทยาการเรยี นรู้ 29 ความหมายของจติ วิทยาการเรียนรู้ 29 ขอบขา่ ยของจิตวิทยาการเรยี นรู้สำหรบั ครู ๓0 ส่ิงท่ีตอ้ งคำนึงถึงในการจดั ที่น่ังของนักเรยี นและครู ๔0 สมั พนั ธภาพระหว่างครกู บั นกั เรียน ๔3 บทบาทในการเป็นผู้นำของครู ๔4 เทคนคิ และทกั ษะการสอนของครู ๔5 การสรา้ งกฎระเบียบร่วมกนั ระหว่างครกู บั นกั เรียน 45 การสื่อสารกบั นกั เรียน 46 การปรับพฤตกิ รรมในช้ันเรียน 50 การปรบั พฤตกิ รรมตามแนวคิดของนักจติ วิทยากลุ่มพฤติกรรมนยิ ม 51 เทคนิคการปรบั พฤตกิ รรมในช้ันเรียน 52 การสือ่ สารเชงิ สรา้ งสรรค์ในชนั้ เรยี น 56
ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บความหมายของการสรา้ งวนิ ัยกับการลงโทษ หนา้ การสร้างวินัยเชงิ บวกในช้ันเรียน 59 59 ขน้ั ตอนของการสรา้ งวนิ ัยเชิงบวก บทสรปุ 60 บรรณานกุ รม ๖2 68 ภาคผนวก ตวั อยา่ งท่ี ๑ แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้ ๗๑ ๗2 ตวั อย่างที่ 2 แบบบนั ทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning) ตวั อย่างที่ 3 แบบประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู ชิงรกุ (Active learning) ๗6 ตัวอยา่ งท่ี ๔ แบบนเิ ทศ ติดตามการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 78 81 ตวั อยา่ งท่ี ๕ กำหนดการสอน ตวั อยา่ งท่ี ๖ ตัวอย่างการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ 84 86 ตวั อย่างที่ ๗ กิจกรรมเสรมิ บทเรยี น ๙4
๑ การจดั การเรียนรู้ บทนำ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ ของคนใน สังคม จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการปฏิรูปการศึกษา เนื่องจากการจัดการศึกษาที่ดีที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ ปจั จุบนั จะส่งผลให้คนในสังคมสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงมีนโยบายเร่งรัดให้มกี าร ขับเคลื่อนการปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม ตามนัยว่าการจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ความรู้คู่คุณธรรม มีทักษะชีวิต เพื่อการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข กระทรวงศึกษาธิ การ (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ข). 2561. 19) จงึ กำหนดนโยบายการพัฒนาคณุ ภาพกระบวนการเรยี นรู้ โดย ระบุให้พัฒนาผู้เรยี นก่อนประถมศึกษา ให้มีพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา ให้มคี วาม พร้อมเข้าสู่การเรียนในระดับที่สูงขึ้น ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ตามช่วงวัย ส่งเสริม สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนมีนิสยั รกั การอา่ น ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ทีใ่ ห้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active Learning) เน้นทักษะกระบวนการให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์ในทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ทัง้ ในและนอกห้องเรียน ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปลูกฝงั ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ สนับสนุนการผลิต จัดหาและใช้ส่ือการเรียนการสอน เทคโนโลยี นวัตกรรมและส่ิง อำนวยความสะดวกที่หลากหลายรวมทัง้ การพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรียนรูภ้ ายในสถานศกึ ษาในการจัดการเรียนรไู้ ด้ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพ รวมท้ังสำนักทดสอบทางการศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน(ก) 2561 :8-9)ได้ให้แนวคดิ ในการกำหนดมาตรฐานดา้ นกระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญว่า การจัด การเรียนการสอนเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนซ่ึงจะบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษา ในปัจจุบันการจดั การเรียนการสอนท่ียอมรับกันว่าส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง เป็นการจัดการเรียน การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งเน้นท่ีการปฏิบัติ (active learning) เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏบิ ัตทิ น่ี ำไปสู่การเรยี นรู้ทลี่ กึ ขึง้ และคงทน มาตรฐานด้าน การจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั มุง่ เน้นคณุ ภาพมาตรฐานข้นั ดน้ ในระดับปานกลาง ทก่ี ารจัดการเรยี นรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง รวมท้ังความสามารถใน การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต การใช้ส่ือ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ ตลอดจนการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และการนำ ผลมาพัฒนาผู้เรียน ส่วนคุณภาพมาตรฐานข้ันสูง ได้แก่ ระดับดี ดีเลิศและยอดเย่ียม จะมุ่งเน้นไปท่ีคุณภาพมาตรฐาน ในระดับที่แตกต่างกันในเรื่อง การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก รวมทั้งการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อน กลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีความตระหนักถึงความสำคัญในการขับเคล่ือน นโยบายดังกล่าว จึงได้จัดทำคู่มือการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ท่ีประกอบด้วยแนวคิดของการจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็น แนวทางหน่ึงให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนได้ศึกษาประกอบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามเป้าหมาย และเพื่อประโยชนใ์ นการพฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพต่อไป
๒ การเรียนรู้ (Learning) การเรยี นรู้ (Learning) เปน็ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมซงึ่ เป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่คนเรามปี ฏิสัมพันธ์ กับสง่ิ แวดลอ้ มหรือจากการฝึกหัด รวมทัง้ การเปลย่ี นแปลงความรู้ของผู้เรียน (สุรางค์ โค้วตระกุล. 2550 : 186) การ เรียนรู้มีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ มนุษย์ต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงจากไม่รู้ เป็นรู้ ทำไม่ได้ เป็นได้ ไม่เคยทำ เป็นทำ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมน้ัน เป็นไปอยา่ งถาวร การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมนั้น เกดิ จากประสบการณก์ ารฝึกฝนและ การฝึกหดั (สิรอิ ร วิชชาวธุ . 2554 : 2) จะเห็นได้ว่าการเรียนรู้นั้นจะทำให้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรของบุคคล ท่ีเป็นผลมาจาก ประสบการณใ์ นอดีต ท้ังจากการฝึกฝนและฝึกหดั อย่างต่อเนื่อง การปฏิสัมพันธ์กับประสบการณ์รอบตัวและมีปริมาณ องค์ความรู้ที่เพิ่มมากขึ้น โดยจุดประสงค์สำคัญของการจัดการเรียนรู้ คือ การให้บุคคลเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีพึง ประสงค์ พฤติกรรมเหล่าน้ีจำแนกและจัดลำดับหมวดหมู่ และระดับความยากง่าย ซึ่งจุดมุ่งหมายของการศึกษาของ บลูม (Taxonomy of Educational objective) (Benjamin Bloom 1976 : 18 อ้างถึงใน อดิญาน์ ศรเกษตริน. 2543 : 72-74 ) ได้แบ่งเปน็ 3 หมวด ดงั น้ี ๑. พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธพสิ ยั (Cognitive Domain) เป็นความสามารถทางดา้ นสตปิ ัญญา โดยแบ่งการเรียนรู้ ออกเป็น 6 ระดับ ดังน้ี ความสามารถในการจดจำความรตู้ า่ งๆทไี่ ด้เรยี นรู้มา ( Knowledge) ความสามารถในการแปลความ ขยายความ ในสงิ่ ท่ไี ดเ้ รยี นรมู้ า (Comprehensive) ความสามารถในการส่ิงทเี่ รียนรู้มาให้เกิดประโยชน์ ( Application) ความสามารถในการแยกแยะความรู้ออกเป็นส่วนๆและทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์หรือต่างกัน อยา่ งไร( Analysis) ความสามารถในการรวบรวมความร้ตู ่างๆ หรือประสบการณ์ต่างๆ ใหเ้ กดิ เปน็ ส่ิงใหม่ (Synthesis) ความสามารถในการตดั สินคุณคา่ ของความรู้อย่างเป็นเหตเุ ปน็ ผล (Evaluation) ต่อมา Anderson and Krathwont (2001) ซ่ึงเป็นกลุ่มลูกศิษย์ของ Bloom ได้ปรับปรุง พัฒนาให้เหมาะสม โดย เปลยี่ นแปลงขัน้ ตอนพฤตกิ รรมพทุ ธพสิ ยั ดงั น้ี ขั้นความร้คู วามจำ เปลย่ี นเป็น จำ ขั้นความเขา้ ใจ เปลี่ยนเปน็ เข้าใจ ขัน้ การนำไปใช้ เปล่ียนเป็น ประยกุ ต์ ขน้ั การวิเคราะห์ เปลยี่ นเปน็ วเิ คราะห์ ขัน้ การสงั เคราะห์ เปลีย่ นเป็น ประเมินค่า ขน้ั การประเมินคา่ เปลี่ยนเปน็ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ ๒. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้สึกนึกคิดใน จิตใจ ความ เชอื่ ความซาบซึ้ง ประกอบด้วยพฤตกิ รรม 5 ระดับ ดงั นี้ ความตัง้ ใจ สนใจในสิ่งเร้า หรือ รบั รู้ (Receive) การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมที่เกดิ ขึ้นหรือตอบสนองส่ิงเร้า (Respond) ความรู้สึกซาบซงึ้ ยินดี มเี จตคติที่ดี หรือคา่ นยิ ม (Value) เห็นความแตกต่างในคุณค่า แก้ไขข้อบกพร่อง/ขัดแย้ง สร้างปรัชญา/เป้าหมายให้แก่ตนเอง หรือการจัดระบบ (Organize) ทำให้เกิดเปน็ คณุ ลักษณะหนึง่ ของชีวิตตนเองหรอื บคุ ลกิ ภาพ (Characterize) ๓. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นความสามารถในการปฏิบัติ ประกอบด้วย พฤตกิ รรม 5 ระดับดงั นี้ ความสามารถในการสังเกตและรบั รูข้ ัน้ ตอนการปฏิบัติ หรอื ข้นั รับรู้ (Imitation) ความสามารถในการทำตามข้นั ตอนหรอื รปู แบบ ทไ่ี ดร้ ับการแนะนำ (Manipulation)
๓ ความสามารถในการทำงานด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมีผู้ชี้แนะและพัฒนาการทำงานด้วยตนเองให้มี ประสิทธิภาพสงู ขั้น (Precision) ความสามารถในการเลือกรูปแบบที่ตนเองพัฒนาจนมีประสิทธิภาพ และฝึกฝนจนเกิดความคล่องแคล่วเป็น อัตโนมัติชดั เจนตอ่ เน่อื งจนชำนาญการ (Articulation) ความสามารถที่เกิดจากการฝึกฝนจนเกิดเป็นความเช่ียวชาญในงานนนั้ เป็นการเฉพาะและเป็นธรรมชาติ ขน้ั เชี่ยวชาญ (Naturalization) การจัดการเรยี นรู้ (Learning Management) การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธคกั ราช 2551 เป็นหลักสตู รที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคุณลักษณะ อนั พึง ประสงค์เป็นเป้าหมายสำคัญสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้าง คุณ ลักษณ ะอัน พึงประสงค์ พั ฒ น าทักษะต่าง ๆ อัน เป็นสมรรถนะสำคัญ ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2552 : 25-26) การจัดการเรียนรเู้ พอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้สมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอันพึง ประสงคต์ ามทกี่ ำหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรยี นมีความสำคัญทส่ี ุด เชอ่ื ว่าทุก คนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้เรยี น กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง สมอง เน้นให้ความสำคญั ท้งั ความรูแ้ ละคณุ ธรรม การจัดการเรียนรู้ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ผู้เรยี นจะตอ้ งอาศัยกระบวนการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย เป็นเครือ่ งมือที่จะนำพา ตนเองไปสู่เปา้ หมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ท่ีจำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนร้แู บบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์แ ละแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรขู้ องตนเอง กระบวนการพฒั นาลักษณะนสิ ยั กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนพัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้นผู้สอนจึงจำเป็นต้องศึกษาทำความเข้าใจในการ กระบวนการเรยี นรู้ต่าง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถเลือกใชใ้ นกระบวนการเรยี นรู้ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ผู้สอนศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ช้ีวัดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แล้วจึงพจิ ารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธสี อนและเทคนคิ การสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัด และประเมนิ ผล เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นได้พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ซ่ึงเปน็ เป้าหมายทีก่ ำหนด องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ไม่ว่าระดับใด จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดังน้ี (ฮู และดันแคน Hough and Duncan 1970: 144) ๑. ผู้เรียน ธรรมชาตขิ องผู้เรยี นเป็นส่งิ ท่ีครูผู้สอนจะตอ้ งคำนึงถึงเป็นอนั ดับแรก เก่ยี วกบั ความสามารถของ สมอง ความถนัด ความสนใจ พฒั นาการทางร่างกาย อารมณแ์ ละจิตใจ ความตอ้ งการพน้ื ฐานหรือเรยี กอกี อยา่ งหนึง่ ว่า ศกั ยภาพผูเ้ รยี น ๒. บรรยากาศใฝ่รู้ใฝ่เรียนถือเป็นบรรยากาศทางจิตวิทยาท่ีสำคัญท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอน ต้องมีทักษะ ประสบการณ์และจิตวิทยาในการสร้างบรรยากาศดังกล่าวได้ โดยเลือกรูปแบบ (Model) วิธีการ (Innovation) เครอ่ื งมือ (Media) ตลอดจนเทคโนโลยี (Technology) เพอ่ื เสริมสรา้ งบรรยากาศทเี่ ร้าให้ผ้เู รียน ใฝ่รู้ใฝ่
๔ เรยี น มากยิ่งข้ึน ๓. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบรรยากาศทางจิตวิทยาในห้องเรียน ครูผู้สอนควรสร้างปฏิสัมพันธ์กับ ผู้เรียนทุกกลุ่มที่มีศักยภาพแตกต่างกัน ด้วยความเอื้ออาทร เพื่อสร้างความเช่ือม่ันและความม่ันใจท่ีจะเรียนรู้ของ ผู้เรียน ท่ีจะก้าวอย่างม่ันคงเต็มศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลให้สูงยิ่งข้ึน และอย่าลืมว่าผู้เรียนท่ีมีศักยภาพต่ำด้อง การความช่วยเหลอื จากครผู ู้สอนและเพ่ือนนักเรียนในการเรียนรใู้ ห้ประสบผลสำเร็จ ผู้เรียนที่มีศักยภาพ ปานกลาง ตอ้ งการเรียนรไู้ ด้ด้วยตนเองภายใต้การประคับประคองและให้กำลังใจของครู ผู้เรยี นที่มีศกั ยภาพสงู ต้องการเรยี นรู้ด้วย ตนเอง ภายใต้การให้กำลังใจและอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้จากครูผู้สอน ให้โอกาส ผู้เรียนใช้ความฝัน จินตนาการ ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรคป์ ระกอบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้ังผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 26) บทบาทของผสู้ อน ๑. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าท้าย ความสามารถของผ้เู รยี น ๒. กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการท่ีเป็นความคิด รวบ ยอด หลักการและความสัมพันธ์ รวมทงั้ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓. ออกแบบการเรียนรู้และจดั การเรียนรู้ทีต่ อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื่อนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย ๔. จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรแู้ ละดูแลช่วยเหลือผู้เรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ๕. จัดเตรียมและเลือกใช้ส่ือให้เหมาะสมกับกิจรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมา ประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน ๖. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและระดับ พฒั นาการของผู้เรยี น ๗. วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรยี น การ สอนของตนเอง บทบาทผ้เู รียน 1. กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรูข้ องตนเอง 2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อความรูต้ ้ังคำถาม คิดหาคำตอบหรือ หาแนวทางแก้ปัญหาดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ 3. ลงมอื ปฏิบตั ิจริง สรปุ สิง่ ทไี่ ดเ้ รยี นรูด้ ้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณ์ต่างๆ 4. มปี ฏสิ มั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ และครู 5. ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรูข้ องตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง หลักการพ้ืนฐานในการจัดการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนรูส้ มัยใหม่ ผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถหลายอย่างในการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผลสงู สดุ ดังน้ี หลกั การรจู้ ักผู้เรียน ถอื เปน็ ส่ิงแรกท่ีผูส้ อนตอ้ งสามารถวิเคราะห์ศักยภาพผูเ้ รียนไดว้ า่ เป็นอย่างไร มคี วามสามารถทจี่ ะ
๕ เรียนร้ไู ด้อยา่ งไร มากน้อยเพียงใด ปกตสิ ามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม ดงั นี้ ๑. กลุ่มสติปัญญาค่อนขา้ งอ่อน/เรียนรูช้ ้า กลุ่มนี้สามารถเรียนรูไ้ ด้ต่อเมื่อได้รับการช่วยเหลือ หรอื สอนจาก ครอู ย่างค่อยเปน็ คอ่ ยไปจึงจะเรยี นรู้สำเร็จเป้าหมายการเรียนรู้ เพียงช่วยเหลอื ตนเองได้ โดยไม่ต้องเป็นภาระแกผ่ ู้อนื่ ใน การดำรงชีวิต 2. กลุม่ สติปัญญาปานกลาง กล่มุ น้ีมีความสามารถในการเรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเอง แต่ต้องไดร้ บั คำช้ีแนะ รูปแบบ วธิ กี าร จากครูผสู้ อนภายใตก้ ารให้กำลังใจการเรยี นร้จู งึ จะประสบผลสำเร็จ ความตอ้ งการเรียนรู้เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้องค์ความรใู้ ห้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและเอ้อื แกผ่ อู้ ื่นรอบข้างได้ 3. กลุม่ สติปญั ญาสูง กลุ่มนเี้ ป็นความหวงั ของสังคมประเทศชาติ ในการช่วยให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทาง วิชาการและวิชาชีพในอนาคต กลุ่มนี้มีความสามารถที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเองโดยต่อยอดจากการเรียนรู้จากครูแต่ ตอ้ งการความเปน็ อสิ ระในการเรียนรู้ การใช้ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ จินตนาการ ฉะนัน้ จึงต้องการโอกาสและการให้ ความสะดวกในการเรียนรู้อย่างหลากหลาย รูปแบบไม่มีขีดจำกัด กลุ่มนี้มเี ป้าหมายการเรียนท่ที ำให้เกิดประโยชน์กับ ตนเองแล้วยัง เพื่อผู้อื่น ประเทศชาติตลอดจนส่ิงแวดล้อม ใช้องค์ความรู้เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นความหวังของทุก สงั คม หลักการวางแผนและเตรียมจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องมีความรู้ความสามารถในการวางแผน การจัดการ เรียนรแู้ ละวิธีการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ให้เหมาะสมกับกลมุ่ ผู้เรียนแต่ละศกั ยภาพ ท้ังนี้ กระบวนการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ที่เหมาะสมสอดคล้องต่อการเรยี นรู้ของแต่ละกลมุ่ ผู้เรียน เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้ ดว้ ย หลกั การใช้จติ วิทยาการเรยี นรู้ การจะจัดการเรียนรู้อยา่ งไรกบั กลุ่มผูเ้ รียนใด ครูผู้สอนต้องมีพ้ืนฐาน ความรู้ ทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาพัฒนาการ ทฤษฏีสมอง จิตวิทยาแนะแนว และการให้คำปรึกษา เพ่ือ ประกอบการตดั สนิ ใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การท่ีครูผู้สอนจะเลือกรูปแบบการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ รปู แบบใด ต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการวัดและประเมินผลว่ามีวัตถุประสงค์อย่างไร เช่น ต้องการวัดองค์ ความรู้และทักษะปฏบิ ตั ิเบ้ืองด้นว่ามีเท่าใด ควรใชร้ ูปแบบการวัด (Test) ต้องการรู้วา่ ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรมู้ ากนอ้ ยแค่ ไหนจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใช้การประเมิน (Assessment) เทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด ต้องการ ทราบว่าผู้เรียนได้ พัฒนาองคค์ วามรใู้ หม่ดว้ ยความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์จนเกดิ ประโยชน์ดว้ ยการประเมนิ แบบมี สว่ นรว่ มจากการยอมรับ ชน่ื ชมและใหร้ างวัล รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ จำแนกตามวิธกี ารจัดการเรียนร้ไู ด้ 3 รปู แบบ ดังน้ี 1. การถ่ายทอดความรู้ (Transmission Approach) เปน็ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ ชก้ ันมานานเป้าหมาย เพื่อสืบทอดความรู้ อารยะธรรม วัฒนธรรมประเพณี ทักษะฝีมือเพ่ือให้คงอยู่ต่อไป ประกอบกับต้องการกำลังคนใน ระบบอุตสาหกรรมจึงเน้นความเก่ง คนเก่ง การถ่ายทอดใช้รูปแบบวธิ ีสอน (Teaching) การฝึกฝน (train) การกล่อม เกลาให้เกิดศรัทธาและเช่ือฟ้ง(Tame) ครูจะเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ (Teacher Centered Development) สำนักไหน โรงเรียนไหน หรือครูคนไหนเก่ง นักเรียนจะหล่ังไหลไปเรียน เกดิ การ แช่งขันการเข้าเรียนในโรงเรียนดัง เปน็ คา่ นยิ มของสงั คมมานาน 2. การสร้างองคค์ วามรู้(Trans formational Approach) หรือ (Constructionist) เป็นการจัดการเรยี นรู้ท่ี คาดหวังวา่ จะยกระดับศักยภาพของประชาชนให้พ่ึงพาตนเองไดห้ ลังจากทีพ่ ่ึงพาผู้อน่ื โดยเฉพาะเจา้ ของกิจการ รัฐบาล ฯลฯ มานานจนเกิดปัญหาความเหล่ือมล้ำและความยากจน การว่างงาน เกิดปัญหาสุขภาพ ฯลฯ โดยพยายามจะให้ ผู้เรียนลดการเรียนรู้ท่ีด้องพ่ึงพาครู โรงเรียน หรือสถาบันไปสู่การพึ่งพาตนเองในการแสวงหาความรู้ โดยเน้นการ เรียนรู้ผ่านส่ือ(Media) นวัตกรรม(Innovation) และเทคโนโลยี (Technology) การเรียนรู้ จะเน้นการเรียนรดู้ ้วยตัว
๖ ผเู้ รียนเอง ภายใต้การอำนวยความสะดวกของครูผา่ นสื่อและนวัตกรรมแต่อำนาจการจัดการยังเป็นอำนาจของครู แต่ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมบี ทบาทและสว่ นร่วมมากขึน้ 3. การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่สู่ปัญญาภิวัฒน์ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท่ีหลากหลาย (Transactional Approach) ผลการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจติ อลทำให้เกดิ การเปล่ียนแปลงความสัมพันธ์และวิถี ชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 เป็นอย่างย่ิงและรวดเร็ว ศักยภาพของประชาชนต้องได้รับการพัฒนาทักษะและวิถีการดำเนิน ชีวิตใหม่ในสังคมแห่งชีวะคุณธรรม (Bio-Ethic) การศึกษาถึงเวลาต้องปรับเปลี่ยน มุมมอง วิธีคิด รูปแบบการให้ การศึกษาแนวใหม่ ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนสู่ขีดจำกัดของแต่ละบุคคล โดยเฉพาะผู้เรียนท่ีมี ศักยภาพสูง เพื่อเป็นที่พึ่งของสังคมให้มีโอกาสเรียนรู้เต็มศักยภาพ โดยรูปแบบที่พัฒนาเน้นการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยสี ู่สงั คม 4.0 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ Grant Wiggins และ Jay McThighe (1998. อ้างอิงใน เฉลมิ ฟักอ่อน. มปป.) กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้ วา่ การจัดการเรยี นรเู้ รื่องใดเรอ่ื งหน่ึง ถ้าจะให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนร้อู ยา่ งเข้าใจแลว้ ครูต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นไดร้ บั ความรู้ โดยการให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้จากกิจกรรมที่ครูจัดให้ ไม่ใช่ครูบอกความรู้ หรือครูบอกความเข้าใจของครูให้กับ ผเู้ รียน จากน้ัน ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสรุปความรู้ท่ีได้รับเป็นองค์ความรู้(อย่างเข้าใจ)เป็นภาษาของตนเอง เพ่ือให้ เป็นองค์ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวของผู้เรียน และสุดท้ายต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นได้นำองค์ความรูน้ ี้ไปใช้ในสถานการณ์ ใหม่ ท่ีเป็นสถานการณท์ ่เี ป็นสภาพจริง สอดคลอ้ งกับชีวิตประจำวนั หรอื สอดคลอ้ งกับการดำรงชีวิต เป็นการนำความรู้ ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในการดำรงชีวิต จึงจะครบกระบวนการจัดการเรียนรู้สำหรับเรื่องหนึ่งๆ ที่เป็นการจัดการ เรียนรู้ท่ีมีความหมายสำหรบั ผู้เรียนและเปน็ การจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนเรียนรู้ เรื่องท่ีเรียนอย่างเขา้ ใจ ได้องค์ความรู้ หรือเปน็ ความเข้าใจทีฝ่ ังอยู่ในตวั ของผู้เรียนทเ่ี รยี กวา่ “ความเข้าใจที่คงทน(Enduring understanding)” การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ที่ดี มขี อ้ ควรพจิ ารณา ดงั น้ี 1. มเี ปา้ หมายชัดเจนทีเ่ ปน็ รปู ธรรม และท้าทาย 2. แสดงเทคนคิ การจดั การเรียนรทู้ ่ีแตกตา่ งจากแบบธรรมดา 3. เร่ืองทเ่ี รียนเปน็ เรอ่ื งทส่ี ำคัญ และน่าสนใจตอ่ ผู้เรยี น 4. สอดคลอ้ งกับสถานการณ์จริงในชีวิตประจำวัน และมีความหมายตอ่ ผเู้ รียน 5. เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดล้ องผดิ ลองถกู โดยมีการให้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั ทีซ่ ัดเจน 6. เน้นเพื่อผู้เรียนเป็นรายบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้วิธีหลากหลายวิธีในการทำงานท่ีได้รับ มอบหมาย ตามความสนใจของตนเอง 7. มรี ปู แบบการจัดการเรยี นรู้ และตวั อย่างท่ีชัดเจน 8. จัดเวลาใหม้ ีการสะท้อนความคิดเหน็ 9. ใชห้ ลายเทคนคิ การสอน มีหลายวิธีในการแบ่งกลมุ่ ผู้เรยี น และมกี ารมอบงานหลายลกั ษณะให้ผเู้ รยี นทำ 10. มกี ารดูแลสภาพแวดลอ้ มเพื่อปอ้ งกันความเสย่ี งทง้ั หลาย/มีการดูแลความปลอดภัยในการทำงาน 11. ครทู ำหน้าทเี่ ป็นทป่ี รึกษา ใหค้ วามช่วยเหลือ และผ้แู นะนำ 12. เน้นการจดั ประสบการณ์ใหม่ ๆ แทนแบบเดมิ ๆ 13. การจัดการเรียนรู้ตลอดหน่วย สะท้อนเป้าหมายการเรียนรู้หลักที่เป็นสาระสำคัญเสมอ ท้ังในกิจกรรม ยอ่ ย และภาพรวมทั้งหน่วย (ไมม่ ีกจิ กรรมนอกเรื่องท่ีเรยี น) หรือออกแบบการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ WHERE TO ในการ พิจารณา ดงั น้ี W -Where the unit is ahead and Why. H -Hook and Hold the students. E -Equip the students to meet the performance goals.
๗ R - Rethink big ideas. Reflect progress. Revise their works. E -Evaluation(Evaluate progress and self-asses.) T -Tailor to reflex individual potential. o -Organize to optimize deep understanding. มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาการเรียนรู้ หรือ มสวร. (อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ัน พื้นฐาน (ข). 2561 : 27) ได้สังเคราะห์วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน จาก 16 โรงเรียนดีเด่น แล้วจำแนกเป็นประเด็นหลักเพื่ออธิบาย วิธีปฏิบัติ ดังน้ี วิธีการยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดำเนินการได้ 3 รปู แบบ คือ รูปแบบท่ี 1 การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นใหส้ ูงขึ้นตามเกณฑ์ทีค่ าดหวงั มวี ิธีการดำเนินการ ดังน้ี 1. การปรบั เปล่ยี นท่าทขี องครใู นการจดั การเรียนรู้ 2. การกำหนดเกณฑ์ท่ีคาดหวงั และเกณฑ์การประเมินผล 3. การจดั กลุ่มผูเ้ รียนทเ่ี หมาะสม 4. การกำหนดรปู แบบการพฒั นาการเรียนรูแ้ ละการจัดกจิ กรรม รูปแบบท่ี 2 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพอ่ื มุง่ สู่ความเปน็ เลศิ ๑. การจัดการเรียนร้แู บบห้องเรียนพิเศษ 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พอื่ ส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ รูปแบบที่ 3 การช่วยเหลือนกั เรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๑. การดูแลใกลช้ ดิ เพือ่ ปรับพฤตกิ รรมและใหโ้ อกาสนกั เรียน 2. การเพ่ิมพูนผลสมั ฤทธิ์เพ่ือใหไ้ ด้ตามเกณฑก์ ารจบหลักสูตร การจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในวงการการศึกษาเป็นอย่างมาก ส่งผลให้การ จัดการเรียนรู้ต้องเปลี่ยนไปตามสภาพสังคมส่ิงแวดล้อมและสถานการณ์โลกปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นต้องปฏิรูป การศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิรูปการเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 ต้องพัฒนาให้สอดคล้องกับภาวะความ เป็น จรงิ ในศตวรรษก่อนหน้าน้ันมีทฤษฏีและแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนใหม่ ๆ เกิดข้ึน ทฤษฏีท่ีได้รับความ นิยมและก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงทางด้านการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก เช่น ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ รวมไปถึงผลการวิจัยทางด้านสมอง (Brain research) ซ่งึ ให้มุมมอง เกี่ยวกับการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างไปจากเดิม จากการสอนท่ีเน้นให้ครูเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้ ให้แก่ผู้เรียน โดยอาศัยความสามารถและจิตวิทยาการสอนส่วนตัว มาเป็นการให้ครูนำความรู้ ทางด้านจิตวิทยาของ การเรียนรู้มาใช้ในการจัดเตรียมการสอน การสอนโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี (Instruction) ดังนั้นการ เรยี นรจู้ งึ เป็นกระบวนการท่ผี เู้ รยี นจะต้องลงมอื ปฏิบัติและ กระทำด้วยตนเอง การเตรียมผู้เรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เป็นเร่ืองสำคัญของกระแสการปรับเปล่ียนทางสังคมที่เกิดข้ึนใน ศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการ เรียนรู้ เพ่ือเตรียมความพรอ้ มให้นักเรยี นมที กั ษะ สำหรับการออกไปดำรงชวี ติ ในโลกในศตวรรษท่ี 21 ท่ีเปลี่ยนไปจาก ศตวรรษท่ี 20 และ 19 โดยทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทีส่ ำคัญท่ีสุด คือ ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skill) สง่ ผลใหม้ ี การเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กมีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรูป เปล่ยี นแปลงรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ตลอดจนการเตรียมความพรอ้ มดา้ นต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) (วิจารณ์ พานิช. 2555 : 16-21)ได้กล่าวถึงทักษะเพ่ือการ ดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสำคัญ แตไ่ ม่เพียงพอสำหรับการเรียนรู้ เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบนั การเรียนรู้สาระ
๘ วิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์โดยครูช่วยแนะนำ และช่วย ออกแบบกจิ กรรมทีช่ ว่ ยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความกา้ วหน้าของการเรยี นรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสำคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครอง และหน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักน้ีจะนำมาสู่การกำหนด เป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือ หัวข้อสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริม ความเข้าใจ ในเน้ือหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก โดยมุ่งให้เด็กมีความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ( Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้าน ส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกำหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทำงานท่ีมี ความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการ แก้ปญั หา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปจั จุบันมีการเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นทางสื่อและ เทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้ หลากหลาย โดยอาศยั ความรใู้ นหลายดา้ น ไดแ้ ก่ ความรดู้ า้ นสารสนเทศ ความรู้เก่ียวกับสอื่ ความรดู้ า้ นเทคโนโลยี ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี ในการดำรงชีวิตและทำงานในยคุ ปัจจบุ นั ให้ประสบความสำเรจ็ นกั เรียนจะตอ้ ง พัฒนาทักษะชีวิตที่สำคัญ ได้แก่ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์ และ เป็นตัวของตัวเอง ทักษะ สังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเช่ือถือได้ (Accountability) ภาวะผ้นู ำและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) กำหนดวิสัยทัศน์ ให้คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ เปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 โดยวางเปา้ หมายไว้ 2 ด้าน คอื เปา้ หมายด้านผู้เรยี น (Learner Aspiration) โดย มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แบบ 3Rsx 8Cs (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. (ข) 2561 : 14) ไดแ้ ก่ 3Rs ไดแ้ กค่ อื การอ่านออก (Reading), การเขียนได้ (Writing), และการคดิ เลขเปน็ (Arithemetics) 8Cs ไดแ้ ก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทั กษะการ แกป้ ัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีม และภาวะ ผ้นู ำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่า ทนั ส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู)้
๙ Compassion, discipline and Ethics ความมีเมตตา กรณุ า มีวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพ่อื การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้าง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเช่ยี วชาญ และสมรรถนะท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน ปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ท่ีพัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพ่ือทักษะแห่งการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ท่ีมชี อ่ื ย่อว่า เครือข่าย P21 ซ่ึงไดพ้ ัฒนา กรอบแนวคิดเพื่อการ เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสาน องค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชำนาญการและความ ร้เู ทา่ ทันดา้ นต่างๆ เข้าด้วยกนั เพ่ือความสำเร็จของผู้เรยี นทัง้ ดา้ นการทำงานและการดำเนนิ ชวี ติ ภาพ กรอบแนวคดิ เพอื่ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สำหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นท่ียอมรับในการสรา้ งทักษะการเรียนรู้ ใน ศตวรรษที 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึงเป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดท่ีเน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ท้ังในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีจะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมท้ัง ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ มาตรฐาน และการประเมินหลักสูตรและการเรียน การสอน การพัฒนาครู สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมตอ่ การเรยี นในศตวรรษที่ 21 การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวชิ า” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษ ที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอำนวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซ่ึงสิ่งท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ ครูเพ่ือศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตวั กันของครเู พอื่ แลกเปล่ียนประสบการณ์การทำหน้าที่ของ ครูแต่ ละคนนัน่ เอง โรงเรียนในศตวรรษท่ี 21 จะเป็นโรงเรียนที่มีหลักสูตรแบบยึดโครงงานเป็นฐาน (project - based curriculum) เป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนเกี่ยวข้องกับปัญหาในโลกที่เป็นจริง เป็นประเด็นท่ี เกี่ยวข้องกับความเป็น
๑๐ มนุษย์ และคำถามเก่ียวกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สังคม และสากล ภาพของ โรงเรียนจะเปล่ียนจากการเป็น ส่ิงก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์รวมประสาท (nerve centers) ที่ไม่จำกัดอยู่แต่ในห้องเรียน แต่จะเชื่อมโยงครู นกั เรียนและชุมชน เข้าสู่ขุมคลังแห่งความรทู้ ั่วโลก ครูเองจะเปล่ยี นจากการเป็นผูถ้ ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้ สนบั สนุน ช่วยเหลือให้นักเรียนสามารถเปล่ียนสารสนเทศเป็นความรู้และนำความรู้เป็นเครื่องมือสู่การปฏิบัติและให้เป็น ประโยชน์ เปน็ การเรยี นรู้ เพ่ือสรา้ งความรู้ และตอ้ งมีการสรา้ งวัฒนธรรมการสืบคน้ (create a culture of inquiry) การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 จะเน้นทักษะการเรียนรู้ข้ันที่สูงข้ึน (higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะการประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนท่ีโดยทักษะ การนำเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่าง สร้างสรรค์ (ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตท่ผี ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพ่ือใช้เวลา ในการเรียนรายวชิ าต่าง ๆ เพ่ือรับเกรด และ เพ่ือให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที่แตกต่างไป เช่น การเรียนการสอนที่ช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพ่ือใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (life in the real world) เน้น การศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนท่ีมีความยืดหยุ่น (flexible in how we teach) มีการ กระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (resourceful) ท่ียังคงแสวงหาการเรียนรู้แม้จะจบ การศกึ ษาออกไป หลักสูตรในศตวรรษท่ี 21 จะเป็นหลักสูตรท่ีเน้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์ (critical attributes) เชิงสห วิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (project-based) และขับเคล่ือนดว้ ยการวิจัย (research-driven) เช่ือมโยงท้องถิ่นชุมชนเข้ากับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรียนสามารถร่วมมือ (collaboration) กับ โครงงานต่าง ๆ ได้ท่ัวโลก เป็นหลกั สูตรท่ีเนน้ ทักษะการคิดข้นั สูง พหุปญั ญา เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย ความรู้พื้นฐาน เชงิ พหุสำหรับศตวรรษท่ี 21 และการประเมินผลตามสภาพจริง รวมทั้งการเรียนรู้จากการให้บริการ (service) ก็เป็น องคป์ ระกอบที่สำคัญ ภาพของห้องเรียน จะขยายกลายเป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น (greater community) นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ ชน้ี ำตนเองได้ (self-directed) มีการทำงานทั้งอยา่ งเป็นอิสระ และอย่างร่วมมือกนั คนอืน่ หลักสูตรและการสอนจะมี ลักษณะท้าทายสำหรับนักเรียนทุกคน และคำนึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล หลักสตู รจะไม่เน้นการยึดตำราเป็น ตวั ขับเคลอื่ น (textbook-driven) หรือแบบแยกสว่ น (fragmented) เช่นในอดีตแต่จะเป็นหลักสูตรแบบยึดโครงงาน และการบรู ณาการการสอน ทักษะและเนอ้ื หาจะไมเ่ ป็นจุดหมายปลายทาง (as an end) เช่นทีเ่ คยเปน็ มา แต่นกั เรยี น จะตอ้ งมี การเรียนรู้ผ่านการวิจัยและ การปฏบิ ัติในโครงงาน การเรียนรู้จากตำราจะเป็นเพียงส่วนหน่งึ เท่าน้ัน ความรู้ (knowledge) จะไม่หมายถึงการจดจำข้อเท็จจริงหรือตัวเลข แต่จะเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นจาก การวิจัยและการปฏิบัติโดย เชอื่ มโยงกบั ความรู้และประสบการณ์เก่าท่มี ีอยู่ ทักษะและเน้ือหาทไ่ี ด้รบั จะเกี่ยวข้องและมคี วามจำเป็นต่อการปฏิบัติ ในโครงงาน จะไม่จบลงตรงที่การได้รับทักษะและเนื้อหา แล้วเท่าน้ัน การประเมินผลจะเปลี่ยนจากการประเมิน ความจำและความไม่เกีย่ วโยงกบั ความเข้าใจตอ่ การนำไปปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ ไปเปน็ การประเมนิ ท่ผี ูถ้ ูกประเมินมีส่วนร่วม ในการประเมินตนเองดว้ ย (selfassessment) ทักษะท่ีคาดหวังสำหรบั ศตวรรษท่ี 21 ที่เรียนรู้ผ่านหลกั สูตรท่ีเป็นสห วิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็นฐาน และอื่น ๆ ดังกล่าวจะเน้นเร่ือง 1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) 2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) 3) ทกั ษะสารสนเทศ สื่อ และ เท คโน โลยี (information, media and technology skills) ที่ คาดห วังว่ าจะ เกิ ดข้ึน ได้จาก ความร่วมมื อ (collaboration) ในการทำงานเป็นทีม การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาท่ีซับซ้อน การนำเสนอด้วย วาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี การฝึกปฏิบัติอาชีพ การวิจยั และการปฏิบัติส่ิงต่างๆ ทกี่ ล่าวมาข้างด้น ดงั น้ัน การให้การศึกษาสำหรบั ศตวรรษท่ี 21 ต้องเปลี่ยนแปลงทัศนะ (perspectives) จากกระบวนทัศน์ แบบดั้งเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ท่ีให้โลกของนักเรียนและโลกความเป็น จรงิ เปน็ ศูนยก์ ลางของกระบวนการเรยี นรู้ เป็นการเรยี นรูท้ ไ่ี ปไกลกว่าการได้รบั ความรแู้ บบงา่ ย ๆ ไปสู่การเน้นพัฒนา ทักษะและทัศนคติ ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวตั กรรม
๑๑ ความสร้างสรรค์ ทักษะการส่ือสาร ทักษะและค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเชื่อมั่นตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจ ตนเองและความตระหนักในสภาพแวดล้อมและเหนืออ่ืนใด คือความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะ ที่สำคัญ จำเป็นสำหรับการ เป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นสิ่งท่ีท้าทายในการที่จะพัฒนาเรียน เพื่ออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีทั้งความสำเร็จและมี ความสุข การเรียนรู้แบบ Active Learning แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในยุคของการปฏิรูปการศึกษา เน้นให้จัดการเรียนการสอนที่มุ่ง ประสิทธิผลกับผู้เรียน โดยคาดหวังให้ผู้เรียนมีสภาพการเรียนรู้แบบ Active โดยที่ครูผู้สอนก็จำเป็นต้อง Active ไป พร้อมกับผ้เู รียน จึงจะเกิดสภาพการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แต่จะเกิดขึ้นได้ก็จำเป็นต้องจัดการเรียนรู้ แบบ Active Teaching ด้วยเช่นกัน เมื่อผู้เรียนและผู้สอนมีการเตรียมตัวและมีความพร้อมก็จะเกิดสภาพการเรียน การสอนที่ Active learning อย่างเป็นรูปธรรม การกำหนดการเรียนรู้แบบ Active learning เป็นสิ่งสะท้อนใหเ้ ห็นถึงความคิดที่แตกตา่ งของผู้เรียน เราจะ เห็นว่ารูปแบบการเรียนการสอนท่ีผู้สอนใช้มากท่ีสุด คือ การพูดและนักเรียนเป็นผู้ฟ้ง แต่การเรียนการสอน ใน ลักษณะนี้จะไม่สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนนำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในห้องเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังน้ันผู้สอนต้องสร้าง โอกาสให้ผเู้ รียนได้มีส่วนร่วมทำหน้าทเ่ี พอื่ ชว่ ยให้ผู้เรียนเข้าใจ และเกิดเป็นแสงไฟแห่งการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ต้องให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้แบบ Active learning ทั้งน้ีผู้สอนจำเป็นต้องหากลยุทธ์ต่างๆ ท่ีสามารถ ดึงดดู ใจให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างนา่ สนใจ และเทคนิคต่างๆ ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอนเพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ มากที่สดุ ดังน้ันการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นห้องเรียนไมว่ ่าจะเป็นการจัดกจิ กรรมรายบุคคล กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลมุ่ โครงงานรว่ มกนั การจดั กจิ กรรมควรต้องมีการวางแผน ต้ังวัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย จัดกิจกรรมเมือ่ ไร อย่างไร ท่ีสำคัญกุญแจสูค่ วามสำเร็จในการจัดกิจกรรมน้ัน จะต้อง อาศัยความคิดสร้างสรรค์หรือกลวิธีใหม่ ๆ พัฒนา กิจกรรมการเรียนรู้ โดยเร่ิมจากกลุ่มเล็ก ๆ ใช้เวลา ในช่วงส้ัน ๆ โดยควรแจ้งวัตถุประสงค์ ตั้งแต่วันแรกให้ผู้เรียน ทราบชัดเจนและเริ่มกจิ กรรมตั้งแต่ต้นเทอม จัดบรรยากาศในห้องเรียนใหน้ ักเรยี นนง่ั เป็นคู่หรือเปน็ กลมุ่ โดยมีสมาชกิ ที่ มีความสามารถหลากหลาย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อสภาพแวดล้อมคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล วเิ คราะหป์ ัญหาในการเรียนรแู้ ล้วนำมาแกป้ ัญหาหรือพฒั นา ซึ่งจะสง่ ผลต่อผ้เู รียนใหม้ พี ัฒนาการ การเรยี นรู้ทด่ี ขี ้ึน ทัน ตอ่ สภาวะโลกปจั จบุ นั ที่มกี ารเปล่ียนแปลงในหลาย ๆ ดา้ นอยา่ งรวดเร็ว กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการเรียนรู้ท่ีไม่หยุดน่ิง เป็นการเรียนรู้ท่ีต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต (long life learning) ซ่ึงปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้น้ัน ผู้สอนต้องปรับแนวทางการเรียนการสอน โดยตอ้ งมีการกำหนดเป้าหมายของการสอนโดยใหเ้ นน้ การเรยี นการสอนเพือ่ เพิม่ ทกั ษะ (skill) มากกว่าการทจ่ี ะใหอ้ งค์ ความรู้ (knowledge) แก่นกั เรียน เนอ่ื งจากสถานการณ์โลกนัน้ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาไมห่ ยุดนงิ่ มีลกั ษณะ เป็น dynamic เมื่อสถานการณ์โลกนั้นไม่หยุดน่ิงทำให้องค์ความรู้ที่ผู้สอนได้ถ่ายทอดให้นักเรียนในปัจจุบัน เม่ือ สถานการณ์เปล่ียน ความรทู้ ี่วา่ ถูกต้องหรือใช่ ณ เวลาท่ีสอนอาจไมใ่ ช่แลว้ ณ เวลาท่ีจะนำไปใช้จริง จะเห็นได้วา่ ทกั ษะ การเรียนรู้ (learning skill) เป็นเร่อื งจำเป็นสำหรับนักเรียน ทกั ษะการเรียนรู้ เบ้ืองต้นท่ีนักเรยี นตอ้ งมี ประกอบด้วย (ยนื ยง ราชวงษ.์ 2561 : 2) 1. เรยี นรู้ (learn) โดยตอ้ งมกี ารเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่ืองและตลอดเวลา 2. ละท้งิ ความรู้ (unlearn) ลมื ความรู้เกา่ ที่ล้าสมัยแลว้ หรอื ทง้ิ ความรทู้ ่ีรมู้ าผิดๆ และ เรียนรู้สง่ิ ใหม่ (relearn) ตามการเปลย่ี นแปลงของกระแสโลก Active Learning พัฒนาทักษะอยา่ งน้อย 3 ประการ ที่เรยี กว่าทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ดงั ต่อไปน้ี
๑๒ 1. ทักษะชวี ิตและอาชพี (life and career skills) 2.ทักษะดา้ นการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม (learning and innovation skills) 3. ทักษะด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ (information and technology skills) ทักษะชีวิตและอาชพี (life and career skills) การดำรงชีวิตและการทำงานน้ัน ไม่เพียงแต่ต้องการคนท่ี มีความร้คู วามสามารถในเน้ือหาความรู้หรือทักษะการคิดเท่าน้ัน หากแต่ยังต้องการผู้ที่สามารถทำงานในบริบท ท่ีมี ความซับซอ้ นมากขน้ึ อีกดว้ ย โดยมที ักษะที่จำเป็น คือ มีความยืดหยุน่ และสามารถปรับตัวให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ดังนั้น การเป็นผู้มีทักษะชีวิตและอาชีพนั้น หมายถึงการที่นักเรียนสามารถท่ีจะ ปรับตัวที่จะเรียนรู้ให้ทันต่อการเปลีย่ นแปลงของสถานการณ์ได้ มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ผลงานทเี่ ป็นตวั ของตัวเอง สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับสังคมการเรียนร้ทู ่ีข้ามวัฒนธรรมไดอ้ ยา่ งกลมกลนื ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) เร่ืองของ นวัตกรรม เป็น ส่ิงจำเป็นที่นักเรียนต้องมีการเรียนรู้และสามารถสร้างสรรค์ขึ้นมาได้ ซึ่งทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมน้ัน ครอบคลุมไปถึงการคิดแบบสร้างสรรค์ การทำงานอย่างสรา้ งสรรค์ร่วมกับ ผู้อนื่ และการนำความคิดนนั้ ไปใชไ้ ด้อยา่ ง สร้างสรรค์ การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) มีความสามารถในการแก้ปัญหา (problem solving) มีการคิด อย่างมีเหตุและผล และสามารถที่จะใช้ สือ่ รูปแบบต่างๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ชดั เจน รวมถึงทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การที่จะมีทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมนั้น นักเรียนต้องเป็นผู้มีความริเริ่ม สร้างสรรค์ และนวตั กรรม (creativity and innovation) นอกจากนี้ ต้องมีความรู้ในเน้ือหาวิชาหลัก ๆ เช่น การอ่าน ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และการปกครอง ซ่ึงควร ครอบคลุมเนื้อหาในสาขาใหม่ๆ และความรู้ท่ีจำเป็นต้องใช้ในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีก ประการหนึง่ คอื ความสามารถด้านภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ภาษาองั กฤษ ทักษะด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ (information and technology skills) นับได้ว่า เป็นยุคท่ี เทคโนโลยสี ารสนเทศ มีความเจรญิ ก้าวหน้าอย่างมาก ดังน้ัน นักเรียนจึงควรมที กั ษะในเรื่อง ของการใช้สอ่ื ได้อยา่ งเท่า ทัน รวมถึงการรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสาร (information literacy) ท่ีได้ด้นคว้ามา รวมถึงการรู้เท่าทันส่ือ (media iteracy) และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี (technology literacy) ที่มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างเร็ว นอกจากนี้ยังต้อง สามารถที่จะวเิ คราะห์ได้ว่าข้อมูลขา่ วสารใดท่ีมีคณุ ภาพ สามารถนำมาวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหาเร่ืองของการเรียนรไู้ ด้ อย่างมีประสิทธภิ าพอกี ดว้ ย การที่จะสามารถทำให้นกั เรียนมีทักษะดังกล่าวข้างต้นน้ัน จำเป็นอย่างยง่ิ ตอ้ งที่มีการปรับเปล่ียนวิธีการหรือ แนวทางในการจัดการเรียนการสอน การปรับเปล่ียนดังกล่าวนั้น ผู้สอนมีส่วนสำคัญถ้าผู้สอนยังยึดติดกับแนวคิด เดิมๆ ท่ีว่า “ถ้าไม่สอนนักเรียนก็จะไม่มีความรู้” การพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาให้นักเรียนเกิดทักษะแพ่ง ศตวรรษที่ 21 ทั้ง 3 ประการนั้น จะเป็นไปได้ยาก ดังนั้น ผู้สอนต้องปรับวิธีคิดใหม่ โดยให้ตระหนักว่าการเรียนรู้ (learning) สำคัญกว่าองค์ความรู้ (knowledge) และให้ลดบทบาทของตนเองจากการท่ีเคยเป็นผู้สอน (teacher) มา เป็นผ้ใู ห้การสนบั สนุน (facilitation) ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ การลดบทบาทของผู้สอนจะเรมิ่ ท่ี ผสู้ อนต้องสอน ให้น้อยลงและให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้ด้วยการค้นคว้าเพิ่มเติมให้มากข้ึน การสอนน้อยของผู้สอนจะเป็นการเปิด โอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้มากข้ึน (Teach Less Learn More) ซึ่งสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning กรวยแห่งการเรยี นรู้ (The Cone of Learning) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหน่ึง เป็นการเรียนรู้ผ่าน การปฏิบัติหรือการลงมือทำซ่ึง “ความรู้” ท่ีเกิดข้ึนก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ จากกระบวนการในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้นักเรียนมีโอกาส ลงมือกระทำมากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว นักเรยี นได้เรียนรู้โดยการอา่ น การ เขียน การโต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหาอีกท้ังให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดข้ันสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การ สงั เคราะห์ การประเมินค่าและ การคิดสรา้ งสรรค์
๑๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning ทำให้นักเรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มาก และนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ที่นักเรียนเป็นฝ่ายรับความรู้ (Passive Learning) เพราะกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning สอดคล้องกับการทำงานของสมองท่ีเกี่ยวข้องกับความจำ โดยสามารถเก็บและจำส่ิงท่ีนักเรียน เรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ที่ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บ ความจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรยี นรู้ยังคงอยู่ได้ในปริมาณท่ีมากกว่า ระยะ ยาวกว่า ซ่งึ อธิบายได้ ดังรปู (ยืนยง ราชวงษ์. 2561 : 3-4) จากรปู จะเหน็ ได้ว่า กรวยแห่งการเรยี นร้นู ้ไี ด้แบง่ เปน็ 2 กระบวนการ คอื 1. กระบวนการเรียนรู้แบบเดมิ (Passive Learning) ๑.๑ การเรียนร้โู ดยการอา่ น ท่องจำ นักเรียนจะจำได้ในสง่ิ ท่ีเรียนเพียง 20% ๑.๒ การเรียนรู้โดยการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียวโดยที่นักเรยี นไม่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ด้วยกิจกรรมอ่ืนในขณะท่ผี ู้สอนสอน เมื่อเวลาผ่านไปนักเรียนจะจำไดเ้ พียง 20% หากในการเรียนการสอน นักเรียนมี โอกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบดว้ ยกจ็ ะทำใหผ้ ลการเรยี นรูค้ งอยไู่ ด้เพิ่มข้ึนเปน็ 30% ๑.๓ การเรยี นร้ทู ผี่ ้สู อนจัดประสบการณใ์ หก้ ับนกั เรียนเพิ่มข้ึน เชน่ การให้ดภู าพยนตร์ การสาธิต จดั นิทรรศการให้นักเรียนได้ดู รวมท้ังการนำนักเรียนไปทัศนศึกษาหรือดูงาน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ก็ทำให้ผลการเรียนรู้ เพมิ่ ขน้ึ เปน็ 50% 2. กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning ๒.๑ นักเรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ และพัฒนาตนเองเต็ม ความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้รว่ มอภิปราย ให้ฝึกทักษะ การส่ือสาร ทำให้ผลการเรียนรู้ เพิม่ ข้นึ เป็น 70% ๒.๒ การนำเสนอผลงานทางการเรยี นรู้ในสถานการณจ์ ำลอง ท้งั มีการฝกึ ปฏิบัติในสภาพจริง มีการ เชื่อมโยงกับสถานการณต์ ่างๆ จะทำให้ผลการเรยี นรเู้ กิดขึ้นถึง 90% การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ Active learning เปน็ สงิ่ สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความคิดทีแ่ ตกต่างของ นักเรียน เราจะ เห็นว่ารปู แบบการเรียนการสอนที่ผู้สอนใช้มากท่สี ุดคือการพดู และนักเรยี นเป็นผูฟ้ ้ง แตก่ ารเรยี นการสอนในลักษณะนี้ จะไม่สามารถพฒั นาให้นักเรยี นนำความรทู้ ่ีได้จากการเรียนใน หอ้ งเรียนไปปฏิบตั ิได้ดี ดังนัน้ ผู้สอนต้องสรา้ งโอกาสให้ นกั เรียนไดม้ ีส่วนร่วมทำหน้าทเ่ี พ่ือชว่ ยให้นกั เรียนเขา้ ใจและเกิดเปน็ แสงไฟแห่งการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสำคญั ต้อง ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนจำเป็นต้องหากลยุทธ์ต่างๆ ท่ีสามารถดึงดูดใจให้นักเรียนเกิด กระบวนการเรียนรูอ้ ย่างน่าสนใจ และเทคนคิ ตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการเรียนการสอนเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์มากทสี่ ุด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลุ่มโครงงานรว่ มกัน การจดั กิจกรรมควรต้องมีการวางแผน ตัง้ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย จัดกจิ กรรมเม่อื ไร
๑๔ อย่างไร ท่ีสำคัญกุญแจสู่ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมน้ัน จะต้อง อาศัยความคิดสร้างสรรค์หรือกลวิธีใหม่ๆ พัฒนา กจิ กรรมการเรียนรู้โดยเริ่มจากกลุ่มเลก็ ๆ ใช้เวลา ในช่วงส้ันๆ โดยควรแจ้งวัตถุประสงค์ตัง้ แต่วันแรกใหน้ ักเรยี นทราบ ชัดเจนและเร่ิมกิจกรรมตั้งแต่ต้นเทอม จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้นักเรียนน่ังเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มโดยมีสมาชิกท่ีมี ความสามารถ หลากหลาย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อสภาพแวดล้อม คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล วเิ คราะห์ปัญหาในการเรียนรู้แล้วนำมาแก้ปัญหาหรือพัฒนา ซ่ึงจะส่งผลต่อนักเรียนให้มีพัฒนาการการเรียนรู้ที่ดีข้ึน ทนั ต่อสภาวะโลกปัจจบุ นั ท่ีมีการเปลีย่ นแปลงในหลายๆ ดา้ นอย่างรวดเร็ว ลกั ษณะสำคัญของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active learning ไดแ้ ก่ 1. เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด ผ้เู รียนมีส่วนร่วม ใน การจัดการเรียนรู้ มกี ารสร้างองค์ความรู้ การสรา้ งปฏสิ ัมพนั ธ์ร่วมกนั และร่วมมือกันมากกว่าการแชง่ ขัน 2. ผูเ้ รยี นเรียนรคู้ วามรับผดิ ชอบรว่ มกัน การมวี นิ ัยในการทำงาน การแบ่งหนา้ ที่ ความรบั ผิดชอบ 3. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 4. เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนำความรู้ไป ประยกุ ต์ใช้ รวมท้งั ยังเป็นกจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ น้นทักษะการคดิ ขัน้ สงู 5. ผ้สู อนจะเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเป็นผปู้ ฏิบตั ิด้วยตนเอง 6. ความร้เู กดิ จากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละการสรุปทบทวนของผ้เู รียน 7. ผู้สอนเปน็ ผู้ชี้แนะ อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นร้เู พื่อให้ผู้เรียนเป็นผูป้ ฏิบัติด้วยตนเอง การบริหารจดั การเมื่อใชก้ ารเรียนการสอนแบบ Active learning 1. พจิ ารณาจุดประสงค์ เนอ้ื หา ท่ตี ้องการให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ 2. ออกแบบกิจกรรมทช่ี ่วยส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรไู้ ด้อย่างแทจ้ รงิ 3. ใชก้ ิจกรรมการเรยี นเชงิ รกุ เพื่อกระตุน้ ใหผ้ ้เู รยี นเรยี น 4 .ประเมนิ ผลการเรยี นอยเู่ สมอ เพอื่ ตรวจสอบว่าผู้เรียนเรียนรู้อะไรบ้างและมปี ระเด็นใดท่ีผเู้ รยี นยังสงสยั 5. หลกี เล่ยี งการสอนเพ่อื ใหค้ รบให้ทนั รบี เร่ง เพราะจะทำให้ผเู้ รยี นไมอ่ ยากเรียน ตัวอย่างกจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสริม Active Learning 1. Active Reading เป็นวิธีที่ให้แต่ละคนอ่านบทความแล้วแลกเปลี่ยนความคิดเก่ียวกับสิ่งท่ีได้อ่านกับเพ่ือน นำมาเขียนแผนผังมโนทัศน์ (Concept Map) ลงในกระดาษโปสเตอรเ์ พ่อื ท้ากิจกรรม Walk Gallery ตอ่ ไป 2. Brainstorming กำหนดหัวข้อและเวลา จากน้ันแบ่งกลุ่มผู้เรียนรว่ มกนั อภิปรายเพื่อหาข้อสรุปของกลุ่ม แลว้ ทุกคนนำเสนอแนวคดิ ของ ตนและบันทึกทุกแนวคิดทมี่ ผี ้นู ำเสนอ 3. Agree & Disagree statement ผู้สอนต้ังคำถาม โดยมีตัวเลือกให้ผู้เรียนว่าเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร เช่น อาจใช้ไม้ปิงปองที่มีสี 2 ด้านต่างกันเป็น อปุ กรณช์ ว่ ยตอบ แล้วเลอื กผูต้ อบในแต่ละกลมุ่ ใหอ้ ธิบาย หลงั จากนน้ั จงึ อภิปราย แลกเปลีย่ นเรียนรู้รว่ มกนั ทั้งชนั้ เรยี น 4. Carousel กำหนดหัวเรื่อง แล้วแบ่งเป็นหัวข้อย่อยที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กัน แบ่งกลุ่มผู้เรียนให้ได้จำนวนกลุ่มเท่ากับจำนวนหัวข้อ ย่อย จากน้ันเขียนหัวข้อย่อยๆ ลงบนกระดาษโปสเตอร์แล้วติดไว้รอบๆ หอ้ ง แต่ละกลุ่มระดมความคดิ และเขียนลงใน กระดาษโปสเตอร์เมื่อครบ 2-3 นาที เปล่ียนไประดมความคิดหนา้ โปสเตอร์ถัดไป โดยอ่านแนวคิดของกลุ่มก่อนหน้า ถ้าเห็นด้วยให้ใส่เครื่องหมายถูกและเพิ่มสิ่งที่ คดิ เหน็ แตกตา่ ง จากน้ันสรุปสิง่ ที่ได้เรียนรรู้ ่วมกนั 5. Concept Map
๑๕ ลักษณะคล้ายการเขียน Mind Map แตก่ ารเขยี นแผนผงั มโนทัศน์จะแสดงแนวคดิ และใชค้ ำเชอื่ มโยงระหวา่ งแนวคิด 6. Gallery Walk กำหนดหวั ข้อเรอื่ ง เขียนแนวคิด วิธกี าร ลงบนกระดาษโปสเตอร์แลว้ ติดไวร้ อบๆ หอ้ ง เพอ่ื ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ ง การเดนิ ชมผลงาน 7. Jigsaw ผู้สอนเลือกเน้ือหาที่แบ่งเป็นส่วนๆ 3-4 ชิ้น แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มๆ โดยมีสมาชิกในกลุ่มเท่าๆ กันกับเนื้อหา (Home group) สมาชิกแต่ละคนเลือกเน้ือหาท่ีตนสนใจแล้วไปร่วมกับสมาชิกจากกลุ่ม อ่ืน (Expert group) เพ่ือศึกษา ท้า ความเข้าใจหรือหาคำตอบรว่ มกันในกลุ่ม จากน้ันกลบั ไปสอนที่กลมุ่ เดมิ ของตนจนครบลว้ น 8. Problem/Project-based Learning หรอื Case study ใช้เร่ืองจริงหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน บ้าน โรงเรียน หรือท่ีเกิดข้ึนกับบุคคลใดบุคคลหน่ึง เพ่ือให้นักเรียนคิด วเิ คราะห์และหาทางแก้ปัญหาที่เกิดข้นึ โดยการบูรณาการความรู้ที่ได้เรียนกับประสบการณ์ตรงหรือสืบเสาะหาความรู้ เพิม่ เดมิ 9. Role Playing การแสดงบทบาทสมมุติเป็นวิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ฟิกการแสดงออกตามสถานการณ์ที่ กำหนดให้เพ่ือเป็น ประสบการณ์ที่จะนำไปแก้ไขปญั หาและสถานการณ์จริงในชีวิต ผู้เรยี นได้เรียนรู้ การแสดงออก ฝึกวางแผนการทำงาน รว่ มกัน เขา้ ใจความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและของผู้อื่น เช่น การทำกิจกรรม “คุกกค้ี าเฟ่” ผู้สอนจะกำหนด บทบาทแล้วเขียนไว้ในกระดาษใหผ้ ู้เรียน 6 คน จับฉลากเลอื กว่าจะแสดงบทบาทใด โดยไมใ่ ห้ปรึกษากัน แลว้ ใหแ้ สดง บทบาทสมมตติ ามบทบาทที่ตนเองไดร้ ับ หลงั จากน้ันจะตั้งคำถามและให้ผ้เู รียนแสดงความคิดเห็นว่า ผูแ้ สดงแต่ละคน ทำหน้าที่อะไร และทำหน้าท่นี ้ันได้ดีหรือไม่ มจี ุดใดต้องแกไ้ ขหรือปรบั ปรุง เป็นต้น 10. Think - Pair - Share ผ้สู อนเป็นผูต้ ั้งคำถามให้ผเู้ รียนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง หลงั จากน้ันจึงอภปิ รายแลกเปลยี่ น ความคิดเห็นกันกับเพื่อน ในช้นั เรียน 11. Predict - Observe - Explain จำลองสถานการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกบั เรือ่ งทจ่ี ะเรียนรโู้ ดยผูเ้ รียนเขยี นทำนายสิง่ ท่ีน่าจะเกิดข้ึน สงั เกตและบนั ทกึ ผล อธิบาย สิง่ ทสี่ ังเกตไดอ้ าจทำการทดลอง สำรวจหรอื ค้นควา้ เพิ่มเติมได้และนำเสนอผลงานกลมุ่ หนา้ ชั้นเรียน เป็นดน้ 12 Clarification Pause เมือ่ อธบิ ายถึงประเด็นที่สำคัญ ผูส้ อนควรให้เวลาผู้เรยี นตกผลึกความคดิ และเปิดโอกาสให้ ผเู้ รียนซกั ถามหากต้องการ คำอธิบายเพมิ่ เติม (ผ้สู อนควรจะเดนิ ไปรอบ ๆ หอ้ ง เพราะผู้เรียนมกั ไม่กล้าถามหน้าช้ันเรียน) 13. Card Sorts ผู้สอนจัดเตรียมบัตรคำ/บัตรภาพไว้ให้ผู้เรียนจัดกลุ่มบัตรภาพนั้นๆ และต้องอธิบายเกณฑ์ท่ี ใช้จัดกลุ่มให้เพื่อนและ ผู้สอนฟง้ และอภิปรายรว่ มกันในชนั้ เรยี น 14. Chain Note ผสู้ อนเตรียมคำถาม/ข้อความที่เก่ียวข้องกับเนื้อหาที่ต้องการไว้ โดยอาจพิมพ์ลงบนกระดาษ A4 แล้วให้ผู้เรียนแต่ละ คนตอบคำถามหรอื ข้อความนน้ั ๆ เพยี ง 1-2 ประโยค จากนน้ั สง่ ตอ่ กระดาษแผ่นน้นั ให้เพ่ือนทน่ี ่งั ถัดไปเพอ่ื ช่วยกันตอบ คำถามนั้นให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึน สามารถใช้ก่อนเรียนหรือหลัง เรียนได้และควรส่งกระดาษแผ่นน้ันกลับในทิศทางเดิม เพื่อให้ผทู้ ีเ่ ขียนก่อนได้อ่านความเหน็ ท้ังหมดด้วย 15. Team - pair - solo เทคนิคการทำเป็นกลุ่ม ทำเป็นคู่ และทำคนเดียว เป็นเทคนิคที่ผู้สอนกำหนดปัญหาหรืองานให้ แล้วนักเรียนทำงาน รว่ มกันท้ังกลุ่มจนงานสำเร็จ จากนั้นจะแยกทำงานเป็นคู่จนงานสำเร็จ สดุ ท้ายผ้เู รยี นแต่ละคนแยกมาทำเองจนสำเร็จ ได้ด้วยตนเอง
๑๖ 16. Students’ Reflection เป็นการใหผ้ ู้เรยี นได้สะท้อนความคิด อาจจะให้ผูเ้ รยี นสรุปสง่ิ ทไ่ี ด้เรียนรู้ในคาบเรียน เสนอแนะเก่ียวกบั การเรยี น ถาม คำถามท่ียังสงสัย หรือใหผ้ ้เู รียนคน้ คว้าเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกับส่ิงท่ีเรียน เช่น - Know - Want - Learned เม่ือเริ่มต้นบทเรยี น ให้ผเู้ รยี นเขียนส่ิงท่ีรู้และส่ิงที่อยากรู้ เก่ียวกับเนื้อหาท่ีจะ เรียน เมือ่ จบบทเรยี น ใหผ้ ูเ้ รยี นเขียนสรปุ ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ - Got - Need และ Exit Ticket เม่ือจบบทเรยี น ให้ผู้เรียนเขยี นสิ่งทไี่ ด้เรียนรู้อาจเป็นการสรุปร่วมกันหน้า ชั้นเรียน และวางแผนกจิ กรรมการเรียนจากสงิ่ ทีอ่ ยากรเู้ พมิ่ เดมิ - Diary/Journal Note เขยี นสรุปส่ิงท่ไี ด้เรยี นรู้ ค้าถามที่ยังสงสยั และความรู้ ความในใจ 17. Simultaneous round table เทคนิคนเ้ี หมอื นการเขยี นรอบวง แตกตา่ งกนั ทเ่ี น้นให้สมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มเขยี นคำตอบพร้อมกัน และใหต้ อบพรอ้ มกนั จากตวั อยา่ งกิจกรรมที่กล่าวมานั้นสิง่ สำคญั คือไมว่ า่ ผู้สอนจะเลือกทำกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม Active Learning กจิ กรรมใด ความสมำ่ เสมอเป็นสิ่งสำคัญย่งิ หากผู้สอนไดเ้ ร่ิมต้นกิจกรรมนำบทเรียนแล้ว ผเู้ รียนจะเกิดความคาดหวงั ท่ี จะเขา้ รว่ มกิจกรรมลักษณะนั้นอกี และตอ้ งการแสดง ความสามารถของตนให้ดีขึ้นเร่ือยๆ สรุปแนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนรู้จรงิ ครูผู้สอนต้องเปล่ียนบทบาทจากผสู้ อน มาเป็นผู้อำนวย (Facilitator) ซ่ึงต้องเป็นผู้มีความรู้จริง รมู้ าก มี การวางแผนเพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ อาจจะใช้วิธกี ารบอกเป้าหมายเพื่อให้ผูเ้ รียนคิดวธิ ีจะทำส่ิงน้ันให้ สำเร็จ ตวั ผู้สอนเองจำเป็นตอ้ งแสดงออกให้เห็นว่าเตม็ ใจทจี่ ะตอบคำถาม หรือใชว้ ธิ ีการถามกลับเพ่ือกระตุน้ ใหค้ ิดตอ่ มี การสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนด้วยกันเอง ต้องมีการพัฒนากระบวนการคิดให้กับผู้เรียนไปใน ระดับสงู ขนึ้ สร้างเจตคติทีด่ ีให้กับผู้เรียนต่อวิชาทเ่ี รยี นเพ่ือให้เกิดแรงจูงใจต่อการเรยี นรพู้ ร้อมท้ังผ้สู อนต้องพยามสร้าง นิสัยการเรียนรู้แบบ Active learning ให้เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอด้วย และผู้สอนจะต้องมีการประเมินการเรียนรู้ตาม จรงิ หรอื ประเมนิ ในเชิงสรา้ งสรรค์ การเรียนรแู้ บบ Active Learning เปน็ การจดั การเรยี นรูท้ ่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดร้ ว่ มกจิ กรรม ดังนี้ 1. อภปิ รายกลมุ่ (ทำงานกลมุ่ และมีการอภิปรายลงข้อสรปุ ) 2. ลงมือปฏบิ ตั ิ (ทำช้ินงานบางอยา่ ง) 3. นำเสนอผลงาน (สอ่ื สารใหผ้ ู้อนื่ เขา้ ใจได้) 4. วจิ ัยคน้ ควา้ พัฒนาได้เอง (ตอ่ ยอดเปน็ โครงงานหรือสร้างนวัตกรรม) การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ (หรอื การเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้) จะใชก้ ารสอนแบบใดก็ไดท้ ่ีตอบโจทย์ข้างต้น ซึ่ง หากทำได้จะชว่ ยส่งเสริมเร่ือง การสอนแบบสะเต็มศึกษา STEM Education ได้ดว้ ย วิธีจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงสังคมวัฒนธรรม (sociocultural approach) ของ Anantasook (2016) ซ่ึงมี 5 ช้ัน ตอน ดงั นี้ 1. ข้ันกระต้นุ ความสนใจ 2. ขน้ั สำรวจและค้นหา 3. ขน้ั อภิปรายและลงขอ้ สรุป 4. ขน้ั สร้างผลผลิตของความเข้าใจ 5. ขั้นสะทอ้ นผลผา่ นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) รปู แบบวิธกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning มีรปู แบบวิธีการจดั การเรยี นรู้หลายวธิ ี เช่น การจดั การเรียนร้แู บบเนน้ ประสบการณ์ (Experiential Learning) เป็นการสอนท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ีเป็นรูปธรรมเพ่ือนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเชิง
๑๗ นามธรรม เหมาะกบั รายวิชาทีเ่ น้นปฏิบตั หิ รอื เน้นการฝกึ ทกั ษะ ขน้ั ตอนของการจดั การเรียนรูแ้ บบประสบการณ์ 1. ขั้นจัดประสบการณ์ (Experiencing) เป็นข้ันลงมือหรือทำกิจกรรมจากสภาพจริง เช่น การเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ราคาสินค้าในตลาด แหล่งเรียนรู้ การสัมภาษณ์หรือการปฏิบัติการต่าง ๆ 2. ข้ันนำเสนอและแลกเปลยี่ นประสบการณ์ (Publishing) เปน็ ข้ันของการพูด การเขียน เช่น การนำขอ้ มูล ท่ไี ด้จากขั้นประสบการณ์มานำเสนอ ซึ่งอาจทำได้ทั้งการพูดและการเขียน อาจเขียนลง ในแผนภูมิหรือตาราง พร้อม นำเสนอดว้ ยปากเปลา่ 3. ข้ันอภิปรายผล (Discussing) เป็นขั้นของการอภิปรายซักถามเพ่ือความเข้าใจท่ีแจ่มชัด และเพื่อให้ได้ แนวคิดตอ่ การประยุกต์ใช้ ข้ันนี้ท้งั ผ้สู อนและผู้เรียนอาจร่วมกันในการตงั้ คำถามเพือ่ การอภปิ รายรว่ มกนั 4. ข้ันสรุปพาดพิง (Generalizing) เป็นข้ันของการสรปุ ผลการเรยี นรจู้ ากกระบวนการทง้ั 3 ขนั้ ข้างต้น โดย สรปุ พาดพิงสูห่ ลักการสมู่ ุมมองหรือแบบแผนทก่ี ว้างขวางขึน้ อาจรว่ มกนั สรปุ หรือการลงมอื กระทำ 5. ข้ันประยุกต์ใช้ (Applying) เป็นข้ันการนำสิง่ ท่ีได้จากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน ซึ่งอาจ จัดทำเป็นลักษณะโครงการ การทดลอง การแก้ปัญหาหรือการค้นคว้าวิจัยต่อไป ซึ่งถือเป็นการลงมือกระทำ/ปฏิบัติ เปน็ วงจรตอ่ ไป การจัดการเรยี นรูแ้ บบท่เี น้นการปฏบิ ัติ เปน็ การจัดกิจกรรมในลกั ษณะกลุ่มปฏิบตั ิการเนน้ การเรียนรู้ดว้ ยประสบการณต์ รงจากการเผชิญสถานการณ์ จรงิ และการแก้ปญั หา เพื่อใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้จากการกระทำ ได้ฝึกคิด ฝึกลงมือทำ ฝึกทักษะกระบวนการต่าง ๆ ฝึกการแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง และฝึกทักษะการเสาะแสวงหาความรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เรียนได้เรียนรู้ท้ังทางทฤษฏแี ละ การปฏิบตั ติ ามแนวทางประชาธปิ ไตย ข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้แบบทีเ่ นน้ การปฏิบัติ ๑.ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน เป็นข้ันตอนแรกท่ีผู้สอนจะต้องกระตุ้น ชักจูง และโน้มน้าวให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้น และสนใจอยากค้นคว้าหาความรู้ ผู้สอนอาจใช้วิธกี ารสนทนาซักถามและทบทวนประสบการณ์เดิมของ ผู้เรียน เพ่ือเช่ือมโยงกับประสบการณ์ใหม่ท่ีจะต้องเรียนรู้ อาจใช้คำถามย่ัวยุและท่ีสำคัญจะต้องสร้างบรรยากาศให้ ผู้เรียนตอบสนอง เช่น กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบคำถามหรือ แสดงความคิดเห็น เพ่ือโยงเข้าหาประสบการณ์ใหม่ ผู้สอน แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และร่วมกันกำหนดขอบขา่ ยหรือประเด็นความรูใ้ หม่ ๒. ข้นั ศึกษา วิเคราะห์ เป็นข้ันตอนการแบ่งกลุ่มผู้เรยี นเพอ่ื ทำกิจกรรมกลุ่มรว่ มกันโดย การแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เห็นรว่ มกันวเิ คราะหแ์ ละหาข้อสรุปในประเด็นที่ได้ตัง้ ไว้ ในการทำกจิ กรรมตามขั้นตอนน้ี ผู้สอนจะต้อง ออกแบบกลุ่มใหเ้ หมาะสม เพ่ือให้ทุกคนมีส่วนร่วมมากทีส่ ุด เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้กำหนดบทบาทหน้าทีข่ องสมาชิกใน กลุ่ม ผู้สอนตอ้ งจัดหาส่ือการสอนและแหลง่ เรียนรู้ เช่น แผนภูมิ ใบความรู้ แผ่นใส รูปภาพ วีดทิ ัศน์ หนังสือ เอกสาร หรืออ่ืนๆ เพื่อให้กลุ่มผู้เรียนได้ช่วยกันศึกษาวิเคราะห์ร่วมกัน โดยต้ังประเด็นหรือหัวข้อในการศึกษาวิเคราะห์ตาม แนวทาง ของจุดประสงค์การเรียนรู้ และความต้องการของผู้เรียน การออกแบบงานโดยจัดทำเป็นใบงานให้ ผู้เรียนได้ ทำกิจกรรมกลุ่มเป็นหัวใจสำคัญที่ผู้สอนจะตอ้ งคิดค้นและสร้างข้ึน เพื่อให้เกดิ การมีส่วนร่วมสูงสุดของผู้เรียนและเกิด การบรรลุงานกลุ่มด้วย ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานกลุ่ม ผู้สอนทำหน้าท่ีนำ อภิปราย ให้กลมุ่ ใหญ่ร่วมกันวิเคราะห์ให้ ข้อมูลในประเดน็ ที่ยังไม่ชดั เจน หากเหน็ ว่ายงั ไม่สมบรู ณ์ ผู้สอนชว่ ยเพิ่มเติมแลว้ ร่วมกนั สรุปสิง่ ทเ่ี รยี นรทู้ งั้ หมดในขนั้ น้ี ๓. ข้นั ปฏิบัติ/ฝึกหัด/ทดลอง เป็นขั้นท่ีผู้เรียนได้ทดลองฝึกปฏิบัติตามข้ันตอน ฝึกคิด วิเคราะห์ จนิ ตนาการ สร้างสรรค์ โดยผูส้ อนเปน็ ท่ปี รกึ ษา ดแู ล ช่วยเหลือและประเมนิ การปฏิบตั ิเพ่ือ แก่ไขหากมีขอ้ บกพร่องเกี่ยวกับสถานที่ สำหรบั การปฏบิ ตั ิผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกนั วางแผนจะใช้แหล่ง เรียนรใู้ นห้องเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ ารในโรงเรยี น หอ้ งเรียน ธรรมชาติ หรือสถานประกอบการ ซง่ึ จะทำให้ ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ดตี ามจดุ ประสงค์การเรียนรูท้ ่ีกำหนดไว้ ๔. ข้ันสรุป/เสนอผลการเรียนรู้ เป็นข้ันที่ผู้เรียนแต่ละกลุ่มจะได้ประมวลข้อมูลความรู้จาก ประสบการณ์
๑๘ ท้ังหมดมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นความรู้ใหม่ วิธีการใหม่ สรุปและนำเสนอส่ิงท่ีค้นพบต่อกลุ่มใหญ่ในรูปแบบท่ี หลากหลาย เปน็ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ซ่ึงกันและกนั เกิดการขยายเครือขา่ ย ความรู้อย่างกว้างขวาง ทำให้การเรยี นรู้มี ความหมายย่งิ ขนึ้ ๕. ข้ันปรบั ปรงุ การเรียนร้/ู นำไปใช้ เป็นขั้นท่ีให้ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มปรบั ปรงุ ผลงานของตนเอง ที่ไดแ้ นวคดิ จาก การนำเสนอของแต่ละกลุ่ม ในการปรับปรุงผลงานน้ันอาจนำความรู้ท่ีได้รับจากกลุ่ม อื่นมาพัฒนาให้ดีข้ึนหรือเกิด ความคิดใหม่ สร้างสรรค์งานที่ต่างจากเดิม หรอื อาจไดร้ ับแนวคิดจาก ข้อเสนอแนะของผ้สู อนมาประยกุ ตส์ ร้างผลงาน ใหมๆ่ ท่ีสามารถนำไปใช้ในสภาพการณจ์ รงิ ได้ ๖. ข้ันการประเมินผล วัดผลประเมินผลตามสภาพจริง โดยเน้นการวัดผลจากการปฏิบัติ จริง จากแฟ้ม สะสมงาน ขึ้นงาน/ผลงาน ผู้เรียนประเมินตนเอง สมาชิกของแต่ละกลุ่ม ผู้ปกครองและ ผู้สอนมีบทบาทร่วมวัด ประเมนิ ผลดว้ ย การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning: PBL) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน จะเป็นการเรียนแบบที่ไม่มีกรอบการเรียนรู้เป็น การเรียนรู้ที่ให้ เสรีภาพแก่นักเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ ความคิดวางแผนในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ ด้วยตนเอง ตามแนวคิดทฤษฏีการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ข้ึนงาน Constructionism theory ของ Seymour Papert แห่งสถาบัน เทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ Massacchusetts Institute of Technology) ซ่ึงทฤษฏีดังกล่าวเชื่อว่า ถ้านักเรียนได้มี โอกาส สร้างสรรค์ความคิดแล้วนำความคิดของไปสรา้ งสรรค์ผลงาน ด้วยการอาศยั ส่อื และเทคโนโลยที ี่ เหมาะสมแล้ว จะทำให้ความคิดนั้นเกิดเป็นรปู ธรรมท่ีซดั เจนขึน้ ซง่ึ ก็หมายถึงการสร้างความรู้ข้นึ ใหม่ ในตัวเอง ความรู้ท่นี ักเรยี นสร้าง ขน้ึ น้ี นกั เรียนจะจดจำไดด้ ีและคงอยกู่ ับนักเรียนเพราะความรดู้ ังกล่าว เกดิ จากการลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง นอกจากนี้ ยังสามารถถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ผู้อน่ื เข้าใจ ความคิดของตนได้ดีอีกด้วย รวมถึงยังใช้เปน็ ฐานในการสร้างความรู้ ใหม่ต่อไปได้อย่างไม่มที ีส่ นิ้ สดุ นอกจากน้ี การเรยี นการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานในการเรยี นรูน้ ้ี การประเมินผลการ เรยี นร้นู ้ันจะ ไมส่ นใจท่คี ำตอบแต่จะให้ความสนใจกับกระบวนการในการหาคำตอบมากกวา่ ดังนนั้ การประเมินผลจะ ไม่พิจาณาคำตอบว่าถูกหรือผิด แต่จะพิจารณาประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ หรือการประเมินในระหว่าง กระบวนการของการค้นหาคำตอบมากกว่า โดยสรุป การเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานในการเรียนรู้น้ี มี กระบวนการขบั เคลอ่ื นการเรียนรู้ทสี่ ำคัญ ประกอบด้วย ๑. การกำหนดโจทย์ปัญหาหรือโครงงาน (Project) ซ่ึงอาจเป็นการกำหนดโดยกลุ่มของ นักเรียนโดย ให้มี ความสอดคลอ้ งกบั เนื้อหาสาระของรายวิชาโดยใช้วิธกี ารตงั้ คำถามอย่างสร้างสรรค์ สมเหตุสมผล ๒. การศึกษาค้นคว้า (Research) เป็นการแสวงหาความรู้ ข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้ ท่ีมี อยู่อย่างหลากหลาย เชน่ เอกสารตำราท่ีทนั สมยั web-side ต่างๆ เป็นดน้ ๓. ลงมือปฏิบัติ (Doing) หรือการวิเคราะห์ปัญหา (analysis) นำข้อมูลจากการค้นคว้ามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ อย่างมีเหตุผลเพ่ือหาแนวทางในการแกป้ ัญหาหรือแนวทางในการจัดทำโครงงาน ให้ประสบผลสำเรจ็ โดย การระดมสมอง (Brainstorming) ภายใต้การควบคุม (coach) ของผู้สอนในลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง นกั เรียนกับผู้สอน ๔. ผลของการศึกษา (Results) สรุปผลการศึกษาโดยนำความรทู้ ่ีได้เรยี นรู้มาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ร่วมกัน และสรุปผลเปน็ องคค์ วามรู้ ตามแนวทางทท่ี ำการศกึ ษา ๕. นำเสนอ (Present) นำผลของโครงงานมาอภิปราย ซงึ่ เป็นแนวทางการขยายองค์ความรู้อีก ลักษณะหน่ึง ในลักษณะของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ๖. การประเมิน (Assessment) ประเมินผลสำเร็จของโครงงาน ว่านกั เรยี นสามารถนำ ความรู้สู่การปฏิบัติ ได้จรงิ หรือไม่ มากน้อยแคไ่ หน โดยพจิ ารณากระบวนการของการจัดทำโครงงาน โดยใชว้ ิธใี หน้ ักเรียนท่ีต่างกลมุ่ งานกัน
๑๙ มสี ่วนในการประเมนิ ร่วมกบั ผ้สู อน การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PROBLEM-BASED LEARNING) การจัดการเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นในส่ิงทเ่ี ด็กอยากเรยี นรู้ โดยส่งิ ทีอ่ ยากเรียนรู้ ดงั กลา่ วจะต้องเริ่มมาจากปัญหาที่เด็กสนใจหรือพบในชีวิตประจำวันท่ีมีเนื้อหา เก่ียวข้องกับบทเรียน อาจเป็นปัญหา ของตนเองหรอื ปัญหาของกลุ่ม ซ่ึงครูจะต้องมีการปรับเปล่ียนแผนการจัดการเรียนรตู้ ามความสนใจของเด็กตามความ เหมาะสม จากนั้นครูและเด็กร่วมกันคิดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาน้ัน โดยปัญหาที่จะนำมา ใช้ในการจัดการ เรียนรู้บางคร้งั อาจเป็น ปัญหาของสังคมที่ครูเป็นผ้กู ระตุ้นให้เดก็ คดิ จากสถานการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ต่างๆ ที่เกดิ ข้ึน จะ เน้นที่กระบวนการเรียนรู้ของเด็ก เด็กต้องเรยี นรู้จากการเรียน (learning to learn) เนน้ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรยี นใน กลุ่ม การปฏิบตั ิและการเรียนรู้รว่ มกัน (Collaborative Learning) นำไปสู่การ ค้นควา้ หาคำตอบหรอื สร้างความรู้ใหม่ บนฐานความรเู้ ดิมทผ่ี เู้ รียนมมี ากอ่ นหนา้ นี้ รูปแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนร้แู บบใช้ปญั หาเป็นฐานมจี ุดมุ่งหมายเพ่ือฝึกทกั ษะการคิด แกป้ ัญหาอยา่ งมีเหตุผลและ เป็นระบบให้แก่นักเรียนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะ กระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ คิด วจิ ารณญาณ การสืบค้นและรวบรวมขอ้ มูล กระบวนการกลุม่ การบันทึกและการอภปิ ราย ลักษณะของปญั หาในการจดั การเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน ๑. เกดิ ขน้ึ ในชวี ิตจริงและเกดิ จากประสบการณ์ของผเู้ รยี นหรือผเู้ รยี นอาจมีโอกาสไดเ้ ผชิญกับปัญหาน้ัน ๒. เป็นปัญหาท่พี บบ่อยมคี วามสำคญั มขี อ้ มูลเพยี งพอสำหรับการค้นคว้า ๓.เป็นปัญหาที่ยังไม่มีคำตอบชัดเจน ตายตัวหรือแน่นอนและเป็นปัญหาท่ีมีความซับซ้อน คลุมเครือหรือ ผู้เรียนเกดิ ความสงสัย ๔. เป็นปญั หาที่มีประเด็นขดั แย้ง ขอ้ ถกเถยี งในสงั คมยังไม่มีขอ้ ยตุ ิ ๕. เป็นปญั หาทอี่ ยู่ในความสนใจ เป็นส่ิงทอ่ี ยากรู้แตไ่ มร่ ู้ ๖. เป็นปัญหาที่สร้างความเดือดร้อน เสียหาย เกิดโทษ ภัย และเป็นส่ิงไม่ดี หากมีการนำข้อมูลมาใช้โดย ลำพังคนเดียวอาจทำให้ตอบปัญหาผดิ พลาด ๗.ปญั หาที่ได้รบั การยอมรบั จากผู้อ่นื วา่ จริง ถูกต้อง แต่ผเู้ รียนไม่เช่ือว่าจริง ยังไมส่ อดคล้องกบั ความคิดของ ผู้เรียน ๘. ปัญหาที่อาจมีคำตอบ หรือแนวทางการแสวงหาคำตอบได้หลายทางครอบคลุมการเรียนรู้ ที่กว้างขวาง หลากหลายเนอ้ื หา ๙. เปน็ ปญั หาท่มี คี วามยากงา่ ยเหมาะสมกบั พน้ื ฐานของผเู้ รียน ๑๐. เป็นปัญหาที่ไม่สามารถหาคำตอบของปัญหาได้ทันที ต้องมีการสำรวจ ค้นคว้าและ รวบรวมข้อมูล หรือทดลองดูก่อน จึงจะได้คำตอบ ไม่สามารถคาดเดา หรือทำนายได้ง่ายๆ ว่าต้องใช้ ความรอู้ ะไร ยุทธวิธีในการสืบ เสาะหาความรเู้ ปน็ อย่างไร หรือคำตอบ หรอื ผลของความรเู้ ปน็ อยา่ งไร ๑๑. เป็นปัญหาทีส่ ง่ เสริมความรดู้ ้านเนอื้ หา ทักษะ สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศกึ ษา การเตรยี มตวั ของครูกอ่ นการจัดการเรยี นรู้ ๑. ศกึ ษาหลักสูตร เพื่อให้ครูเกิดความเข้าใจจุดประสงค์ของหลักสูตร ตลอดจนตัวชี้วดั และ มาตรฐานการ เรียนรู้ต่าง ๆ อย่างละเอียดและสามารถนำความรู้ดังกล่าวไปจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางตามเป้าหมายการเรียนรู้ได้ ๒. วางแผนผังการจัดการเรียนรู้เก่ียวกับเน้ือเรอื่ งที่จะสอน โดยครูตอ้ งหาความรู้ทเ่ี ช่ือมโยงกบั เน้ือเร่ืองใน การกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ คือมีการออกแบบกิจกรรมด้วยตนเอง ใช้ส่ือและ แหล่งเรียนรู้ชุมชนเพ่ือเป็นการ สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้กับเด็ก ออกแบบกจิ กรรมใช้ส่อื ให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน ทันกับคำตอบของเด็ก
๒๐ และเช่ือมโยงกบั สิง่ ทีเ่ ดก็ เรียนรู้ โดยเน้นออกแบบ กจิ กรรมการสอนแบบบูรณาการรายวชิ า ๓. ออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ท่เี หมาะสม ครูผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ อย่างรัดกมุ ให้ รายละเอียดการจัดกิจกรรมท่ีซัดเจน คือ ไม่ว่าครูท่านใดอ่านแผนการจัดการเรียนรู้ แล้ว สามารถจัดกิจกรรมการ เรยี นรูต้ ามแผนดังกล่าวได้ ๔. ครูผู้สอนสอบถามความต้องการในการเรียนและสร้างความคุ้นเคยกับนักเรียน ครูจะต้องสร้าง ความคุ้นเคยกับนักเรียนและถามความต้องการของนักเรียนว่าอยากเรียนอะไรใน ปีการศึกษาน้ัน เพื่อสำรวจความ ต้องการของผูเ้ รยี นไว้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ให้สอดคล้องระหว่างหลักสูตรและความต้องการ ของนักเรียน เพ่ือความสะดวกในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่มีความเหมาะสมและเป็นกิจกรรมท่ีน่าสนใจสำหรับ นักเรยี นมากข้นึ ข้นั ตอนการเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐาน สำหรับคู่มือการจดั การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานนี้ได้นำข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐานที่ได้จาก การวิเคราะห์ข้อมูลการแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยโครงการพัฒนาโรงเรียนด้นแบบ และภาคีท่ีเกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนา ทกั ษะแพง่ ศตวรรษที่ ๒๑ มลู นธิ สิ ดศรี-สฤษดวงศ์ (มสส.)โดยมี ขัน้ ตอนการจดั การเรียนรู้ ดังนี้ ๑.ทดสอบความรู้เก่ียวกับเน้ือหาที่จะสอนก่อนเรียน เพื่อจะได้ทราบความรู้พ้ืนฐานของนักเรียนเป็น รายบุคคลในเรอ่ื งดงั กล่าว และเปน็ แนวทางในการออกแบบหรอื ปรับกระบวนการจดั การเรียนรู้ของครูให้เหมาะสมและ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของนกั เรียนด้วย ๒.ให้ความรู้เบ้ืองต้นก่อนเร่มิ กิจกรรมการเรียนรู้ ความรู้พ้ืนฐานจะนำไปสู่การเรียนรูข้ อง เด็กในกิจกรรมที่ ตอ้ งลงมอื ปฏิบัติ ดงั น้ัน ครูจงึ ตอ้ งอธบิ ายเนื้อหาคร่าวๆ เพ่อื ใหเ้ ดก็ เกิดความเข้าใจใน เบอ้ื งต้น ๓.เปิดโอกาสให้เดก็ เสนอสงิ่ ทอ่ี ยากเรียนรู้ โดยใหเ้ ด็กเขยี นถึงส่ิงทต่ี นเองอยากเรยี นรู้ และ ส่ิงทต่ี นเองเรียนรู้ มาแลว้ สิ่งทเี่ ด็กอยากเรียนรู้อาจเป็นปญั หาในชีวติ ประจำวนั หรือปัญหาของชมุ ชน หรือแนวทางในการแก้ปัญหาทีถ่ ูก กำหนดขึ้นในช้นั เรียน ที่เดก็ ชว่ ยกันคิดและอยากลงมอื ปฏิบตั ิ ๔.แบ่งกลุ่มเด็กในการทำกิจกรรม เพื่อให้เด็กรู้จักวางแผน คือ ให้เด็กรู้จักกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ของ ตนเอง โดยการทำปฏิทินการเรียนรู้ตามความต้องการในการเรียนของตน วิธกี ารดังกลา่ วเพือ่ ให้เดก็ ร้หู น้าท่ีของตนเอง และในขณะเดยี วกนั สามารถแบง่ หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบใหแ้ ก่ ตนเองและเพื่อนในกลุ่มได้ ๕.สรา้ งกติกาในการร่วมกจิ กรรมในชั้นเรียน เพื่อให้เด็กรู้จักเคารพในเงอื่ นไขและกตกิ าท่ี กำหนดข้นึ โดยทุก คนในชั้นเรียนจะต้องยอมรับและปฏบิ ัติตาม ๖.ให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ครเู ปิดโอกาสให้เดก็ ได้เรียนรแู้ ละลงมือปฏิบัติได้ กิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง โดยครจู ะคอยเปน็ ผแู้ นะนำ ตอบคำถามและสังเกตเด็กขณะทำกจิ กรรม ๗. ครูให้เด็กสรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและให้เด็กได้นำเสนอผลงานของตน โดยครูเป็นผู้คอย สนับสนุนให้เกิดการนำเสนอท่ีหลากหลายรูปแบบและเป็นไปอย่างสรา้ งสรรค์ ไมจ่ ำกดั แนวคิดในการนำเสนอ ๘. ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของเด็กจาก ผลงานและ พฤตกิ รรมทีเ่ ด็กแสดงออกขณะร่วมกิจกรรม โดยกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับเนือ้ หาท่ีจะ สอนเป็นหลกั การประเมนิ ผลการเรยี นร้แู บบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน การประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ควรจะมีการประเมินผลตามสภาพจริง มีการกำหนด เป้าหมายท่ีมีความสัมพันธ์ในการประเมิน ได้แก่ ๑) ควรทำความเข้าใจด้านกระบวนการ ที่เกี่ยวกับการเรียนรโู้ ดยใช้ ปญั หาเป็นฐาน ๒) การพัฒนาการเรียนร้ดู ้วยตนเองของผู้เรียน และ ๓) สิ่งท่ี ได้รับจากเน้ือหาวิชา โดยทำการประเมิน ดังนี้
๒๑ ๑. การประเมินตามสภาพจริง เปน็ การวัดผลหรือประเมินผลการปฏิบัติงานของนักเรียน โดยตรงผ่านชีวิต จริง เช่น การดำเนินการด้านการสืบสวน ค้นคว้า การร่วมมือกันทำงานกลุ่มในการแก้ปัญหาการวัดผลจากการ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ เปน็ ต้น ๒.การสงั เกตอยา่ งเปน็ ระบบ เปน็ อีกวิธีหนงึ่ ทมี่ ีความเกี่ยวข้องกับการประเมินผลในดา้ น ทกั ษะกระบวนการ ของผู้เรียนในขณะเรียน ผู้สอนต้องมีการกำหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน เช่น การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์นั้น ควรมีการกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ไว้ ไดแ้ ก่ การสรา้ งปญั หาหรอื คำถาม การสร้างสมมติฐาน การระบุตวั แปรต้น ตัว แปรตาม และตัวแปรควบคมุ การอธบิ ายแนวทาง ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และการประเมินผลสมมติฐานบนพ้นื ฐาน ของข้อมลู ทดี่ ี บทบาทของครูในการจดั การเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานครูผู้สอนจะทำหน้าท่ีสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน คอยให้ คำปรกึ ษา กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนเอาความรู้เดิมท่ีมีอยมู่ าใช้และเกิดการเรยี นรู้โดยการต้ังคำถาม ส่งเสริมให้ผเู้ รียนประเมิน การเรยี นร้ขู องตนเอง รวมทั้งเป็นผูป้ ระเมินทักษะของผู้เรียนและกลุ่ม พรอ้ มใหข้ ้อมลู ย้อนกลับเพ่อื ใหผ้ ู้เรียนได้เกดิ การ พฒั นาตนเอง การจัดการเรยี นรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา มีแนวคดิ สำคัญ คอื การนำปญั หามาใช้ใน กระบวนการเรียนรู้ ดว้ ยกระบวนการนี้จะสามารถกระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดความงนุ งงสงสัยต้องการแสวงหาความรู้ เพ่ือขจัดความสงสยั ผู้เรียน ได้เผชิญกบั ปัญหาหรือสถานการณ์จริงร่วมกันคดิ หาทางแก้ไขปญั หา เกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีความหมาย สามารถพัฒนา ทักษะกระบวนการต่างๆ อันเป็นทักษะจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้ด้วยรูปแบบการ แก้ปัญหาน้ีจะช่วยพัฒนาผู้เรียนในด้าน ต่าง ๆได้แก่การฝึกทักษะการสังเกตการ เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ ตีความ และการสรุปความ การคิดแก้ปัญหาอย่างมีข้ันตอน เหตุผล ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การแลกเปล่ียนความ คิดเห็น ประสบการณ์ซงึ่ กันและกันระหว่างผู้เรียน โดยผู้เรยี นจะเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาการคิดด้าน ต่าง ๆ ไปด้วยกัน ได้แก่ ดา้ นความรคู้ วามจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และ การประเมนิ ค่า เน่ืองจากพัฒนาการทางด้านความคดิ ของผูเ้ รียนจะพัฒนาเป็นลำดบั ขัน้ ไปตามช่วงวัยตามธรรมชาติ จากขั้นหน่งึ ไปสอู่ ีก ขั้นหนึ่ง การจัดประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ พัฒนาการของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย ไปสู่ข้ันที่สูงกว่าจะสามารถชว่ ยให้ผู้เรียนมี พัฒนาการไดเ้ รว็ ขึน้ ผู้เรยี นจะสามารถเลือกรบั รสู้ ิ่งที่ตนสนใจ และเกิดการเรยี นรจู้ ากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง ซ่ึง มีลำดับข้ันตอนการเรียนรู้ ๓ ขั้นตอน คือ การเรียนรู้จากการกระทำ การเรียนรู้จากความคิด และ การเรียนรู้ สญั ลักษณ์และนามธรรมซ่ึงเป็นขั้นพัฒนาการสูงสุดทางด้านความรู้ ความเข้าใจ เปรียบได้กับข้ันระยะการแก้ปัญหา ด้วยเหตุผลกบั สงิ่ ทเ่ี ป็นนามธรรม ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดประสบการณ์โดยการใชส้ ัญลักษณ์หรอื ภาพ สามารถคิดหา เหตุผลและเข้าใจส่ิงท่ีเป็นนามธรรม ตลอดจนคิดแก้ปัญหาได้ เป็นการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ซึ่งจะประกอบด้วย โครงสร้างของกระบวนการใช้จินตนาการ โดยเน้นให้ผู้เรียนพิจารณาหาทางเลือกหลาย ๆ แบบก่อนตัดสินใจเลือก รปู แบบที่เหมาะสมมาใช้ในการแก้ปัญหา สรา้ งองค์ประกอบของกระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เร่ิมต้ังแต่ข้ัน ของการเกิดความรู้สึกวิตกกังวล มีความสบั สนวนุ่ วาย ตามด้วยการค้นพบปัญหา เป็นข้ันต่อไป จากน้ันถึงข้ันของการ ตั้งสมมตฐิ าน ขัน้ การค้นพบคำตอบ และสุดทา้ ยขัน้ การยอมรับผลจาก การค้นพบ ซึ่งในขั้นน้จี ะเปน็ การยอมรับคำตอบ ท่ีได้จากการพสิ ูจน์ ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นรู้แบบกระบวนการแกป้ ัญหามีดังนี้ ๑.ข้ันกำหนดปัญหา ปัญหาที่นำมาใช้ในบทเรียนอาจได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น ภาพเหตุการณ์ การ สาธิต การเล่าเร่ือง การให้ดูภาพยนตร์ สไลด์ การทายปัญหา เกม ข่าว เหตุการณ์ประจำวันที่นา่ สนใจ การสร้าง
๒๒ สถานการณ์/บทบาทสมมติ สถานการณจ์ ริง ของจรงิ หรอื สถานการณจ์ รงิ ๒.ข้ันตง้ั สมมตฐิ าน สมมติฐานจะเกดิ ขึ้นไดจ้ ากการสังเกต การรวบรวมขอ้ มลู ข้อเท็จจรงิ และ ประสบการณ์ เดมิ จนสามารถนำมาคาดคะเนคำตอของปัญหาอยา่ งมีเหตุผล ๓. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นข้ันตอนของการรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน การสังเกต การสัมภาษณ์ การ สบื ค้นขอ้ มลู ด้วยวิธีการต่าง ๆ ทหี่ ลากหลายหรือทำการทดลอง มีการจดบนั ทึกขอ้ มูลอย่างละเอียด เพื่อนำไปวิเคราะห์ ข้อมลู ใหไ้ ด้คำตอบของปัญหาในทส่ี ดุ ๔.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนนำเสนอข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นหรือทำการทดลองนำมาตีแผ่ เปิด โอกาสให้สมาชิก (ผู้เรียน) ได้มีการอภิปราย ซักถาม ตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น โดยมีผู้สอนคอยช่วยเหลือและ แนะนำ อันจะนำไปสู่การสรุปขอ้ มูลในขั้นตอนตอ่ ไป ๕.ขั้นสรุปและประเมินผล เป็นข้ันสุดท้ายของกระบวนการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหาเป็นการสรุป ข้อมูลทไ่ี ด้จากแหล่งตา่ ง ๆ แล้วสรปุ เป็นผลการเรยี นรู้ หลังจากนน้ั ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกัน ประเมินผลการเรยี นรูข้ อง ผูเ้ รียนด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย และนำผลการประเมนิ ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี นต่อไป การจดั การเรยี นรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ การเรียนรู้จากธรรมชาติ ไดช้ ่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความจริงของชีวิตท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง มกี ารต่อสู้ด้นิ รน มี ปัญหา มีสุนทรียภาพ มีคุณค่า ท้ังความจริง ความงาม และความดี ในทางตรงกันข้ามธรรมชาติก็มีท้ังความเส่ือม สลายและความโหดรา้ ยทำลายล้างดงั มีคำกล่าวว่า ดิน นำ้ ลม ไฟ นัน้ มคี ุณอนันตแ์ ละโทษมหนั ต์ มนุษย์จึงจำเปน็ ตอ้ ง ได้เรียนรกู้ ารอยรู่ ว่ มกันกบั ธรรมชาติ การอนุรกั ษ์และยอมรับคณุ คา่ ของ ธรรมชาติ ปรบั ตนเองได้ในความเปลี่ยนแปลง ผเู้ รยี นจะเรียนรู้จากธรรมชาติได้ดีก็ต่อเมื่อเขาได้รับการ ปลดปลอ่ ยออกจากห้องเรียนทก่ี ักขังเขา ไปสู่ธรรมชาติ และมี โอกาสหนั กลับมาเรยี นรู้เพอ่ื รูจ้ กั ตนเองว่าคือ ธรรมชาตแิ ละสัมพันธก์ บั ธรรมชาติอยา่ งไร คำว่าธรรมชาติน้ี มิได้หมายถึงเฉพาะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ป่าสวน ไร่นา ลมฟ้าอากาศ ดิน หิน แร่ ต้นไม้ใบหญ้า ฯลฯ เท่าน้ัน หากหมายรวมถึงเพ่ือนมนุษย์ สรรพสัตว์ และ แม้แต่การเรียนรู้ รู้จักวิเคราะห์ ธรรมชาตใิ นตวั ของเราเอง แนวคิดของการจัดการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดได้ ปฏิบตั งิ านด้วยเอกลกั ษณ์ของตัวเอง แนวคิดท่ีสำคัญมดี งั นี้ ๑.การจดั การเรยี นร้เู น้นความสำคญั ท่ีผู้เรียน ให้ผู้เรียนมคี วามสำคญั ที่สุดในกระบวนการเรียนรู้ ๒. ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้ดว้ ยการฝกึ ทักษะการใช้กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสังเกต การรวบรวมขอ้ มูล และการปฏิบตั จิ ริงทำได้ คดิ เป็น ทำเป็น ๓. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ ได้คิด แสดงออกอย่างอิสระ บรรยากาศการ เรียนรู้ที่ เปน็ กลั ยาณมิตร ๔.ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ท้งั ระบบ ๕. ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้สอนให้มาเปน็ ผู้รบั ฟัง ผู้เสนอแนะ ผู้ร่วม เรยี นรู้ เปน็ ท่ีปรึกษา ผู้สร้างโอกาส สรา้ งบรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ เปน็ นักออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รียนมี บทบาทมากทีส่ ุด ๖.ต้องการให้เรียนรู้ในส่ิงที่มีความหมายต่อชีวิตคือสิ่งท่ีอยู่ใกล้ตัวจากง่ายสู่ยาก จากรูปธรรมสู่ นามธรรม โดยใช้แหลง่ การเรียนรู้เป็นส่ือประสบการณ์ชีวิต ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม มาเป็นฐานการเรียนและประยุกต์ใช้กับ การป้องกันและแกป้ ญั หา ๗. ใหผ้ ู้เรียนได้มีโอกาสฝึกจัดกิจกรรมได้เรียนรตู้ ามความต้องการความสนใจใฝ่เรียนร้ใู นสิ่งที่ ต้องการอยา่ ง ต่อเนอื่ ง เพ่ือใหไ้ ดร้ ับประสบการณก์ ารเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ๘.ถือวา่ การเรียนรเู้ กิดข้ึนได้ทกุ ทที่ ุกเวลาทกุ สถานท่ี
๒๓ ๙.ปลูกฝังสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมท่ีดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกสาระ การ เรยี นรู้ ขึน้ ตอนการจัดการเรยี นรู้ เป็นดังน้ี ๑.ขน้ั สำรวจ ผ้สู อนใหผ้ ูเ้ รยี นศึกษา สำรวจแหล่งเรียนร้ใู นโรงเรยี น และ ในชมุ ชนของผ้เู รยี น ๒. ขั้นเรียนรู้ เป็นข้ันที่ผู้เรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรม ที่เกิดจากการเรียนรู้ และ มีการ วางแผนร่วมกันในการปฏบิ ตั งิ าน ๓. ข้ันประเมินผล เป็นข้ันตอนการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยให้ บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี กำหนดไว้ในการจดั การเรียนร้โู ดยมีครู ผ้เู รียน ผู้ปกครอง เปน็ ผ้ปู ระเมนิ ๔.ขัน้ นำไปใช้ เป็นข้ันที่ผู้เรียนสามารถนำความร้ทู ี่ได้จากแหล่งเรียนรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวัน ๕. ข้ันประยุกต์ความรู้และเผยแพร่ผลงาน ข้ันที่ผู้เรียน นำความรู้ ท่ีได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ใน ชวี ติ ประจำวันและเผยแพร่ นำไปใช้เกิดประโยชน์สูงสุดกบั ผเู้ รียนต่อไป การจดั การเรยี นรู้โดยใชแ้ นวคิดสะเต็มศึกษา คำว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคำย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึง องค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ท้ังส่ีที่มีความเชื่อมโยงกันใน โลกของความเป็นจริงท่ีต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มา บูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการ ทำงาน คำว่า STEM ถูกใช้คร้ังแรกโดยสถาบันวิทยาศาสตร์แห่ง ประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Science Foundation: NSF) ซึ่งใช้คำนี้เพ่ืออ้างถึงโครงการหรือโปรแกรมท่ี เก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ อย่างไรกต็ ามสถาบนั วิทยาศาสตร์แหง่ ประเทศ สหรัฐอเมริกาไม่ได้ให้นิยามท่ีชัดเจนของคำว่า STEM มีผลให้มีการใช้และให้ความหมายของคำนี้ แตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5) เช่น มีการใช้คำว่า STEM ในการอ้างอิงถึงกลุ่ม อาชีพที่มีความเก่ียวข้องกับ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมท้ังการพัฒนากระบวนการหรือ ผลผลิตใหม่ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สห วิทยาการกับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ี ไม่เน้นเพียงการ ทอ่ งจำทฤษฏีหรอื กฎทาง วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสรา้ งความเข้าใจทฤษฏีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการ ปฏิบัติให้ เห็นจรงิ ควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคดิ ต้ังคำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมลู และวิเคราะห์ข้อคน้ พบใหม่ ๆ พร้อมท้ังสามารถนำข้อค้นพบนนั้ ไปใชห้ รอื บูรณาการกับชีวิตประจำวันได้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ มลี ักษณะ 5 ประการไดแ้ ก่ ๑.เปน็ การสอนที่เน้นการบรู ณาการ ๒. ช่วยนักเรียนสร้างความเชอ่ื มโยงระหว่างเน้อื หาวชิ าท้ัง 4 กับชีวิตประจำวนั และการทำ อาชพี ๓. เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ๔. ทา้ ทายความคดิ ของนกั เรียน ๕.เปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้แสดงความคิดเห็น และความเขา้ ใจทสี่ อดคล้องกับเนอ้ื หาทั้ง 4 วชิ า จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักและเห็นคุณค่าของการเรียน วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตรแ์ ละเห็นว่าวิชาเหล่าน้ันเปน็ เรื่องใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ ได้ทกุ วนั ขน้ั ตอนจัดการเรยี นรู้ “กิจกรรมสะเตม็ ” STEM &PISA for thai teachers. (2018) ระบุขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรูไ้ ว้ ดังน้ี
๒๔ ขัน้ ท่ี 1 - ระบุปัญหา ข้นั ที่ 2 -รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ งกบั ปญั หา ขั้นท่ี 3 -ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา ข้นั ที่ 4 -วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ข้นั ท่ี 5 - ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ ีการแก้ปญั หา หรือชิ้นงาน ข้ันท่ี 6 -นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หาหรือ ชิ้นงาน แนวการจัดกิจกรรม ให้มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ข้ันตอน ตามแนวทางของคณะกรรมการพัฒนา หลกั สูตรสะเตม็ ท่ไี ด้รับการแตง่ ตั้งจากกระทรวงศึกษาธกิ าร ๑. ข้นั ระบุปญั หา ๑.๑ การทำให้นักเรียนมองเหน็ ปญั หา ขัน้ นีค้ รตู ้องจัดหาหรอื ยกสถานการณ์ เช่น การสนทนา โดยใช้ประเด็นจากข่าว การเล่าเหตุการณ์ การฉายวีดีทัศน์ ฯลฯ เพ่ือให้นักเรียนเห็นภาพ ของสภาพจริงใน ชีวิตประจำวัน ที่มีอุปสรรคต่อความสำเร็จที่ต้องการ หรือเห็นภาพท่ีทำให้เกิดการกระตุ้นให้คิดว่าควรจะสร้างหรือมี นวัตกรรมท่ีจะช่วยให้การดำเนินการหรือการทำงานหรือ คุณภาพชีวิตดีขึ้น และ ท้ายสุดให้นักเรียนเล่าหรือบอก เร่ืองราวในชีวิตจริงของนักเรียน อาชีพของ ผู้ปกครองหรือครอบครัว หรือชุมชนของนักเรียน ในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับ ประเด็นจากข่าว การเลา่ เหตกุ ารณ์ การฉายวีดที ศั น์ ฯลฯ ดังกลา่ ว ๑.๒ การทำใหน้ กั เรยี นตระหนักถึงความสำคญั ของปญั หา ข้นั นี้ ครูต้องทำให้ นักเรยี นเกดิ ความ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา ซ่ึงเกิดจากการเห็นคุณค่าของ “การรับรู้โดยการใส่ใจ” โดยครูต้องทำให้นักเรียน รับรู้ให้ได้ว่าจากสถานการณ์ที่นักเรียนได้บอกเล่ามาน้ัน มี “ปัญหาหรืออุปสรรคต่อเป้าหมาย” ท่ีควรใส่ใจในการหา วิธแี ก้ไข มิฉะนั้นจะส่งผลกระทบในดา้ นลบหรอื ใส่ใจที่จะ“สร้างหรอื มีนวัตกรรม”อันเป็นการพัฒนา ซงึ่ จะทำใหเ้ กิดผล กระทบในดา้ นบวก ๑.๓ การทำใหน้ ักเรียนสามารถ“ระบุปัญหา”จากสถานการณ์ไดต้ รงประเด็น ขนั้ นี้ครูตอ้ งทำให้ นักเรียนมีความสามารถในการระบุปญั หา ซึ่งการระบุปัญหาที่ดีนั้น ต้องสอ่ื สารให้เห็นเป้าหมายในการแก้ปัญหาอย่าง ชดั เจน และวิธีการทำให้นักเรยี นระบุปัญหาจากสถานการณ์ได้ตรงประเดน็ ที่สุด คอื ใหน้ ักเรยี นซ่ึงเป็นสมาชิกของกลุ่ม ระดมความคิด “ต้นตอท่ีทำให้เกิดสถานการณ์ท่ีมี ปัญหาแฝงอยู่” ให้มากท่ีสุด จากนั้นนำผลที่เกิดจากสถานการณ์ ท้งั หมดมาสรปุ ใหแ้ คบลง ๒. ขน้ั รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เก่ยี วขอ้ ง ๒.๑ การฝกึ ใหน้ กั เรยี น “วเิ คราะห์ปญั หา และทำความเขา้ ใจสภาพแวดลอ้ มหรอื บรบิ ทของ ปัญหา ” ข้ันน้ีครูต้องพยายามให้นักเรียนแยกแยะปัญหาว่าปัญหาน้ันมีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง เกิดจากอะไร ประกอบขน้ึ มาไดอ้ ยา่ งไรและมคี วามเช่ือมโยงสัมพนั ธก์ ันอย่างไร และให้นกั เรียนอภปิ รายเพอ่ื ระบใุ หไ้ ดว้ า่ ๑) “เปา้ หมายของการแกป้ ญั หา” คืออะไร ๒)“ความต้องการของผรู้ ับประโยชน์จากการแก้ปัญหา” มีอะไรบา้ ง ๓) “เงอ่ื นไข หรอื ข้อจำกัด หรอื เกณฑท์ เ่ี ปน็ บรบิ ทของปัญหา” มีอะไรบ้าง ๒.๒ การฝึกให้นกั เรยี น “รวบรวมข้อมลู และแนวคิดท่ีเกี่ยวข้อง” ขัน้ นีค้ รูใหน้ กั เรยี น ค้นควา้ หรอื หาคำอธิบายในส่งิ ท่นี กั เรยี นไดแ้ ยกแยะมาแล้วแต่ยงั ไม่มคี วามชัดเจน โดยให้คน้ คว้าข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องและเกี่ยวกับ ปัญหาท่ีสนใจว่า ในสภาพแวดล้อมหรือบริบทเหมือนกันหรอื คล้ายกัน กับปัญหาในชีวิตจริงของนักเรียนมีการศึกษา หรอื แก้ไขมาบ้างหรือไม่ ทำอย่างไร และได้ผลอย่างไร ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ใด ด้วยวิธีใด ซ่ึงในการรวบรวมข้อมูล และแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ ง ในบางคร้ังอาจ จำเป็นต้องเชิญผู้รู้หรือผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอกมาคุยกับนกั เรียน หรอื นำนกั เรยี น ไปศึกษาเรยี นรู้นอก สถานท่ี ๓. ขั้นออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา
๒๕ ๓.๑ ฝึกให้นักเรียนมีความรอบคอบในการออกแบบวิธีแก้ปัญหา ข้ันน้ี ครูต้องดำเนินการ ให้นักเรียนเห็น ความสำคัญของความรอบคอบในการออกแบบวิธีแกป้ ัญหา โดยเน้นว่า การจะทำให้ได้ “เป้าหมายของการแก้ปัญหา’’ น้ัน ต้องคำนึงถงึ ความต้องการของผู้รับประโยชนจ์ าก การแก้ปญั หา เงื่อนไข หรือข้อจำกัด หรือเกณฑ์ทเ่ี ป็นบริบทของ ปญั หา ซึง่ จะทำใหผ้ ลผลติ จากการแก้ปัญหาเป็นที่ยอมรับ ๓.๒ ฝึกให้นกั เรียนสรา้ งทางเลือกวิธแี กป้ ญั หา ขนั้ นี้ ครูตอ้ งทำใหน้ กั เรียนเอาเปา้ หมาย เปน็ ตัวตงั้ แล้วระดมสมองให้ได้“วิธีการเพ่ือให้ถึงเป้าหมาย’’ให้มากวิธีที่สุด ซ่ึงบางวิธีอาจมีความเป็นไปได้ยาก แต่ครูไม่ควร รีบด่วนตัดท้ิง เนื่องจากวิธีคิดท่ีเป็นไปไม่ได้อาจทำให้เกิดวิธีคิดใหม่ท่ีเป็นไปได้หรืออาจปรับให้มีความเป็นไปได้ใน ภายหลัง ประการสำคัญต้องเน้นย้ำกับนักเรียนว่าแต่ละวิธีแก้ปัญหาจะต้องอาศัยพ้ืนฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์- วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจมีเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้อง มารว่ มด้วยก็ได้ จากน้ัน นำมาออกแบบเป็น “ร่างแนวคดิ ”ของแต่ละวิธี แลว้ ประเมนิ ในทา้ ยทีส่ ุดว่าควร จะเลอื กเลอื กวธิ แี ก้ปัญหาท่มี ี ความเป็นไปได้ และดีที่สุดเพอ่ื นำไปปฏิบัติจรงิ ๔. ขน้ั วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา ๔.๑ ฝึกให้นักเรียนเขียนแผนการปฏิบัติการ ข้นั น้ี เป็นการนำร่างแนวคิดท่ีผ่านการเลือกแล้วว่าเป็นวิธีท่ีมี ความเหมาะสมท่ีสุดในการจะนำไปปฏิบัติไปจัดทำรายละเอียดเกี่ยวกับข้ันตอนการดำเนินงาน เง่ือนเวลาท่ีต้อง ดำเนินงาน ความสามารถของแรงงาน ความเหมาะสมด้านเทคนิค ค่าใช้จ่าย และอน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึ่งขนั้ ตอนนี้ครู ควรให้ความสนใจอย่างใกล้ชิดและซักถามนักเรียน อย่างละเอียดเพื่อให้ข้อเสนอแนะหรือป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิด จากการวางแผนที่ไมร่ อบคอบ เหมาะสม และหลังการเขียนแผนปฏิบัติการ อาจต้องให้ครูอนุมัติแผนปฏิบัติการก่อน นำไปดำเนนิ การ เนือ่ งจากบางกจิ กรรมอาจต้องอยู่ในความดแู ลใกลช้ ิดจากครูหรอื ผู้รู้เฉพาะดา้ น 4.2 ฝกึ ให้นกั เรียนปฏิบตั งิ านตามแผนและรายงานความก้าวหนา้ เป็นระยะ ข้นั น้ีเป็นการลงมือปฏิบัตจิ รงิ ใน การแก้ปัญหา ระหว่างการปฏิบัติครคู วรให้นักเรยี นบันทึกความสำเร็จตามแผน ปัญหาอุปสรรค และวธิ ีแกไ้ ข และควร กำหนดเวลาที่นักเรียนต้องรายงานสรุปให้ครูทราบ ความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ ด้วย โดยกำชับ นกั เรยี นวา่ หากมปี ญั หาหรืออปุ สรรค หรือเหตกุ ารณ์ทีจ่ ะต้องปรับแผน ตอ้ งแจง้ ให้ครูทราบก่อนดำเนนิ การทกุ ครัง้ ๕. ข้ันทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง ๕.๑ ฝึกให้รู้จักวิธีการทดสอบ ขั้นนี้ครูควรให้นักเรียนระดมความคิดว่าในการทดสอบ ผลงาน ควรจะ ทดสอบด้วยวิธีใด และใครเป็นผู้ทดสอบ ระหว่างการทดสอบต้องอยู่ในการควบคุม ดแู ลหรือไม่ เพราะบางคร้งั วิธีการ ทดสอบต้องคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ซ่ึงตอ้ งอยใู่ นการดูแลใกล้ชิด จากครหู รอื ผ้รู ู้เฉพาะดา้ น 5.2 ฝึกให้รู้จักประเมินผล ข้ันน้ีครูควรให้นักเรียนประเมินโดยยึดว่า ได้ผลงานเป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย หรอื ไม่ ผลงานน้ันมีคุณลกั ษณะเป็นไปตามความต้องการ และภายใต้เง่ือนไขท่ี ได้กำหนดไวแ้ ตแ่ รกหรือไม่ จากผลการ ประเมินมสี ่ิงใดทตี่ ้องปรบั ปรงุ หรอื ไม่ 5.3 ฝึกให้มีกระบวนการในการปรับปรุง ข้ันน้ี ครูต้องกำชับนักเรียนว่า หากจำเป็นต้องปรับปรุง จะต้อง บันทึกสาเหตุของการปรับปรุง วิธีปรับปรุงต้องอยู่บนพ้ืนฐานของการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละวธิ กี ารทางวิศวกรรมมาใช้ และขออนมุ ัตแิ ผนการปรับปรุงต่อครูก่อนนำไปปรบั ปรุง ๖. ข้นั นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวตั กรรม ข้นั นี้ ครู ควรเสนอแนะ ให้นักเรยี นนำเสนออย่างเป็นขัน้ ตอน ตั้งแต่สถานการณ์ปัญหา การระบุปัญหา การรวบรวมข้อมูล การออกแบบ การ วางแผน การปฏิบัติงานเพ่ือแกป้ ญั หา การทดสอบ ผลการประเมนิ การปรบั ปรุง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงขัน้ ตอนของการทำ ความเข้าใจปัญหาว่าอะไรคือ เป้าหมาย อะไรคือ ความต้องการ อะไรเป็นข้อจำกัดของการสร้างงาน การรวบรวม ข้อมลู ทำให้ เรียนรอู้ ะไร การออกแบบอยบู่ นพ้นื ฐานของการใช้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างไร มีเทคโนโลยีอะไร ที่ใช้ประโยชน์ในการสร้างงานน้ี เกิดปัญหาอุปสรรคระหว่างสร้างงานอย่างไร ปรับแก้อย่างไร และผลลัพธ์สุดท้าย เป็นไปตามเป้าหมายและความต้องการหรือไม่ ประการสำคัญ จะต้องให้นักเรียนลงข้อสรุปให้ ผู้ฟ้งเห็นซัดเจนว่า วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี นำมาใช้ในการแกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ ได้ การประเมินผล : การประเมินผลกิจกรรมสะเต็ม ครูควรต้ังเป็นกติกาหรอื กำหนดหลักเกณฑ์ การให้คะแนนอย่างซัด
๒๖ เจนซ่งึ อาจประกอบด้วย ๑) การมองเหน็ ปัญหาและเปา้ หมายของการแกป้ ญั หา ๒)การออกแบบเพ่อื แก้ปญั หาบนพน้ื ฐานคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละการใช้เทคโนโลยที ี่ เหมาะสม ๓) การประเมนิ เพอื่ คัดเลอื กแบบหรอื วธิ กี ารเพือ่ แกป้ ัญหาท่เี หมาะสม ๔) การจดั ทำรายละเอียดของแบบหรือวธิ ีการเพ่ือแกป้ ญั หาทไี่ ด้คดั เลือกไว้ ๕) การจดั ทำแผนปฏิบตั งิ านและการดำเนินการตามแผน ๖) การทดสอบ การประเมนิ และการปรบั ปรุงผลงาน ๗) การนำเสนอ การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้สมองเปน็ ฐาน (Brain based Learning: BBL) มแี นวคิดสำคญั ดงั นี้ ๑.การทำให้เด็กเกิดการต่ืนตัวแบบผ่อนคลาย - การสร้างบรรยากาศให้เด็กไม่รู้สึกเหมือนถูกกดดัน แต่มี ความทา้ ทาย ชวนใหค้ ้นคว้าหาคำตอบ ๒.การทำให้เดก็ จดจ่อในส่ิงเดียวกนั -การใช้ส่ือหลาย ๆ แบบ รวมทั้งการยกปรากฏการณจ์ ริง มาเปน็ ตัวอย่าง และการเปรยี บเทยี บใหเ้ ห็นภาพ -การเชอื่ มโยงความรหู้ ลาย ๆ อย่าง -การอธิบาย ปรากฏการณ์ดว้ ยความรู้ท่ีเดก็ ไดร้ ับ ๓.ทำให้เกิดความรู้จากการกระทำด้วยตนเอง - การให้เด็กได้ลงมือทดลอง ประดิษฐ์ หรือได้เล่า ประสบการณจ์ ริงทเี่ กย่ี วขอ้ ง กุญแจ 5 ดอก กา้ วสู่ BBL กุญแจดอกที่ 1 สนามเด็กเลน่ เปลี่ยนสนามเด็กเล่น เพื่อพัฒนาสมองน้อยและไขสันหลังให้แขง็ แกร่ง เม่ือ เด็กออกกำลงั กายร่างกายจะส่งเลอื ดไปเล้ียงสมองมากขนึ้ ทำให้การเรียนรู้มีประสทิ ธิภาพ Make จดั ทำสนามท่ีมฐี านหลากหลาย ใหเ้ ด็กไดว้ ิ่ง ปนี โหน ลอด กระโดด ฯลฯ และมีวัสดุกันกระแทก Move จดั เวลาใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ สนามวันละ 20 - 30 นาที ทุกวนั โดยมคี ุณครคู อยดูแลอย่าง ใกลช้ ิด กญุ แจดอกท่ี 2 ห้องเรยี น เปลย่ี นห้องเรียนเพื่อเปล่ียนสมองของเด็กสิ่งแวดล้อมทแ่ี ปลกใหม่ มีความเข้มข้น มีสีสัน จะช่วยกระต้นุ ใหเ้ ดก็ สามารถเรยี นร้แู ละจดจำเนือ้ หาทเ่ี รียนไดด้ ขี ้นึ Color ปรับปรุงห้องเรยี น ทาสผี นังหรือนำฟิวเจอร์บอร์ดสีมาติดผนงั และทาสีโต๊ะเก้าอ้ี Corner จัดมมุ อ่านไว้ในหอ้ งเรยี นทุกห้อง Clean ทิง้ ของทีไ่ ม่ใชใ้ นหอ้ งเรียน จดั วางอปุ กรณ์และส่ือต่าง ๆ ไวบ้ นช้นั ใหเ้ ป็นระเบยี บ Clear ร้อื บอรด์ เก่าท่ไี ม่มปี ระโยชนท์ ิ้งไป แลว้ นำความร้ทู ม่ี ีประโยชนม์ าจดั บอร์ด กุญแจดอกที่ 3 กระบวนการเรียนรู้ กระตนุ้ กระบวนการเรยี นร้ขู องเดก็ โดยใช้กิจกรรมต่าง ๆ ในการจดั การ เรยี นการสอนเพอ่ื ให้สมองเดก็ ตืน่ ตวั สนใจ ทา้ ทายการคิด คน้ หาลองผิด ลองถูก เรยี นรู้และจดจำ One กระตุ้นสมองนอ้ ย ด้วยกิจกรรม \"ขยบั กาย ขยายสมอง\" ทกุ ๆด้านต้นชวั่ โมง TWO กระตุ้นสมองท้ังสองซกี โดยใชบ้ ทเพลงและบทกลอน และกิจกรรมท่สี นกุ สนาน ชว่ ยในการสอนภาษาและคณิตศาสตร์ Four กระตุ้นสมองท้ังสส่ี ว่ น โดยจดั กิจกรรมให้นักเรียนได้เห็นภาพ ได้รบั รูผ้ ่านการได้ยนิ เสยี ง ไดเ้ คลื่อนไหว และได้ใช้ประสาทสัมผสั กุญแจดอกท่ี 4 หนังสือเรียน ใช้หนังสือและใบงาน ที่ได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับการทำงานของ สมอง เพ่ือช่วยกระตุ้นสมองของนักเรยี น ฝึกให้เด็กคดิ ท่ลี ะขั้นตอน และนำทักษะ และความร้ใู นแต่ละข้ัน มาประกอบ กันเป็นความเข้าใจ(concept) ในที่สดุ Brainy Books จดั หาหนังสือเรียนและหนงั สืออ่านเพ่มิ เติมตา่ ง ๆ ทีจ่ ะกระตุ้ นให้ เกิดการเรียนรู้ อย่างมคี ณุ ภาพ Brainy Worksheets จัดทาํ ใบงานตามหลกั การ BBL ท่ีมี road map นาํ นักเรียนส่คู วามสําเร็จ
๒๗ กุญแจดอกท่ี 5 สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู ใชส อ่ื และนวัตกรรมทแ่ี ปลกใหม นาต่นื เตน และมีสีสนั และมี จาํ นวนเพียงพอสาํ หรับนักเรยี นทุกคนเครอ่ื งมอื เหลานี้จะชวยในการเรยี นรู และกระตุนใหเด็กรูสกึ สนุกสนาน พงึ พอใจ เกดิ ความตั้งใจทจ่ี ะเรียนรเู นื้อหาที่ซับซอ น Learning Tools จัดหาส่ือ เครื่อ งมอื และอปุ กรณท จ่ี ําเปน สําหรบั กิจกรรมการเรยี นรู Learning Board จัดหากระดานเคลือ่ นท่ี สําหรับหอ งเรียนชั้นอนบุ าลและประถมทุกหอ ง Learning Cards จัดหาบัตรภาพ บตั รคํา เพ่ือใชป ระกอบการสอน การจัดการเรยี น รแู บบสมองเปน ฐาน (Brain based Learning : BBL) เปน กระบวนการทม่ี ีชวี ติ ชวี า (active) บทเรียน หรือกิจกรรมต้องท้าทาย ชัดเจน ไม่คลุมเครือ ใช้สถานการณ์ท่ีส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ โดยมีกิจกรรมฝึกซ้ํา ทบทวนบ่อย ๆ ทุกคร้ังที่ฝึกการคิดทกั ษะใหม่ กับทักษะท่ีเคยฝึกแล้ว การเชื่อมโยงจะทำได้ดีเมอ่ื ครูใช้การเปรียบเทียบ สถานการณ์จำลอง อุปมาอุปไมย เรื่องขบขัน บทความ ตัวอย่าง และเทคนิคการปฏิสัมพันธ์แบบต่างๆ การพัฒนา กระบวนการคดิ มีองคป์ ระกอบที่ สำคัญ ไดแ้ ก่ การใชค้ ำถาม การมีปฏสิ ัมพนั ธ์อย่างตอ่ เนื่องและการให้ขอ้ มูลย้อนกลับ ทุกส่ิงท่ีอยู่รอบตัวผู้เรียน มีผลตอ่ การเรยี นรทู้ ้ังสิน้ จึงต้องจดั สภาพแวดล้อม อุปกรณ์หรอื สอื่ ให้เอ้ือตอ่ การคดิ การสอน ใช้แบบผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง กจิ กรรมมีความสนกุ มีความหมายและกระตนุ้ การเรียนรู้ รายบุคคล ครูให้โอกาสผู้เรียนมี เวลาได้รบั ประสบการณ์จากการทำกิจกรรมท่ีใช้สมอง และเรียนรู้ เนือ้ หา ด้วยวธิ ีการสอนลักษณะน้ี ผู้เรียนจะสามารถ เพิม่ พูนความเข้าใจ เก็บประเดน็ สำคัญและเพม่ิ ศักยภาพในการนำความร้ไู ปใช้ นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning อีกหลายรปู แบบ เช่น การจัดการเรียนรู้ที่ เนน้ ทกั ษะกระบวนการคิด (Thinking based Learning) การจดั การเรียนรู้แบบ มอบงานให้ทำ (Teaching by Task) การจัดการเรียนรู้แบบจับคู่ (Reciprocal Teaching) การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งเป็นกลุ่มย่อย (Use of Small Group) การจัดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (The Individual study) การจัดการเรียนรู้โดยวิธีแนะแนวให้ค้นคว้า (Guide Discovery) การเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) การเรียนรกู้ ารบริการ (Service Learning) การเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry) การเรียนรู้ ด้วยการ ค้นพบ (Discovery Learning) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (Case study) การเรียนรู้จากการวิจัย (Research Based Learning) การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ (Integrative Learning) ฯลฯ การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning มขี ้อพึงระมดั ระวัง ดงั นี้ ๑. เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษา ท่ีเน้นการ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ (Constructivist) โดยทน่ี ักเรียนเป็นผสู้ ร้างความรจู้ ากข้อมูลทไี่ ดร้ ับมาใหม่ด้วยการนำไปประกอบ กบั ประสบการณส์ ่วนตัวท่ผี ่านมาในอดตี นอกจากนี้ยังมีมิติของกิจกรรมท่เี กี่ยวข้องอยู่ 2 มิติ ได้แก่ กิจกรรมด้านการรู้ คิด (Cognitive Activity) และกิจกรรมด้าน พฤติกรรม (Behavioral Activity) ผู้นำไปใช้อาจเข้าใจคลาดเคลื่อน ว่า การเรียนรู้แบบน้ี คือรูปแบบ ท่ีเน้นความตื่นตัวในกิจกรรมด้านพฤติกรรม (Behavioral Active) โดยเข้าใจว่าความ ตื่นตวั ใน กิจกรรมด้านพฤตกิ รรมจะทำใหเ้ กดิ ความตน่ื ตัวในกิจกรรมด้านการรู้คิด (Cognitively Active) ไปเอง จึงเป็น ที่มาของการประยุกต์ใช้ผิด ๆ ว่าให้ผู้สอนลดบทบาทความเป็นผู้ให้ความรู้ลง เป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและ บริหารจัดการหลักสูตร โดยปล่อยให้นักเรียนได้เรียนรู้เองอย่างอิสระจากการทำกิจกรรมและการแลกเปล่ียน ประสบการณก์ บั นักเรยี นดว้ ยกนั เอง ตามยถากรรม โดยนกั เรยี น ไม่ได้เรียนรู้ พัฒนามติ ดิ ้านการรคู้ ิด ๒. ความต่นื ตวั ในกจิ กรรมดา้ นพฤตกิ รรมอาจไม่กอ่ ให้เกดิ ความต่ืนตวั ในกจิ กรรมด้านการรคู้ ิดเสมอไป การที่ ผู้สอนให้ความสำคัญกับกิจกรรมด้านพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น การฝึกปฏิบัติและ การอภิปรายในกลุ่มของ นกั เรยี นเอง โดยไม่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมด้านการรู้คดิ เช่น การลำดับ ความคิดและการจัดองค์ความรู้ จะทำให้ ประสิทธิผลของการเรยี นรลู้ ดลง ๓. กรณีการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบที่ให้นักเรียนทำกิจกรรมและคน้ พบความร้ดู ้วยตนเองน้ี ไป ใช้กบั การพฒั นาการเรียนรู้ตามลำดับขน้ั การเรียนรู้ด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) จะเหมาะกับการพฒั นาในขั้น การทำความเข้าใจ การนำไปประยุกต์ใช้ และการวิเคราะห์ข้ึนไป มากกว่าขั้นให้ข้อมูลความรู้ เพราะเป็นการเสียเวลา มาก และไมบ่ รรลผุ ลเทา่ ทค่ี วร
๒๘ บทสรุป ในยุคของการปฏิรูปการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ครูผู้สอนจำเป็นต้องเรียนรู้เพ่ือท่ีจะปรับเปล่ียนวิธีการ จัดการเรยี นรู้ใหท้ ันสมัย ทันเหตุการณ์ และทันกับสภาพสังคมท่เี ปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ซ่ึงการจัดการเรียนการ สอนที่ดีมีหลากหลายวธิ ีการ ครูผูส้ อนสามารถเลือกนำไปใช้ได้ตามความเหมาะสม แต่ไมไ่ ดห้ มายความว่าวิธกี ารใดจะ เหมาะสมที่สุดหรือดีที่สุดเพียงวิธีเดียว อาจจะต้องใช้วิธีการสอนแบบผสมผสาน เน่ืองจากในช้ันเรียนจะมีผู้เรยี นที่มี ศักยภาพแตกต่างกัน การจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ การเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญน่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ท่ีครูผู้สอนต้องเตรียมจัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เลือกกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงให้มากท่ีสุด โดยเน้นการกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) มีการสร้างคำถามที่ ส่งเสรมิ กระบวนการคดิ โดยการซักถามหรอื ให้แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับปัญหาง่ายๆ ไปสปู่ ัญหาทยี่ ากข้ันตามลำดับ เพ่ือจะได้เป็นการฝึกให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์หาเหตุผล คิดแก้ปัญหา คิดเชิงบวก ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงานเป็นกลุ่ม (Group working) โดยมีการปรึกษาหารือกนั แบ่งงานกันทำ ประเมินผลร่วมกันและส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นยอมรบั ฟังความ คิดเห็นที่แตกต่าง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย บรรยาย อภิปราย และการเล่นเกมการศกึ ษา กจ็ ะชว่ ยให้ ผู้เรียนมีความสนุกสนาน ได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยมีกติกาที่ปลูกฝังการดำเนินชีวิตตามระบอบ ประชาธิปไตย การใช้ส่ือการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมจะช่วยให้ผู้เรียนสนใจ เข้าใจบทเรียน มากย่ิงขั้น โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงการไดเ้ ห็นได้สัมผัสของจริง ก็จะทำให้เกิดเรียนรู้ได้ดี นอกจากนี้การใช้สื่อคอมพิวเตอร์ วีดีทัศน์ ตา่ ง ๆ จะทำ ให้ผู้เรียนสนใจเรียน การให้รางวัล การชมเชยก็จะเป็นอีกแนวทางหน่ึงท่ีจะช่วยสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้เรียนมี ความสุขในการเรียนรูแ้ ละมีความมน่ั ใจใน ตนเอง รวมทั้งมีการประเมินผลตามสภาพจริง รายบคุ คลและรายกลุ่มด้วย เครื่องมือวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย หากครูผู้สอนเลือกใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพบริบท ศักยภาพผู้เรียน และสถานการณ์ในช้ันเรียนแล้ว ย่อมจะทำให้การสอนน้ันมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลกับ ผู้เรยี น
๒๙ จิตวิทยาการเรียนรู้ บทนำ ปจั จุบนั จิตวทิ ยาเปน็ วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Psychology) แขนงหนึง่ ทไี่ ด้รับ การยอมรับว่า มีความสำคัญและมีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านส่วนตัว ด้านครอบครัว การประกอบ อาชีพ รวมทั้งการอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งน้ีเนื่องจากวิชาจิตวิทยาจะมุ่งศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรม (behavior) ของบุคคลในแง่มุมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกับบุคคลนั้นได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทำให้ประสบความสำเรจ็ และดำเนิน ชวี ิตอย่ใู นสังคมอย่างมี ความสขุ ตามอตั ภาพของตน การจัดการเรียนรู้ให้ประสบผลสำเร็จ ครูผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหาบทเรียน หลักการจัดการ เรียนรู้ตามหลักวิชาการแลว้ ครูผสู้ อนยังต้องมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ จติ วทิ ยาการเรียนรู้ เนื่องจากครูผู้สอนต้อง ทำความเข้าใจกับผู้เรียนรายบุคคล ว่าผู้เรยี นมีลักษณะนิสัย ตามพัฒนาการทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพ สอดคล้องกับช่วงวัยหรือไม่ การศึกษาจิตวิทยาการเรียนรู้ จะช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทาง บุคลิกภาพบางประการของผู้เรียน ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อจะได้ช่วยผู้เรียนเป็น รายบุคคลให้ พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ช่วยให้ครูร้วู ิธีจดั สภาพแวดลอ้ มของห้องเรียนให้เหมาะสม แก่ วยั และพฒั นาการของผูเ้ รียน เพอ่ื จงู ใจให้นักเรยี นสนใจ ตง้ั ใจท่ีจะเรยี นรู้ แนวคิดเก่ียวกับการใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ สำหรับครูผู้สอน ประกอบด้วย สาระสำคัญ ดงั นี้ ความหมายของจิตวิทยาการเรยี นรู้ จิตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ท่ีว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวน ความคิด, และพฤติกรรมของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้ือหาที่นักจิตวิทยาศึกษา เช่น การรับรู้ (กระบวนการรบั ข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรมและรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จติ วิทยา ยังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรูก้ ับกิจกรรมใน ด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ท่เี กิดข้ึนในชีวิตประจำวัน (เช่น กจิ กรรมที่เกิดข้นึ ในครอบครัว,ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับ การรักษาปญั หาสขุ ภาพจิต นักจิตวทิ ยามีความพยายามท่ีจะศึกษาทำความเข้าใจถงึ หนา้ ท่ีหรือจุดประสงค์ ต่าง ๆ ของ พฤติกรรม ที่เกิดข้ึนจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดข้ึนในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบ ประสาทซ่งึ มผี ลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม จิตวทิ ยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาด้นคว้าเพ่ือนำขอ้ มูลความรู้มาเสนอ อธิบาย และเพ่ือควบคุม และเปล่ยี นแปลงพฤติกรรม ของมนุษย์และสัตว์ จิตวิทยามุ่งศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการของร่างกายกับจิตใจ ด้วยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ที่เป็นระเบียบแบบแผน เพราะร่างกาย และจิตใจ มักมีการแสดงออกร่วมกัน อีกทั้งยังแสดงออกใน แนวทางท่สี ามารถทำนายได้ ความสำคัญของจติ วทิ ยาการเรยี นรูส้ ำหรบั ครู จิตวิทยาการเรียนรู้เป็นศาสตร์ท่ีสำหรับครูผู้สอนควรศึกษา เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจใน ความแตกต่าง และความต้องการของผูเ้ รียน ท่ีมงุ่ สู่การหาแนวทางปรับเปล่ียนพฤติกรรมของผู้เรียน ให้อยใู่ นสภาวะอันพึงประสงค์ได้ โดยในลำดับแรกครผู สู้ อนควรศึกษา ความพร้อมของผเู้ รยี นในดา้ น รา่ งกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์ และดา้ นสติปญั ญา รวมท้ังการทำความเข้าใจหลักการสำคัญของการเรียนรู้ เพ่ือให้เข้าใจว่า ผู้เรียนควรจะมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่าง จริงจัง (Active Participation) ผู้เรียนควรจะได้เรียนรู้ทีละข้ันทีละตอนจากง่ายไปสูย่ ากและจากไม่ซับซ้อนไปสู่รูปที่ ซับซ้อน (Gradual approximation) ให้นักเรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับท่ีเหมาะสมและไม่เนิ่นนานจนเกินไป (Immediate feedback) และการเสริมแรง หรือใหก้ ำลงั ใจท่เี หมาะสม (Appropriate Reinforcement)
๓๐ นอกจากน้ีจะเห็นว่าการเป็นครูท่ีดีนนั้ จะต้องเป็นด้วยจิตวิญาณมคี วามเข้าใจหลักการสอน กระบวนการสอนตามหลัก วิชาการแล้ว ยังไม่พอครูจะต้องรู้เก่ียวกับจิตวิทยา เพราะครูทุกคนมีวิถีชีวิตอยู่กับคนแทบจะตลอดเวลาจึงจำเป็น จะต้องรู้ชีวติ จิตใจของมนษุ ยว์ ่าเขาเหล่าน้ัน มีความตอ้ งการอะไร ดงั คำกล่าวทีว่ ่าคนเป็นครูจะต้องรู้จิตวิทยา เพราะว่า จติ วิทยาช่วยครูได้ (สุรางค์ โคว้ ตระกูล. 2544. อา้ งถึงใน เขยี น วันทนยี ตระกูล. 2560) ดังนี้ ๑. ชว่ ยครใู ห้รูจ้ กั ลักษณะนิสยั (Characteristics) ของนกั เรียนท่ีครตู ้องสอนโดยทราบหลกั พัฒนาการ ทงั้ ทางร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ สังคม และบคุ ลกิ ภาพเปน็ สว่ นรวม ๒. ชว่ ยให้ครมู คี วามเขา้ ใจพัฒนาการทางบคุ ลกิ ภาพบางประการของนักเรยี น เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept) ว่าเกิดขน้ึ ได้อย่างไร และเรยี นรถู้ ึงบทบาทของครใู นการท่ีจะชว่ ย นักเรียนให้มีอตั มโนทัศน์ ทดี่ แี ละถกู ตอ้ งได้อย่างไร ๓. ช่วยครูให้มคี วามเขา้ ใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่อื จะไดช้ ว่ ยนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ให้พฒั นาตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล ๔. ชว่ ยให้ครูรู้วธิ ีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย และขั้นพัฒนาการของนักเรียน เพื่อจูง ใจใหน้ ักเรียนมคี วามสนใจและอยากจะเรยี นรู้ ๕. ช่วยให้ครทู ราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น แรงจูงใจ อัตมโนทัศน์ และ การตั้งความคาดหวังของครูทมี่ ีต่อนกั เรยี น การที่ครูผู้สอนมคี วามเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ จะทำใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรู้ ดงั นี้ ๑. ชว่ ยใหค้ รูเข้าใจธรรมชาติ ความเจริญเตบิ โตของเดก็ และสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ มาจดั การเรยี น การสอนได้อยา่ งเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ความตอ้ งการ ความสนใจ ของเด็กแต่ละวยั ๒. ชว่ ยใหค้ รูสามารถเตรยี มบทเรียน วธิ ีสอน จัดกจิ กรรม ตลอดจนใช้วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล การศึกษาไดส้ อดคล้องกับวัย ซ่งึ เปน็ การช่วยใหจ้ ดั การเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ ๓. ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้ความร่วมมือ และใหก้ ารยอมรับซง่ึ กันและกนั ๔. ชว่ ยสรา้ งสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างครู ผปู้ กครองและเดก็ ทำใหป้ กครองเด็กงา่ ยขน้ึ และสามารถทำงานกับ เด็กได้อยา่ งราบรืน่ ๕. ช่วยใหค้ รปู อ้ งกนั และหาทางแก้ไข ตลอดจนพัฒนาบคุ ลกิ ภาพของเดก็ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๖. ช่วยให้ผู้บริหารการศึกษาวางแนวทางการศึกษา จัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอนและ การบริหารงานได้ เหมาะสม ๗. ช่วยให้ผ้เู รยี นเขา้ กับสงั คมได้ดี ปรับตัวเขา้ กบั ผอู้ นื่ ได้ดี ขอบข่ายของจิตวิทยาการเรียนรู้สำหรับครู ๑. จิตวิทยาท่วั ไป (General Psychology) ศึกษาเก่ียวกับพฤตกิ รรมทว่ั ไปของมนุษย์ การรบั รู้ การเรียนรู้ อารมณ์ ความรู้สึก สติปัญญา ประสาทสัมผัส เป็นด้น จิตวิทยาสาขาพ้ืนฐานของการเรียน จิตวิทยาสาขาอืน่ ตอ่ ไป ๒. จิตวทิ ยาพฒั นาการ (Developmental Psychology) ศึกษาเกี่ยวกับลำดบั ขัน้ ตอน ของพฒั นาการ เจริญเติบโตในแตล่ ะวยั ต่างๆ ของมนุษย์ ต้ังแต่ปฏิสนธิจนถงึ วยั ชรา ๓. จติ วทิ ยาสังคม (Social Psychology) ศึกษาเกย่ี วกับบทบาทความสัมพันธ์และ พฤติกรรมของ บุคคลในกล่มุ สังคม ปฏกิ ริ ิยาตอบสนองของบุคคลท่ีอย่รู ่วมกนั เจตคติและความคิดเหน็ ของกลุ่มชน 4 .จิตวิทยาการทดลอง (ExperimentalPsychology) ศึกษาเกี่ยวกับระบบประสาทและ พฤติกรรมของ มนษุ ยแ์ ละสัตว์ในหอ้ งทดลอง ๕. จติ วิทยาการแนะแนว (Guidance Psychology) นักจติ วิทยาแนะแนวทำหน้าที่ให้ คำแนะนำ
๓๑ ให้แนวทาง และให้คำปรึกษาสถานศึกษากับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้ความช่วยเหลือ ผู้มีปัญหาด้านการ ปรับตัว ปญั หาการเรียน และปญั หาส่วนตัวอนื่ ๆ ๖. จติ วิทยาคลนิ กิ (Clinical Psychology) นักจติ วิทยาคลนิ กิ ทำงานในโรงพยาบาลท่ีมี คนไขโ้ รคจติ สถาบันเล้ยี งเด็กปัญญาออ่ น หรอื อาจเปิดเป็นคลินกิ สว่ นตวั ก็ได้ ๗. จติ วิทยาประยุกต์ (Applied Psychology) เป็นการนำหลกั การทางจิตวทิ ยามาใช้ ประโยชน์ ในสาขาวชิ าชพี ตา่ งๆ เช่น ธุรกจิ อตุ สาหกรรม การแพทย์ การทหาร เป็นด้น ๘. จติ วทิ ยาอตุ สาหกรรม (Industrial Psychology) ศกึ ษาเกี่ยวกับประสิทธภิ าพใน การทำงาน ผลกระทบของส่งิ แวดลอ้ มท่มี ตี ่อการทำงาน แรงจงู ใจในการทำงาน การคัดเลือกคนงาน การประเมินผลงาน ๙. จติ วทิ ยาการศกึ ษา (Educational Psychology) ศึกษาส่ิงที่เก่ียวกบั งานดา้ นการเรียน การสอน การเรยี นรขู้ องผู้เรียนเป็นวิชาที่สำคญั สำหรบั ครแู ละนักการศกึ ษา ๑๐. จติ วิทยาการทดลอง (Experimental Psychology) มีการศึกษาโดยการทดลองกบั มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ทงั้ ในสภาพแวดล้อมท่วั ไปและในห้องปฏบิ ัติการ วธิ กี ารศึกษาสว่ นใหญใ่ ช้การสังเกต แนวคดิ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั จติ วิทยาการเรียนรู้ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ทฤษฎีการเช่ือมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s Classical Connectionism) ธอร์นไดค์ (ค.ศ. 1814 - 1949) เชื่อว่าการเรยี นรู้เกดิ จากการเช่ือมโยงระหว่างสงิ่ เรา้ กับการตอบสนอง ซ่ึงมีหลายรูปแบบบุคคลจะมีการลอง ผิดลองถกู (trial and error) ปรบั เปลีย่ นไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบ รปู แบบการตอบสนองทส่ี ามารถให้ผลท่ี พงึ พอใจมากทส่ี ดุ เมอื่ เกดิ การเรียนรู้แล้ว บคุ คลจะใชร้ ูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพยี งรปู แบบเดียว และ จะพยายามใชร้ ปู แบบนน้ั เชอื่ มโยงกบั ส่ิงเร้าใน การเรยี นรตู้ อ่ ไปเรอื่ ย ๆ ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบอตั โนมัต(ิ Classical conditioning) ของพาฟลอฟ พาฟลอฟ (Pavlov) ได้ทำการ ทดลองใหส้ นุ ัขนำ้ ลายไหลดว้ ยเสียงกระด่ิง การเรยี นรู้ของสุนขั เกดิ จากการรู้จัก เช่อื มโยงระหว่างเสยี งกระดง่ิ ผงเน้ือบด และพฤติกรรมน้ำลายไหล ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวตั สัน(Watson) วัตสัน(Watson) ได้ทำการทดลองโดยให้เด็กคน หนึ่งเล่นกับหนู ขาว ก็ทำเสียงดังจนเด็กตกใจรอ้ งไห้ หลงั จากน้นั เด็กก็จะกลัวและร้องไห้เมือ่ เห็นหนูขาว ตอ่ มาทดลองให้นำหนูขาวมา ให้เดก็ ดูโดยแม่จะกอดเดก็ ไว้จากน้ันเด็กกจ็ ะคอ่ ยๆหายกลัวหนขู าว ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเน่ือง(Contiguous Conditioning) ของกัทธรีกัทธรีได้ทำการ ทดลองโดย ปล่อยแมวที่หิวจดั เข้าไปในกลอ่ งปญั หา มีเสาเล็กๆตรงกลาง มีกระจกที่ประตูทางออก มปี ลาแซลมอนวางไว้นอกกล่อง เสาในกลอ่ งเปน็ กลไกเปดิ ประตู แมวบางตัวใช้แบบแผนการกระทำ หลายแบบเพอ่ื จะออกจากกล่อง แมวบางตวั ใชว้ ธิ เี ดียว ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอรแ์ รนต์ (Operant Conditioning) ของสกินเนอร์ (Skinner) สกินเนอร์ (Skinner) ได้ทำการทดลองโดยนำหนูที่หิวจัดใส่กล่อง ภายในมีคานบังคับให้ อาหารตกลงไปในกล่องได้ ตอนแรกหนจู ะวิง่ ชนโน่นชนนี่ เมอ่ื ชนคานจะมีอาหารตกมาให้กิน ทำหลายๆคร้ังพบว่า หนูจะกดคานทำให้อาหารตก ลงไปไดเ้ ร็วขึน้ ทฤษฎีการเรียนร้ขู องฮลั ล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory) ฮลั ล์ (Hull) ได้ทำการทดลองโดยฝึกหนูให้กดคาน โดยแบ่งหนเู ปน็ กลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่ม อดอาหาร 24 ช่วั โมง และแต่ละกลุ่มมแี บบแผนในการเสริมแรงแบบตายตัวต่างกัน บางกลุ่มกด คาน 5 ครั้ง จึงได้อาหารไปจนถึงกลุ่มที่กด
๓๒ 90 ครง้ั จึงไดอ้ าหารและอีกพวกหนึ่งทดลองแบบเดยี วกนั แตอ่ ดอาหารเพียง ๓ ชว่ั โมง ผลปรากฏวา่ ย่ิงอดอาหารมาก คอื มแี รงขับมาก จะมผี ลใหเ้ กิด การเปล่ียนแปลงความเข้มของนิสัย กล่าวคอื จะทำให้การเชอื่ มโยงระหว่างอวัยวะรับ สัมผัส (receptor) กับอวัยวะแสดงออก(effector) เข้มแข็งขึ้น ดงั นัน้ เมอ่ื หนูหวิ มากจงึ มีพฤติกรรมกดคานเร็วข้ึน สรุป ทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ลุ่มพฤตกิ รรมนยิ ม คือ มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะท่ีเป็นกลาง คอื ไม่ดี - ไม่เลว การกระทำ ต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์ เกิดจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้า (stimulus response) การเรยี นรเู้ กดิ จากการเชื่อมโยงระหว่างสง่ิ เรา้ และการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนยิ มให้ความ สนใจกบั พฤติกรรมมากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งทเี่ ห็นได้ซดั สามารถวัดและทดสอบได้มที ฤษฎีท่สี ำคัญอยู่ 3 กลมุ่ คือ - ทฤษฎกี ารเช่ือมโยงของธอรน์ ไดค์ (Thorndike’s Classical Connectionism) - ทฤษฎกี ารวางเงือนไข(Conditioning Theory) ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮลั ล์(Hull’s Systematic Behavior Theory) กลุ่มจติ วเิ คราะห์ (Psychoanalysis) กลุ่มจิตวิทยากลุ่มน้ีเน้นความสำคัญของ “จิตไร้สำนึก”(uncoscious mind) ว่า มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรม กล่มุ น้ีจดั เป็นกลมุ่ “พลงั ที่หน่งึ ’’(The first force) ท่แี หวกวงล้อมจากจิตวิทยายคุ เดิม นกั จติ วิทยาในกลุ่มจิตวิเคราะห์ ที่มีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักกันท่ัวไป ได้แก่ ฟรอยด์(Sigmund Freud,1856- 1939) และส่วนใหญ่แนวคิดในกลุ่มจิต วิเคราะห์นเี้ ปน็ ของฟรอยด์ซ่ึงเป็นจิตแพทย์ ชาวออสเตรีย เป็นผทู้ ี่สร้างทฤษฏีจติ วิเคราะห์(Psychoanalytic Theory) ซ่งึ เป็นทฤษฏีทางด้านการพัฒนา Psychosexual โดยเชื่อว่าเพศหรือกามารมณ์(sex)เป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพลตอ่ การพัฒนา ของมนุษย์ แนวคิดดังกล่าวเกดิ จากการสนใจศึกษาและสังเกตผู้ป่วยโรคประสาท ด้วยการให้ผู้ป่วยนอนบนเก้าอี้ นอน ในอิริยาบถท่ีสบายท่ีสุด จากนั้นให้ผู้ป่วยเล่าเร่ืองราวของตนเองไปเร่ือยๆ ผู้รักษาจะนั่งอยู่ด้านศีรษะของผู้ป่วย คอย กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้พูดเล่าต่อไปเรื่อยๆเท่าท่ีจำได้ และคอยบันทึกส่ิงท่ีผู้ป่วยเล่าอย่างละเอียด โดยไม่มีการขัดจังหวะ แสดงความคิดเหน็ หรือตำหนผิ ู้ป่วย ซ่ึงพบว่าการกระทำ ดงั กลา่ วเปน็ วิธีการท่ีช่วยใหผ้ ู้รักษาได้ข้อมูลท่ีอยู่ในจิตใต้สำนึก ของผู้ป่วย และจากการรักษาด้วยวิธีนี้ จึงทำให้ ฟรอยด์เป็นคนแรกที่สร้างทฤษฏีจิตวิเคราะห์ เขาอธิบายว่า จิตของ คนเรามี 3 ส่วน คือ จติ สำนึก(conscious mind)จิตกึงรูส้ ำนกึ (preconscious mind)และจิตไร้สำนึก (unconscious mind) ซึ่งมีลักษณะดังน้ี เช่ือว่าพฤติกรรมของมนุษย์ส่วนมากกำหนดขึ้นโดยสัญชาตญาณ ซึ่งมีมาตั้งแต่กำเนิด สญั ชาตญาณเหล่านี้ส่วนมากจะอยู่ในระดับจิตไร้สำนึก เขาเช่ือว่าการทำงานของจิต แบ่งเป็น 3 ระดับ เปรียบเสมือน ก้อนนำ้ แขง็ ลอยอยใู่ นทะเล คอื ๑. จิตรูส้ ำนึก (Conscious mind) เป็นส่วนท่ีโผล่ผิวน้ำขนึ้ มา ซ่ึงมจี ำนวนน้อยมาก เปน็ สภาพที่รู้ตวั วา่ คือใคร อยู่ที่ไหน ต้องการอะไร หรือกำลังรู้สึกอย่างไรต่อสิ่งใด เมื่อแสดงพฤติกรรม อะไรออกไปก็แสดง ออกไปตามหลักเหตุและผล แสดงตามแรงผลักดันจากภายนอก สอดคล้องกับหลักแห่งความเป็นจริง (principle of reality) ๒. จติ กง่ึ รูส้ ำนึก (Preconscious mind) เป็นสว่ นท่ีอย่ใู กล้ๆผวิ นำ้ เป็นจติ ท่เี ก็บสะสมข้อมูล ประสบการณ์ไว้มากมาย มิได้รู้ตัวในขณะน้ันแต่พร้อมให้ดึงออกมาใช้ พร้อมเข้ามา อยู่ในระดับ จิตสำนึก เช่น เดินสวนกับคนรู้จัก เดินผ่านเลยมาแล้วนึกขึ้นได้รีบกลับไปทักทายใหม่ เป็นต้น และอาจถือได้ว่าประสบการณ์ ตา่ งๆทเ่ี ก็บไว้ในรปู ของความจำก็เปน็ ส่วนของจติ กงึ่ รู้สำนึกดว้ ย เช่น ความขมข่ืนในอดีต ถ้าไม่คิดถงึ ก็ไมร่ ู้สึกอะไร แต่ ถา้ น่งั ทบทวนเหตกุ ารณท์ ีไรก็ทำใหเ้ ศร้าไดท้ กุ ครงั้ เป็นต้น ๓. จติ ไร้สำนกึ (Unconscious mind) เป็นสว่ นใหญข่ องก้อนนำ้ แขง็ ทอ่ี ยู่ใต้นำ้ ฟรอยดเ์ ชือ่ ว่าจติ ส่วนนี้ มีอิทธิพลมากต่อพฤติกรรมของมนุษย์ กระบวนการจิตไร้สำนึกน้ี หมายถึง ความคิด ความกลัว และความ ปรารถนาของมนุษย์ ซ่ึงผู้เป็นเจา้ ของเก็บกดไว้โดยไม่รู้ตัวแต่มีอทิ ธิพลต่อเขา พลังของจิตไร้สำนกึ อาจจะปรากฏขึ้นใน รปู ของความฝนื การพลั้งปากหรอื การแสดงออกมาเป็นกิริยาอาการท่บี ุคคลทำโดยไม่รู้ตัว เปน็ ต้น ฟรอยด์ เช่ือว่า มนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่กำเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจาก แรงจูงใจหรือ แรงขับพนื้ ฐานทก่ี ระตุ้นใหบ้ ุคคลมพี ฤตกิ รรม คือ สญั ชาตญาณทางเพศ (sexual instinct) 2 ลกั ษณะคอื
๓๓ ๑. สญั ชาตญาณเพือ่ การดำรงชีวติ (eras = life instinct) ๒. สญั ชาตญาณเพอ่ื ความตาย (thanatos = death instinct) โครงสร้างบุคลิกภาพ (The personality structure) ฟรอยด์ เชื่อว่าโครงสร้างบุคลิกภาพ ของบุคคลมี 3 ประการ คือ ๑. ตนเบอ้ื งต้น (id) คอื ตนท่ีอยู่ในจติ ไร้สำนึก เปน็ พลงั ที่ติดตวั มาแตก่ ำเนดิ มุง่ แสวงหา ความพึงพอใจ (pleasure seeking principles) และเปน็ ไปเพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเอง เทา่ นัน้ โดยไม่คำนงึ ถึง เหตุผล ความถูกต้อง และความเหมาะสม ประกอบด้วย ความต้องการทางเพศ และความก้าวร้าว เป็นโครงสร้าง เบอื้ งตน้ ของจติ ใจ และเป็นพลงั ผลักดนั ให้ ego ทำในส่ิงตา่ งๆ ตามท่ี id ต้องการ ๒. ตนปัจจุบัน (ego) คือ พลงั แห่งการใช้หลกั ของเหตุและผลตามความเป็นจรงิ (reality principled) เป็นส่วนของความคิดและสตปิ ัญญา ตนปัจจบุ ัน จะอยู่ในโครงสรา้ งของจติ ใจท้งั 3 ระดบั ๓. ตนในคณุ ธรรม (superego) คอื ส่วนทคี่ วบคมุ การแสดงออกของบุคคลในด้านคุณธรรม ความดี ความชัว่ ความถูกผดิ มโนธรรม และจริยธรรมทส่ี ร้างโดยจติ ใต้สำนกึ ของบคุ คลนั้น ซง่ึ เป็นผลท่ไี ดร้ ับจากการ เรียนรู้ในสงั คมและวัฒนธรรมนน้ั ๆ โดยจะทำงานอย่ใู นโครงสร้างของจติ ใจทงั้ 3 ระดบั การทำงานของตนท้ัง 3 ประการ จะพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลให้เด่นไปด้านใดด้านหน่ึง ของทั้ง 3 ประการน้ี แต่บุคลิกภาพที่พึงประสงค์ คือ การท่บี ุคคลสามารถใชพ้ ลังอโี ก้เป็นตวั ควบคมุ พลังอดิ และซเู ปอร์อีโก้ให้อยู่ ในภาวะทสี่ มดลุ ได้นอกจากน้ฟี รอยด์ ใช้วิธกี ารวเิ คราะหค์ วามฝนั ของผมู้ ปี ญั หาเขาเชื่อวา่ ความฝัน มีความสัมพันธ์กับส่ิงที่ได้ประสบมาในชีวิตจริงปัญหาต่างๆที่แก้ไม่ได้ อาจจะไปแสดงออกในความฝัน เพื่อ เป็นการระบายออกของพฤตกิ รรมอกี ทางหนึ่ง กลุ่มเกสตัลท์(Gestalt Psychology) นกั จติ วิทยาคนสำคัญกลุ่มนี้ได้แก่ Max Werthimer,Kurt Koffka และ Wolfgang Kohler ทั้งหมดเป็นชาว เยอรมันเชอ้ื สายยวิ กลุ่มนเี้ ช่อื วา่ มนษุ ย์ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งหน่วยรับส่ิงเร้าท่ีอยนู่ ึ่งเฉย เทา่ นั้น แต่จติ มีการสร้างกระบวนการ ประมวลข้อมูลท่ีรับเข้ามาและส่งผลออกไปเป็นข้อมูลใหม่หรือ สารสนเทศชนิดใหม่นักจิตวิทยากลุ่มน้ีไม่เห็นด้วยกับ แนวคิดของกลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม กลมุ่ น้ีเน้น อธบิ ายว่า การเรียนรู้เกิดจากการรบั รเู้ ป็นสว่ นรวมมากกว่าสว่ นย่อยรวมกัน เพราะคนเราจะรบั รสู้ ่ิง ตา่ ง ๆ ในลกั ษณะรวมๆได้ดีกว่ารบั รู้สว่ นปลีกย่อย กลุ่มน้ีเห็นวา่ การเรียนรู้จะเกดิ ข้ึน เมอ่ื มีการ รบั รู้ เป็นสว่ นรวมมากกวา่ ส่วนยอ่ ยรวมกัน มนุษย์จะรับในส่งิ ทต่ี นเองสนใจเท่าน้ัน สิง่ ใดทสี่ นใจรับรู้จะเป็นภาพ สงิ่ ใดท่ี ไม่ได้สนใจรับรจู้ ะเป็นพ้ืน ดังเช่น รูปภาพข้างบนถ้าสนใจมองท่ีสีขาว เราจะมองเห็นเป็นแก้ว แต่ถ้าเราสนใจมองสีดำ เราจะเห็นเปน็ รูปคนสองคนกำลงั หันหนา้ เข้าหากนั คำว่า เกสตลั ท์(Gestalt) เป็นภาษาเยอรมนั ความหมายเดิมแปลว่า แบบหรือรูปร่าง (Gestalt = form or Pattern) ต่อมาปัจจุบัน แปลว่า ส่วนรวมหรือส่วนประกอบท้ังหมด (Gestalt =The wholeness) กลุ่มเกสตัลท์ มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เกิดจากการจัดสิ่งเร้าต่างมารวมกันเรมิ่ ต้นดว้ ย การรับรโู้ ดยส่วนรวมก่อนแล้ว จึง จะสามารถวิเคราะห์เร่ืองการเรียนรสู้ ่วนยอ่ ยทลี ะส่วนตอ่ ไปต่อมา เลวิน ได้นำเอาทฤษฏเี กสตลั ท์มาปรบั ปรุงเป็นทฤษฏี สนาม (Field theory) โดยนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ และฟิสกิ สม์ าอธบิ ายทฤษฏีของเขาแตก่ ็ยังคงใช้หลักการเดียวกัน นั้นคือการเรียนรู้ของบุคคลจะเป็น ไปได้ด้วยดีและสร้างสรรค์ถ้าเขาได้มีโอกาสเห็นภาพรวมทั้งหมดของสิ่งที่จะเรียน เสยี ก่อน เมอ่ื เกิดภาพรวมทง้ั หมดแล้วก็เปน็ การง่ายท่บี ุคคลน้นั จะเรียนสงิ่ ที่ละเอยี ดปลกี ย่อยต่อไป ปัจจุบนั ได้มีผ้นู ำเอา วิธีการเรียนรู้ของกลมุ่ เกสตัลท์มาใช้อย่างกว้างขวางโดยเหตุที่เขา เชื่อในผลการศึกษาด้นคว้าท่ีพบว่า ถ้าให้เยาวชนได้ เรียนรูโ้ ดยหลกั ของเกสตลั ท์แล้ว เขาเหล่าน้นั จะมสี ติปญั ญา ความคดิ สรา้ งสรรค์และความรวดเร็วในการเรียนรู้เพ่ิมขน้ึ กลุ่มเกสตัลท์ เชือ่ ว่า การเรยี นรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าสว่ นย่อยน้ัน จะต้องเกิดจากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ ย่อมเกิดขนึ้ 2 ลักษณะ คือ ๑. การรบั รู้ (Perception) การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายหรือการตีความต่อส่ิงเรา้ ของอวัยวะ
๓๔ รับสัมผัสส่วนใดส่วนหน่ึงหรือทั้งห้าส่วน ได้แก่ หู ตา จมูก ล้ิน และผิวหนัง การตีความน้ีมักอาศัย ประสบการณ์เดมิ ดังนน้ั แต่ละคนอาจรับรู้ในสงิ่ เรา้ เดียวกันแตกตา่ งกันได้ แลว้ แต่ ประสบการณ์ เชน่ นางสาว ก. เห็นสี แดงแล้วนึกถงึ เลือด แตน่ างสาว ข.เหน็ สีแดงอาจนกึ ถงึ ดอกกหุ ลาบสีแดงก็ได้ ๒. การหยั่งเห็น (Insight) การหย่ังเห็น หมายถงึ การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองโดยจะเกดิ แนวความคิดในการ เรยี นรู้หรือการแก้ปญั หาขึน้ อย่างฉบั พลันทนั ทที ันใด (เกิดความคิดแวบข้ึนมาในสมองทันที)มองเห็นแนวทาง การแก้ปัญหาต้ังแต่จุดเริ่มตน้ เปน็ ขัน้ ตอนจนถึงจดุ สดุ ทา้ ยท่สี ามารถจะแก้ปัญหาได้ เช่น การรอ้ งออกมาวา่ ยูเรกา้ ของ อาร์คีเมดิสเพราะเกิดการหย่ังเหน็ (Insight) ในการแก้ปัญหาการหาปริมาตรของมงกุฎทองคำด้วยวธิ ีการแทนท่ีนำ้ ว่า ปรมิ าตรของมงกุฎท่จี มอยู่ในนํา้ จะเทา่ กบั ปริมาตรของน้ําทีล่ น้ ออกมา แล้วใช้วิธีการน้ีหาปริมาตรของวัตถุท่ีมรี ูปทรงไม่ เป็นเรขาคณติ มาจนถงึ บัดน้ี การเรยี นรขู้ องกลุม่ เกสตลั ท์ที่เนน้ “การรับรเู้ ป็นส่วนรวมมากกว่าส่วนยอ่ ย”น้ัน ได้สรปุ เป็นกฎการเรียนรขู้ องท้งั กลุม่ 4 กฎ เรยี กว่า กฎการจัดระเบยี บเขา้ ด้วยกนั (The Laws of Organization) ดังน้ี ๑. กฎแห่งความแน่นอนหรอื ชดั เจน (Law of Pregnant) ๒. กฎแหง่ ความคลา้ ยคลึง (Law of Similarity) ๓. กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) ๔. กฎแหง่ การส้นิ สดุ (Law of Closure) โดยกำหนด Figure และ Background แต่ในทน่ี ี้ขอเสนอพอสงั เขป ดังน้ี แนวความคดิ ของนกั จิตวทิ ยากลุ่มนี้ คอื การพิจารณาพฤติกรรมหรอื ประสบการณ์ของคน เปน็ ส่วนรวม ซง่ึ ส่วนรวมนั้น มคี า่ มากกว่าผลบวกของสว่ นย่อยตา่ งๆ มารวมกัน เชน่ คนนน้ั มีคา่ มากกว่าผลบวกของส่วนยอ่ ยตา่ งๆมารวมตัวกนั เป็น คน ได้แก่ แขน ขา ลำตัว สมองฯลฯ จิตวิทยากล่มุ เกสตัลท์นิยม จงึ หมายถึง จิตวทิ ยาท่ียึดถือเอาส่วนรวมท้ังหมดเป็น สำคญั นักจิตวิทยากลมุ่ นี้ยังมีความเหน็ อีกว่า การศึกษาทางจิตวิทยานั้นจะต้องศึกษาพฤติกรรมทางจิตเปน็ สว่ นรวมจะ แยกศึกษาที่ละส่วนไม่ได้ กลุ่ม GESTALISM เห็นว่าวิธีการของ BEHAVIORISM ท่ีพยายามจะแยกพฤติกรรมออกมา เป็นหน่วยย่อย เช่น เป็นสิ่งเร้าและการตอบสนองนั้นเป็นวิธีการไม่ใช่เร่ืองของจิตวิทยา น่าจะเป็นเรื่องของเคมีหรือ ศาสตรบ์ ริสุทธ์ิแขนงอื่นๆ ดังนน้ั กลุ่ม GESTALISM จึงไมพ่ ยายาม แยกพฤติกรรมออกเปน็ ส่วนๆ แลว้ ศึกษารายละเอยี ด ของแต่ละส่วนเหมือนกล่มุ อ่ืนๆ แต่ตรงกันข้าม จะพจิ ารณาพฤติกรรมหรือการกระทำของมนุษยท์ ุกๆอย่างเป็นส่วนรวม เน้นในเรือ่ งสว่ นรวม (WHOLE) มากกว่าสว่ นยอ่ ย เพ่งเล็งถึงส่วนทั้งหมดในลักษณะทเี่ ปน็ อันหนง่ึ อันเดียวกัน(UNIQUE) กลุ่มมนษุ ยนยิ ม(Humanistic Perspective) แนวคิดกลุ่มมนุษย์นิยม(The Humanistic Perspective) เช่ือว่า มนุษย์มีอิสระทางความคิดท่ีสามารถเลือกแสดง พฤติกรรมได้ การแสดงพฤติกรรมใด ๆ จึงเป็นทางเลือกของบุคคล ซึ่งทุกคนมีศักยภาพในการเจริญ งอกงาม หรือ พัฒนานักจติ วทิ ยากลุ่มน้ีไดแ้ ก่ มาสโลว์(Abraham Maslow)และคารล์ โรเจอส์ (Carl Rogers) มาสโลว์ (Maslow) กลา่ วถึง ทฤษฏลี ำดับขั้นความตอ้ งการไว้ 5 ข้นั ตอน ดังน้ี ๑. ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) เปน็ ความตอ้ งการข้นั พน้ื ฐานของ มนุษย์เปน็ สิ่ง ทจี่ ำเป็นในการดำรงชีวิต ได้แก่ อาหาร อากาศ ที่อย่อู าศัย เคร่ืองนุง่ หม่ ยารกั ษาโรค ความต้องการพักผ่อน และความต้องการทางเพศ เป็นต้น ๒. ความตอ้ งการความมน่ั คงและปลอดภยั (Safety Needs and Needs for Security) ถา้ ตอ้ งการ ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตท้ังในปัจจบุ ันและอนาคต ต้องการความเป็นธรรมในการทำงาน ความปลอดภัย ในเงนิ เดือนและการถูกไลอ่ อก สวัสดิการด้านทอ่ี ยอู่ าศัย และการรักษาพยาบาล รวมท้ังความเช่ือในศาสนาและเชื่อมั่น ในปรัชญา ซง่ึ จะช่วยให้บคุ คลอยู่ในโลกของความเชื่อของตนเองและรูส้ กึ มีความปลอดภยั ๓. ความต้องการมีส่วนร่วมในสงั คม (Social Belonging Needs) เม่อื ความต้องการ ทางดา้ นรา่ งกาย และความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการทางด้านสังคมก็จะเริ่มเป็น สิ่งจูงใจที่สำคัญต่อ พฤติกรรมของบุคคล เป็นความต้องการท่ีจะให้สังคมยอมรับตนเป็นสมาชิก ต้องการได้รับการยอมรับจากคนอื่นๆ
๓๕ ไดร้ ับความเป็นมิตรและความรักจากเพอ่ื นรว่ มงาน ๔. ความต้องการยกยอ่ งนบั ถอื (Esteem Needs) ความต้องการด้านนี้ เปน็ ความตอ้ งการ ระดับสงู ท่ี เก่ียวกับความอยากเด่นในสงั คม ตอ้ งการให้บุคคลอ่ืนยกย่องสรรเสริญ รวมถงึ ความเช่ือมัน่ ในตนเองในเร่อื ง ความรคู้ วามสามารถ ความเป็นอิสระ และเสรภี าพ ๕. ความต้องการบรรลใุ นสิง่ ทตี่ ั้งใจ (Need for Self Actualization) เป็นความตอ้ งการ ระดับสูงสดุ ซ่ึง เป็นความต้องการที่อยากจะให้เกิดความสำเร็จในทุกสิ่งทุกอย่างตามความนึกคิดของตนเอง เป็นความ ตอ้ งการท่ยี ากแกก่ ารได้มา ๑.) มนุษยท์ กุ คนมคี วามตอ้ งการ ความตอ้ งการทีม่ นุษยน์ ี้จะอยูใ่ นตวั มนษุ ยต์ ลอดไป ไม่มที ี่สน้ิ สุด เม่อื สนใจในความต้องการหนึง่ แล้ว กย็ ังต้องการในระดับท่สี งู ขนึ้ ๒.)อิทธิพลใดๆ ที่จะมีผลต่อความตอ้ งการของมนษุ ยอ์ ยใู่ นความต้องการลำดบั ขั้นน้ันๆ เท่าน้ัน หาก ความต้องการลำดับขั้นน้ันไดร้ บั การสนองให้พอใจแล้วความตอ้ งการนน้ั ก็จะหมดอทิ ธพิ ลไป ๓.)ความต้องการของมนุษย์จะมีลำดับข้ันจากต่ำไปหาสงู เมื่อความต้องการขั้นตํ่าไดร้ ับการตอบสนอง เปน็ ทีพ่ อใจแล้ว ความตอ้ งการลำดบั สงู ขึน้ ไปกต็ ามมา คาร์ล โรเจอร์ส (CarlRogers) มีความเห็นว่า ธรรมชาติของมนุษย์เป็นส่ิงท่ีดีและมีความสำคัญมาก โดยมี ความพยายามที่จะพัฒนาร่างกายให้มีความเจริญเติบโตอย่างมีศักยภาพสูงสุด โรเจอร์สต้ังทฤษฏีขึ้นมาจากการศึกษา ปัญหาพฤติกรรมของคนไข้จากคลนิ ิกของเขา และได้ให้ความสนใจเกี่ยวกบั บุคลิกภาพท่ีเกิดจากสุขภาพเปน็ อย่างมาก ทฤษฏีของโรเจอร์ เน้นถึงเกียรติของบุคคล ซ่ึงบุคคลมีความสามารถที่จะทำการปรับปรุงชีวิตของตนเองเม่ือมีโอกาส เข้ามามิใช่จะเป็นเพียงแต่เหยอ่ื ในขณะท่ีมีประสบการณ์ในสมัยท่ีเป็นเด็กหรือจากแรงขบั ของจติ ใต้สำนึก แต่ละบุคคล จะรจู้ กั การสังเกตสิ่งแวดลอ้ มทอี่ ยรู่ อบตัวเรา โดยมแี นวทางเฉพาะของบคุ คล กล่าวไดว้ า่ เป็นการรับรู้สภาพสิง่ แวดล้อม ซง่ึ มีความสำคัญมาก โรเจอรเ์ ชอ่ื ว่า มนษุ ยท์ ุกคนมตี ัวตน 3 แบบ ๑. ตนท่ีตนมองเห็น (Self Concept) ภาพท่ตี นเหน็ เองวา่ ตนเปน็ อย่างไร มคี วามรู้ ความสามารถ ลักษณะเฉพาะตนอย่างไร เช่น สวย รวย เก่ง ตํ่าด้อย ขี้อายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไม่ตรงกับข้อเท็จจริง หรือภาพท่คี นอ่นื เหน็ ๒. ตนตามที่เป็นจริง (Real Self) ตัวตนตามขอ้ เทจ็ จรงิ แต่บ่อยครัง้ ท่ตี นมองไมเ่ หน็ ขอ้ เทจ็ จริง เพราะ อาจเป็นสิ่งท่ีทำให้รสู้ ึกเสียใจ ไม่เทา่ เทยี มกบั บุคคลอ่ืน เป็นต้น ๓. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนทีอ่ ยากมีอยากเปน็ แต่ยังไม่มี ไม่เป็นในสภาวะ ปัจจุบัน เช่น ชอบเก็บตัวแต่อยากเกง่ เขา้ สงั คมเป็นต้น ถ้าตัวตนท้ัง 3 ลักษณะ ค่อนข้างตรงกันมากจะทำให้มีบุคลิกภาพมั่นคง แต่ถ้าแตกต่างกันสูง จะมีความ สบั สนและออ่ นแอดา้ นบุคลกิ ภาพ โรเจอร์ วางหลักไว้ว่า บุคคลถูกกระตุ้นโดยความต้องการสำหรับการยอมรับนับถือทางบวก น่ันคือความ ต้องการความรัก การยอมรับและความมีคุณค่า บุคคลเกิดมาพร้อมกับความต้องการ การยอมรับนับถือในทางบวก และจะได้รับการยอมรับนับถือโดยอาศัยการศึกษาจากการดำเนนิ ชีวิตตามมาตรฐานของบุคคลอื่น ทฤษฏีของโรเจอร์ กล่าวว่า “ตนเอง”(Self) คือ การรวมกนั ของรูปแบบ คา่ นยิ ม เจตคติ การรบั รู้ และความรู้สกึ ซ่ึงแต่ ละบุคคลมีอยู่และเช่ือว่า เป็นลักษณะเฉพาะของเขาเอง ตนเอง หมายถึง ฉัน และตัวฉันเป็นศูนย์กลางที่รวม ประสบการณ์ท้ังหมดของแต่ละบุคคล ภาพพจน์นี้เกิดจาก การที่แต่ละบุคคลมีการเรียนรู้ต้ังแต่วัยเริ่มแรกชีวิต ภาพพจน์นน่ั เอง สำหรับบุคคลท่มี กี ารปรบั ตวั ดีก็ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างคงที่ และมีการปรับตัวตามประสบการณท์ ่ี แต่ละคนมีอยู่การสังเกตและ การรับรู้ เป็นเร่ืองของตนเองท่ีปรับให้เข้ากับสภาพส่ิงแวดล้อมในการทำงาน เช่น พนักงานบางคนมีการตอบสนองอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตอ่ สภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงานและการเปน็ ผนู้ ำ กลุ่มปญั ญานยิ ม(Cognitive Psychology)
๓๖ ผู้นำกลุ่มคนสำคัญ คือ เพียเจต์ บรูเนอร์ และวายเนอร์ หลังปี ค.ศ.1960 กลุ่มแนวคิดปัญญานิยมได้รับ ความสนใจอย่างมากแนวคิดกลุ่มปัญญานิยม สนใจศึกษาเรื่องกระบวนการทางจิต ซึ่งเป็น พฤติกรรมภายในท่ีไม่ สามารถสังเกตได้โดยตรง ได้แก่ การรับรู้ การจำ การคิด และความเข้าใจ เช่น ขณะท่ีเราอ่านหนังสือเราจะทราบ ความสำคัญของข้อความ คำต่าง ๆ เนื้อหาของเรื่องมากกว่าการรับรู้ตัวอักษรนักวิจัยในกลุ่มปัญญานิยมสนใจศึกษา กระบวนการทางจติ ซ่งึ เป็นพฤตกิ รรมที่มองไม่เหน็ ภายในตัวบุคคลด้วยวิธีการวัดแบบวิทยาศาสตร์ แนวความคิดของ กล่มุ นเ้ี ชื่อว่า มนษุ ย์จะเป็นผ้กู ระทำตอ่ สิง่ แวดล้อมมากกว่าทำตามสงิ่ แวดล้อม เพราะจากความรู้ ความเชอ่ื และความมี ปัญญาของมนุษย์ จะทำให้มนุษย์สามารถจัดการกับข้อมูลข่าวสารที่เข้ามาในสมองมนุษย์ได้ เช่น ยูริค ไนเซอร์(Ulric Neisser) กล่าวว่า บุคคลต้องแปลผลส่ิงท่ีรับรู้มาเพ่ือให้เข้าใจโลกรอบตัวของเขาได้ ดังนั้นเป้าหมายของนักจิตวิทยา กล่มุ น้คี ือ สามารถระบุเจาะจงได้ว่า กระบวนการของจติ เก่ียวข้องกับ การแปลความหมายสิ่งที่บุคคลรบั เข้ามา แล้วส่ง ตอ่ ให้หน่วยรับข้อมูล เพ่ือแปลผลอีกครงั้ หน่ึงว่า มีกลไกอย่างไรบ้างทีช่ ่วยจดั ระบบระเบียบการจำ และเข้าใจทกุ สิ่งทุก อยา่ งทีเ่ ราไดพ้ บเหน็ ได้ด้วยวธิ ีใด การทำงานของระบบความจำ และการใช้ความคิดในการแก้ไขปญั หาวิธกี ารศกึ ษาของ นักจิตวิทยา กลุ่มปัญญานิยม จะเน้นวิธีการทดลองเป็นส่วนใหญ่ เช่น การทดลองให้ผู้รับการทดลองต้ังเทียนไขให้ ขนานกับแนวฝาผนงั โดยไม่มีอปุ กรณใ์ ห้ ผู้รับการทดลองต้องใช้วิธีการอย่างไรก็ได้ ซ่ึงมักจะประสบความยุ่งยากในการ แกป้ ัญหา และตอ้ งคดิ ค้นวิธีการใหม่ๆจากการใช้อปุ กรณท์ ม่ี ี จากการทดลองนี้วธิ ีคิดแบบเก่าๆ จะมีผลสกัดกั้นความคิด ใหม่ ๆ ได้ เพราะฉะน้ันบุคคลจะมวี ิธีการเอาชนะวิธีคิดทีต่ นเอง คุ้นเคยได้อยา่ งไร และบคุ คลจะสร้างสรรค์แนวคดิ ใหม่ ๆ เพ่อื แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งไร การจดั การช้นั เรยี นของครมู ืออาชีพ การจัดการช้ันเรยี นของครูมืออาชีพ จะเป็นการจัดสภาพห้องเรียนท่ีมีบรรยากาศ น่าเรยี น เพ่ือส่งเสริมการ เรยี นรขู้ องนกั เรยี น ซึ่งมีนักการศกึ ษาได้ให้แนวคิดไว้ ดงั นี้ ฮอล (Susan Colbille-Hall : 2004) ได้ให้ความหมายของการจัดการช้ันเรียนไว้ว่า เป็นพฤติกรรมการ สอนทคี่ รสู รา้ งและคงสภาพเง่อื นไขของการเรยี นรู้ เพอ่ื ช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผลข้ึน ในชน้ั เรียน ซ่ึงถือเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ การจัดการช้ันเรยี น ท่ีมีคณุ ภาพน้ันต้องเป็นกระบวนการท่ดี ำเนินไปอย่าง ต่อเน่ือง และคงสภาพเช่นน้ีไปเรื่อย ๆ โดย สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ การให้ผลย้อนกลับ และการจัดการเกี่ยวกับ การทำงานของนักเรียน ความพยายาม ของครูที่มีประสิทธิภาพนั้น หมายรวมถึง การที่ครูเป็นผู้ดำเนินการเชิงรุก (proactive) มคี วามรบั ผดิ ชอบ (responsive) และเปน็ ผู้สนบั สนุน (supportive) โบรฟี (Jere Brophy, 1996 : 5) กล่าวถึงการจัดการช้ันเรยี นไว้ว่า หมายถึง การที่ครูสร้างและคงสภาพสิ่งแวดล้อม ในการเรียนรู้ท่ีนำไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่ประสบผลสำเร็จทั้งในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment) การสร้างกฎระเบยี บและการดำเนินการที่ทำให้บทเรยี นมีความสนใจอย่างตอ่ เน่อื ง รวมท้ังการมีส่วน ร่วมในกิจกรรมทางวิชาการในช้นั เรยี น สุรางค์ โค้วตระกูล (2548 : 436) ได้ให้ความหมายของการจัดการห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพว่า หมายถึง การสร้างและรักษาส่ิงแวดล้อมของห้องเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน หรือหมายถึงกิจกรรมทุก อยา่ งที่ครูทำเพอื่ จะชว่ ยใหก้ ารสอนมีประสทิ ธิภาพ และนกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิในการเรยี นรูต้ ามวตั ถุประสงค์ทีต่ ั้งไว้ จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าการจัดการชั้นเรียนมีความหมายครอบคลุมถึงการจัด สภาพแวดล้อมทาง กายภาพในห้องเรียน การจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียน การสร้างวินัยในช้ันเรียน ตลอดจนการจั ด กจิ กรรมการเรียนการสอนของครู และการพัฒนาทักษะการสอนของครูให้สามารถกระตุ้น พร้อมท้ังสร้างแรงจูงใจใน การเรยี น เพ่อื ใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นรูไ้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ความสำคญั ของการจัดการช้นั เรยี น การจดั การชัน้ เรียนมคี วามสำคัญดว้ ยเหตผุ ลหลายประการ คือ ๑. การเรียนรู้จะเกดิ ขนึ้ ไม่ได้หรือเกิดไดน้ อ้ ย ถา้ มสี ิง่ รบกวนในชนั้ เรยี นอยตู่ ลอดเวลาดว้ ย ปัญหา ทางด้านพฤติกรรมของนักเรยี น
๓๗ ๒. นกั เรียนทีอ่ ยู่ในช้นั เรยี นทีไ่ มเ่ ปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย สิ่งแวดลอ้ มในช้นั เรียนมีเสียงดงั และส่ิงรบกวน หรือการจัดทนี่ ั่งไมเ่ หมาะสมเปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ ปัญหาทางวินยั นำไปสกู่ ารแสดงพฤตกิ รรมที่ก้าวร้าว หรอื ทำให้ นกั เรียนไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ ส่งผลใหน้ ักเรยี นไม่สามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างเต็มท่ี ๓. การกำหนดคุณลักษณะพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ของนักเรียนไว้ล่วงหน้าจะมีประโยชน์ อยา่ งยิ่งตอ่ การจัดการชั้นเรียน เพราะจะทำให้นักเรียนมีแนวทางในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่แสดง อาการหรอื พฤตกิ รรมที่จะเป็นการรบกวนการเรยี นของผ้อู น่ื ๔. ชนั้ เรยี นที่มกี ารจัดการกบั พฤติกรรมของนักเรียนได้อยา่ งเหมาะสม จะทำให้ครสู ามารถดำเนนิ การ สอนได้อย่างเตม็ ท่โี ดยไม่เสียเวลากบั การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของนกั เรียน ๕. การจดั การช้ันเรยี นให้นกั เรยี นมีวนิ ยั ในการเรียนรู้และการอยูร่ ่วมกนั ดว้ ยความเออื้ อาทร โดย คำนงึ ถึงกฎระเบยี บการปลูกฝังลักษณะนิสัยเพ่ือการเปน็ พลเมอื งดีในอนาคตอกี ดว้ ย ดังนั้น จึงอาจสรุปความสำคัญของการจัดช้ันเรียนได้ว่า เป็นการดำเนินการต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับการจัด สภาพแวดล้อมในชนั้ เรียน เพอ่ื กระตนุ้ สง่ เสริมบรรยากาศการเรียนรู้ รวมถึงการแก้ไขปัญหาพฤตกิ รรมของนักเรียนโดย มีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ของการเรียนการสอนตลอดจนบรรลุผลตามเป้าหมายของ การศึกษา การจัดการชัน้ เรยี นเพื่อสง่ เสริมบรรยากาศการเรียนรู้ บรรยากาศการเรียนรู้ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท้ังในและนอกชั้นเรียน เพ่ือกระตุ้นหรือ ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียน มีความกระตือรือร้นสนใจในส่ิงที่เรียน การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ จึง เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในช้ันเรียนให้สอดคล้องกับการเรียนการสอน เพอื่ ช่วยสรา้ งบรรยากาศในชั้นเรียนท่ีนา่ สนใจ และจงู ใจให้นักเรยี นไม่เบ่อื หนา่ ยตอ่ การเรียน นอกจากนัน้ ยังช่วยแก้ปัญหาในการปกครองช้ันเรยี น และแก้ปญั หาเรอ่ื ง วนิ ัยได้อีกด้วย (สุพิน บุญชูวงศ์. 2531 : 155) ในขณะที่แอบบี (Eby. 1998 : 26) กล่าวถึงบรรยากาศช้ันเรียนว่า เปน็ การรวมเอาลกั ษณะการจัดห้องเรียนทเี่ ป็นระเบียบเรียบร้อย การตกแตง่ หอ้ งเรยี น การควบคุมดแู ลการเคลื่อนไหว และการส่งเสียงดังของนักเรียน ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพอ่ืน ๆ อันได้แก่ แสงสว่าง กล่ิน การจัด สภาพแวดล้อมทางจิตวทิ ยา เพื่อส่งเสริมการเรยี นรู้ สร้างความพึงพอใจ และความสนใจให้นกั เรยี นอยากเรยี นรู้ การจัดการช้ันเรียนจึงเป็นการดำเนินการทั้งมวล เพื่อสร้างเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ ประกอบด้วย การจัด สภาพแวดล้อมให้แก่นักเรียนทงั้ ในและนอกห้องเรียน ทัง้ ทางดา้ นกายภาพ ได้แก่ การจัดห้องเรียนทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ ของนักเรียนอย่างหลากหลาย ตั้งแต่การจัดโต๊ะเรียน การตกแต่งห้องเรียน รวมถึงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมทาง จิตวทิ ยา ได้แกก่ ารสรา้ งความสัมพันธ์ ระหว่างครกู ับนกั เรียน การร่วมกนั สร้างกฎกตกิ าของการเรียนรู้ในชั้นเรียน เป็น ตน้ การจัดการช้ันเรยี นให้บรรลเุ ป้าหมายได้นน้ั ครูจะต้องดำเนินงานในส่ิงต่อไปน้คี อื (Jere Brophy. 1999 : 48) ๑. การจัดเก็บอุปกรณ์ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชต้ ่าง ๆ ในชนั้ เรยี น ๒. การกำหนดลักษณะการเคล่ือนไหวของนักเรียนในชัน้ เรียน ๓. การกำหนดกฎระเบยี บในชัน้ เรียนต้งั แตว่ ันแรกของปกี ารศึกษา ๔. การเริม่ และการส้ินสดุ การสอนด้วยความราบรนื่ ๕. การจัดการเก่ยี วกบั การเปลี่ยนกจิ กรรมการเรยี นในระหว่างชวั่ โมงเรียน ๖. การจดั การเก่ียวกับการทำกจิ กรรมของนกั เรยี นเริ่มจากการกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นสนใจ บทเรียนและขจัดอปุ สรรคหรือสง่ิ ทีจ่ ะรบกวนการเรยี นให้มนี ้อยท่ีสุด ๗. การดำเนนิ งานใหก้ ารเรียนรู้เป็นไปในทางท่ีครูไดก้ ำหนดหรือวางแผนไว้ ๘. การดำเนนิ งานเพอื่ ใหน้ กั เรียนพัฒนาตามความตอ้ งการของนักเรยี นแตล่ ะคนงาน ในหน้าท่ี ของครูด้านการจัดการช้ันเรยี นเพื่อสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้จึงเป็นงานท่ีครูมีภารกิจสำคัญ พอ ๆ กับการ
๓๘ จดั การเรยี นรู้น้นั ทเี ดยี ว การจัดส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ เป็นการดำเนินงานต่าง ๆ เพ่ือสร้างบรรยากาศและ ปรับปรุงส่ิงแวดล้อม การเรียนรู้ตลอดจนเป็นการป้องกันปัญหาด้านพฤติกรรมกอ่ นท่ีจะเกิดปัญหาข้ึนจริง แคทรีน เคเซอร์ (Catherine H. Kaser. 2000.) ได้สรุปงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดส่ิงแวดล้อมในชั้นเรียนพบว่า การจัดสภาพทางกายภาพมีผลต่อ พฤติกรรมของทง้ั ครูและนักเรียนการจัดชัน้ เรียนให้มีโครงสร้างท่ีดี มแี นวโน้มท่จี ะช่วยพัฒนาความสามารถทงั้ ทางการ เรยี นและดา้ นความประพฤติของนักเรยี นนอกจากนส้ี ่งิ แวดลอ้ มในหอ้ งเรียนยังเปน็ เสมือนสญั ลักษณท์ ่ีแสดงให้นกั เรียน หรือบุคคลอื่นได้รู้ว่าครูเห็นคุณค่าของพฤติกรรม และการเรียนรู้ของนักเรียนเพียงไรเพราะถ้าการจัดช้ันเรียนไม่ เหมาะสมกับการจัดตารางเรียนและกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีครูได้วางแผนไว้ แล้วอาจเป็นอุปสรรคขัดขวางการทำ หน้าที่ของครเู ท่าๆกับการจำกัดวิธีการเรยี นของนักเรยี นนอกจากน้กี ารจัด ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ดี ี ในห้องเรียนจะ เป็นวิธีการหนึ่งท่ีจะทำให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้นท้ังนี้เพราะจะทำให้พฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา ลดลงและสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรูเ้ พ่มิ ขึ้น นอกจากนี้การจัดห้องเรียนควรเอื้อต่อกิจกรรมการเรียนที่หลากหลายตลอดทั้งวัน และ ควรจัดชั้นเรียน เพ่ือให้ครูได้ สอนตามความต้องการของนักเรียน ทั้งด้านความรู้ สังคมและอารมณ์ ของนักเรียน โดย เคเซอร์ ยังได้สรุปว่า ความสำเรจ็ หรือความล้มเหลวของการดำเนินงานจดั การช้ันเรยี นของครูขึ้นอย่กู บั ปจั จัย และเงอื่ นไขทสี่ ำคญั ดังน้ี ๑. การจดั ทว่ี ่างในชน้ั เรยี น หมายถึง การจัดทน่ี ัง่ ของนักเรียนเปน็ เชน่ ไร ๒. ปฏิสมั พันธ์ระหว่างครกู ับนักเรียน หรือนกั เรยี นกบั นักเรียนเป็นอยา่ งไร ๓. การเคลือ่ นทไ่ี ปรอบ ๆ หอ้ งของสมาชิกในชัน้ เรียน จะทำได้ในกรณใี ด ๔. การรบั รถู้ งึ บรรยากาศ และระเบียบวนิ ยั ในภาพรวมเปน็ อย่างไร ๕. ปจั จัยทสี่ ่งเสรมิ บรรยากาศการเรียนรู้ การดำเนินกิจกรรมใดก็ตามจะบรรลุวัตถุประสงค์ได้อยา่ งราบรื่นจำเป็นต้องอาศยั บรรยากาศที่เอ้อื ต่อการ ทำกิจกรรมน้ัน อัชรา เอิบสุขสิริ (2561) กล่าวคือ ผู้เกี่ยวข้องต้องสามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างมีความสุขภายใต้ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการทำงาน และการพัฒนา ศักยภาพของบุคคล การจัดการเรียนรู้ก็เช่นกัน เราอาจแบ่ง องค์ประกอบของการเรียนรอู้ อกเปน็ 2 ดา้ นใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบด้านกายภาพและองค์ประกอบด้านจติ วทิ ยา องคป์ ระกอบด้านกายภาพ หมายถงึ ลักษณะและขนาดของห้องเรยี นทีไ่ มเ่ ล็กหรอื ไม่ใหญ่ เกินไป มีเน้ือที่พอ ให้ขยับโต๊ะ เก้าอี้เพื่อจัดกจิ กรรมได้ มอี ปุ กรณ์หรอื มมุ ส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น ตู้หนังสอื ป้ายนิเทศ มุมวิทยาศาสตร์ มุม ภาษา ฯลฯ มโี ต๊ะเกา้ อ้ที ี่มขี นาดเหมาะสมกบั ผู้เรียน ประตู หน้าต่างมากพอใหอ้ ากาศถา่ ยเทได้อย่างสะดวก มแี สงสว่าง เพียงพอ ห้องมีลักษณะโปรง่ สบาย สะอาด เปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย สวยงาม องคป์ ระกอบด้านจิตวิทยา หมายถึง องคป์ ระกอบดา้ นความรู้สึกนึกคดิ ซ่ึงตอ้ งเอื้อต่อการกระตนุ้ จูงใจผู้เรียนให้สนใจ เรยี น มีความใฝ่รู้ มีเจตคติที่ดีตอ่ การเรียน มีอตั มโนทศั น์หรือความรู้สกึ ต่อตนเองในเชงิ บวก (positive self concept) อันจะนำไปสู่ความเช่ือน่ันในตนเอง ดังแนวคิดของ โรเจอร์ส (Rogers.1976) ที่อธิบายไว้ในทฤษฏีตัวตน (Self Theory) ว่ามนุษย์จะแสดงพฤติกรรมตามความร้สู ึกท่ีมีต่อตนเอง โดย “ตน” เปน็ ท่ีรวมแหง่ ความคดิ การรับรู้และการ ประเมินคุณค่าของตนเอง เรียน ศรีทอง (2542) กล่าวว่าความรู้สึกต่อตนเอง เป็นภาพท่ีเกิดจากโครงสร้างความคิด เกี่ยวกับตนที่ต้องการจะเป็นและที่เป็นจริง ความจำ ความเชื่อในตน แรงจูงใจและค่านิยม โดยท่ัวไป บุคคลจะสร้าง ภาพพจน์ทางรา่ งกายก่อน ซ่ึงจะสัมพนั ธ์กับลักษณะภายนอก และภาพพจน์ทค่ี นอื่นมองตน สว่ นภาพพจนท์ างจติ ใจจะ เกิดขึ้นบนรากฐานของความสามารถในการคิด อารมณ์ ความรู้สึก และความสามารถของบุคคลในการปรับตัวต่อ สภาพแวดล้อม อัตมโนทัศน์จึงเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม ของบุคคล ผู้ที่มีอัตมโนทัศน์เชิงบวกจะเช่ือม่ันใน ความสามารถของตน พ่ึงพาตนเองได้ มีความอดทน พยายาม ผทู้ ี่มีอัตมโนทัศนเ์ ชิงลบจะรู้สกึ ท้อแท้ ขาดความเชื่อน่ัน ไม่รสู้ ึกว่ามีคุณคา่ ในตนเอง ขาดความอดทนกระตือรอื ร้น อย่างไรกต็ าม อัตมโนทัศน์สามารถเปลย่ี นแปลงได้โดยผู้สอน สามารถ สร้างเสริมอัตมโนทัศน์เชิงบวกกบั ผู้เรียนได้ด้วยการติดตอ่ ส่ือสารเชิงบวกกับผู้เรียน เอาใจใส่ตอบสนองความ
๓๙ ตอ้ งการของผู้เรียนอยา่ งเหมาะสม ให้กำลังใจ กระตุ้นให้เขาปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับความสามารถ มีโอกาสประสบ ความสำเร็จ เพ่ือให้เกิดกำลังใจหรือหากทำแล้วเกดิ ความผดิ พลาด ผู้สอนกค็ วรอธบิ าย แนะนำ ไมต่ ำหนิติเตยี น คุด่าว่า กล่าว โดยไม่ใหค้ ำแนะนำอย่างสรา้ งสรรค์ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้จึงควรประกอบดว้ ย ๑. บรรยากาศท่ีเป็นกันเอง อบอุ่น ผู้เรยี นรสู้ กึ ใกล้ชิดกับผสู้ อน รู้สึกวา่ ตนเองเปน็ ส่วน หน่งึ ทมี่ ี ความสำคัญของช้ันเรียน มสี ่วนรว่ มในการเรยี นการสอน เชน่ ได้แสดงความคิดเหน็ ตอบคำถาม ผสู้ อนสบตา ดว้ ยสายตาที่เป็นมิตร หวงั ดีและจริงจัง หลีกเลยี่ งการลงโทษให้เกิดความเจบ็ ตวั เจ็บใจ อับอาย ฯลฯ ๒. เสรีภาพในการแสดงออก เชน่ การแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองมีสว่ นรว่ มในการรา่ งแผนการเรียน การทำงาน สามารถเลือกวิธีการเรยี นรู้ การทำงานต่าง ๆ ในช้ันเรยี นดว้ ยตนเอง ๓. การไดร้ ับการยอมรบั โดยผสู้ อนและเพอื่ นร่วมชั้นแสดงออกถึงการช่นื ชมยอมรับ เห็นคุณคา่ ซ่ึง กันและกัน ให้โอกาสเขา้ รว่ มและมีบทบาทในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ๔. สภาพการณ์ทีม่ ีความหมายท้าทาย เช่น บทเรยี น กจิ กรรมการเรียนการสอน ทีไ่ ม่ง่ายจนผู้เรียน เบ่ือหนา่ ย และไม่ยากจนรสู้ ึกท้อใจ แต่ให้มีความยากในระดบั ที่ทา้ ทายความสามารถ รู้สึกว่าความยากนนั้ มี ความเรา้ ใจให้อยากลองเรยี นรู้ และถ้าทำไดส้ ำเร็จจะรูส้ ึกภาคภูมใิ จมีกำลังใจท่ีจะลองทำสิง่ ที่ยากขึน้ ต่อไป ๕. บรรยากาศแหง่ การสร้างวินัยในตนเอง แมว้ า่ การสร้างบรรยากาศในชน้ั เรยี นทจ่ี ะเนน้ การ ยอมรับ การให้เสรีภาพในการแสดงออก มีความเป็นกันเองกับผู้เรียน แต่ท้ังหมดน้ีก็ต้องมี ขอบเขตท่ี พอเหมาะ เสรภี าพต้องมาคู่กับความรับผิดชอบในผลการกระทำของตนเองด้วย คเู ปอร์สมิธ (Coppersmith. 1967) กล่าวว่าเด็กที่อยู่ในบรรยากาศแห่งเสรีภาพเต็มที่ จะเกิดความรสู้ ึกยอมรับนับถือตนเองน้อยกว่าเด็กท่ีรับการดูแล คือ ครูต้องอธิบายให้เด็กเข้าใจว่าเหตใุ ดเขาจึงตอ้ งทำสิ่งนี้ และเหตุใดเขาจงึ ไมค่ วรทำส่ิงน้ัน การท่เี ด็กเข้าใจเหตผุ ลของการ ทำหรือไม่ทำพฤติกรรมใด ๆ จะทำให้เขาสามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและพัฒนาความรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของ เขาด้วย นั้นคือเขาจะเป็นคนท่ีมีวินัยในตนเอง โดยไม่จำเป็นต้องมีบทลงโทษมาควบคุม ท่ีสำคัญคือครูต้องมีความ ยตุ ิธรรม ปฏิบตั ติ ่อเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกันบนพืน้ ฐานของเหตผุ ลและความถูกต้อง ทุกคนล้วนเป็นผู้ที่ครูให้การยอ รับเหมือนกันท้งั สิ้น ๖. บรรยากาศแห่งความสำเร็จ ตามทฤษฏพี ฒั นากรทางบุคลิกภาพของอรี กิ สนั เช่ือว่า เดก็ จะ พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองได้จากสภาพแวดล้อมที่เขามีโอกาสได้ทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง และประสบ ความสำเร็จ ส่วนผทู้ ี่ขาดโอกาสทำสงิ่ ต่าง ๆ ด้วยตนเอง ก็จะไม่รู้วา่ ตนเองมีความสามารถ หรือไม่เพียงใด เชน่ เดียวกับ ผู้ท่ปี ระสบความลม้ เหลวในการทำสิ่งต่าง ๆ ก็จะขาดความมัน่ ใจในตนเองไมแ่ นใ่ จในการความสามารถของตนเอง หรือ คดิ ว่าตนไม่มีความสามารถและจะไม่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ครูจงึ ควรให้เด็กมีโอกาสประสบความสำเร็จทุกคน และพูด ถึงความสำเร็จของเด็กมากกวา่ การคอยตอกย้ําถึงความล้มเหลว ๗. บทบาทผู้สอน ผสู้ อนทจ่ี ะช่วยเตรยี มชนั้ เรยี นให้มีบรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ควร มี บุคลิกภาพที่น่าไว้วางใจ สง่างาม สุภาพ รู้กาลเทศะ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ให้เกียรติผู้อื่น มีลักษณะเป็น มิตร มคี วามยืดหยุ่นในการจัดบรรยากาศการเรียนรไู้ ด้อย่างเหมาะสม ไม่ใชอ้ ำนาจ ขม่ ขู่ บังคบั ไม่ลงโทษให้เกิดความ อับอาย หรอื เสียหาย เจบ็ แค้น เป็นต้น บรรยากาศทสี่ ่งเสริมการเรียนรู้จึงหมายถึง ลักษณะทงั้ ทางกายภาพและทางจติ ใจ คือ ห้องเรียนต้องมีขนาด และสภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บทบาทและท่าทขี องครูตอ้ งสร้างเสริมความมนั่ ใจ ไว้ใจและจงู ใจให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมี ความสขุ มเี จตคติทีด่ ตี ่อครู ตอ่ วิชาเรียน ตอ่ เพอื่ น สามารถเรียนรู้ได้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของรายวชิ า ลักษณะของการจัดช้นั เรยี นทางกายภาพท่ดี ี จากงานวิจยั ในปจั จบุ ันพบวา่ การจดั ช้นั เรียนทางกายภาพท่ีดนี ัน้ จะสะท้อนลักษณะ ดงั ต่อไปนี้ ๑. มกี ารจดั ทีว่ ่างในช้นั เรยี นอย่างชดั เจนเพอ่ื ใช้อเนกประสงค์และเพ่ือใหน้ กั เรยี นม่ันใจในการใช้ทว่ี า่ ง ของตนตัวอย่างเช่น ช้นั เรยี นจะประกอบด้วยพน้ื ท่ที ง้ั ในสว่ นที่มกี ารเคล่ือนไหวอยา่ ง พลกุ พลา่ นได้แก่บรเิ วณ ทม่ี ีการใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ร่วมกนั และที่ว่างสว่ นตวั ท่นี ักเรียนจะทำงานได้โดยลำพัง เช่นโต๊ะในแถวของนักเรียนแต่ละคน
๔๐ เปน็ ต้น ๒. ในช้ันเรยี นทม่ี นี กั เรยี นมีปัญหาท้ังทางดา้ นการเรียนและด้านพฤตกิ รรมอาจแก้ปัญหาได้ ดว้ ยการ แยกออกมาอย่ใู นท่ีว่างมากขน้ึ เพื่อให้นักเรียนสงบมีสมาธิในการทำงานได้อย่างอิสระตามลำพัง ๓. มที วี่ ่างส่วนตวั ของนกั เรียนแต่ละคนและมพี นื้ ท่ขี องนักเรียนทัง้ กลุ่มใหญ่กลุ่มเล็กสำหรับทำกิจกรรม ตา่ งๆจึงควรจัดสถานท่ีเฉพาะเพื่อให้มปี ฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งนักเรียนหรือระหว่างนักเรียนกับครูและอาจจะมีท่ี ว่างสำหรับจดั เกบ็ อปุ กรณ์ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ สือ่ อปุ กรณเ์ ทคโนโลยีตา่ ง ๆ ๔. ลกั ษณะทน่ี ่ังของนักเรียนเป็นแถวเพ่อื สะดวกในการทำกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นเน้ือหาวชิ าการ ในขณะทกี่ ารจัดทนี่ งั่ แบบกลุ่มจะทำให้นักเรียนมปี ฏสิ มั พันธท์ างสงั คม ๕. การจัดช้ันเรยี นในบรเิ วณทจี่ ำกดั และมีการใช้อย่างหนาแนน่ เช่น บรเิ วณที่เหลาดนิ สอที่ วางถงั ขยะ หลังห้อง หรือบริเวณที่มีการเรียนการสอน ตลอดจนส่วนท่ีจะทำให้นักเรียนถูกรบกวนง่าย ครูควรจัดให้ นกั เรียนนั่งห่างออกไป ๖. ครูและนกั เรียนทง้ั ช้นั ควรมองเหน็ กนั และกันอย่างซดั เจน นอกจากน้ลี กั ษณะของการเคล่อื นไหวใน ช้นั เรียนน้นั ควรใหค้ รูมโี อกาสใกล้ชิดนักเรียนได้มากท่ีสดุ ๗. ควรจำกัดส่งิ เรา้ ทางการมองเห็นและการไดย้ ินที่จะมารบกวนความสนใจและพฤติกรรม ของ นกั เรียน ซงึ่ จะทำให้เกดิ ผลดีต่อการดำเนินงานในช้นั เรยี น ๘. การจดั ท่ีวา่ งสำหรับนักเรียนท่มี คี วามตอ้ งการพเิ ศษควรให้นั่งอยใู่ กล้กับครจู ะทำให้ เกิดผลดี เพราะ การทำเช่นนี้ไม่เพียงแต่จะทำให้ครูสามารถจัดการกบั พฤตกิ รรมที่เป็นปัญหาสำหรับนักเรียนเท่าน้ัน หากแต่ ยังจะช่วยครูให้สามารถพูดส่งเสริมนักเรียนในทางบวก โดยอนุโลมหรือยินยอมทำให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมท่ีไม่ เหมาะสมออกมาบา้ ง ๙. การจัดชนั้ เรยี นทางกายภาพทีเ่ ปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยจะมปี ระโยชน์ และทำใหเ้ กดิ พลัง เพ่ือให้ นักเรยี นสามารถเรียนร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ อย่างไรก็ตามสภาพทางกายภาพในชั้นเรียน ควรจะเปล่ยี นแปลงไดต้ าม ลกั ษณะทางวัฒนธรรม และทางภาษาของนักเรยี น ซง่ึ ควรจะเปน็ ไปตามความต้องการเฉพาะของนักเรยี น สิ่งทตี่ อ้ งคำนงึ ถึงในการจัดท่ีนัง่ ของนักเรียนและครู ๑. การจดั ที่นงั่ ของนกั เรยี น การจัดที่นั่งของนักเรียนนั้นส่ิงสำคัญที่ครูจะต้องคำนึงถึง คือการเลือกรูปแบบการจัดโต๊ะ นักเรียนให้ เหมาะสมกับวิธีการสอนของครแู ละการจัดท่ีว่างสำหรับการเคล่ือนทีข่ องผู้เรียนอย่างเหมาะสมถ้าช้นั เรยี นใดมผี ู้เรียนท่ี มีความต้องการพิเศษเรียนร่วมอยดู่ ้วยครคู วรพจิ ารณาจัดท่นี ่ัง สำหรบั ผูเ้ รียนเหลา่ นีใ้ ห้เหมาะสมกับความต้องการของ ผเู้ รียนแต่ละคน เชน่ ผเู้ รียนทมี่ ปี ัญหาทางสายตาควรนั่งหน้าชัน้ ผูเ้ รียนทมี่ ีปญั หาออทิสตกิ ควรน่งั ใกล้ครู เปน็ ต้น อย่างไรกต็ ามการจัดท่ีนั่งให้ผู้เรียนในช้ันเรยี น แมคเลิด พชิ เชอร์ และฮูเวอร์ (Joyce McLeod, Jan Fisher and Ginny Hoover. 2003 : 6) ใหข้ ้อเสนอแนะ ดงั นี้ ๑.) ตอ้ งเหมาะสมกับรูปแบบการสอนของครูหรือกจิ กรรมท่คี รูใช้บอ่ ย ๆ ๒.)จะต้องยืดหยนุ่ ดังน้ันผูเ้ รียนจะสามารถจัดโต๊ะเรียนในแบบอนื่ ๆ ไดส้ ะดวกรวดเรว็ และ เหมาะสมกับกิจกรรม ๓.)จะต้องมที ่วี ่างสำหรบั การเคล่อื นทม่ี ที ่เี กบ็ ของ และที่ตง้ั วางอุปกรณ์ ๔.)จัดให้มที ่ีว่างและท่ีส่วนตัวสำหรบั ผูเ้ รยี นแตล่ ะคน ท้ังนคี้ รคู วรจะพิจารณาและใช้ ความ ละเอยี ดรอบคอบในการดำเนินการ กำหนดรปู แบบของการจดั ท่ีนั่งสำหรับนักเรียนและของครู ในชั้นเรียน ตลอดจนการจัดที่น่ังเสริมสำหรับการทำกิจกรรมพิเศษหรือการจัดท่ีนั่งสำหรับนักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษในชั้น เรยี น
๔๑ ๒. การจดั ท่นี ่ังสำหรบั ครู การจัดโต๊ะและที่นั่งของครถู ือเป็นปัจจยั ท่ีสำคัญท่ีมีอิทธิพลต่อบรรยากาศในช้ันเรียน เช่นเดียวกัน แมคเลิด พชิ เชอร์ และฮเู วอร์ เสนอแนะแนวทางในการพจิ ารณาไวด้ งั นี้ (Joyce McLeod et.al. 2003 : 9) ๑) การจดั ทน่ี ัง่ ครูไว้หลงั ห้องเรียนจะเปน็ การสง่ เสริมบรรยากาศของการเรยี นทีเ่ นน้ นักเรียน ใน ขณะเดียวกันครูสามารถทำงานของตน และสามารถจับตาดูพฤติกรรมของนักเรียนไปด้วย นอกจากนั้นยัง เปน็ การเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนสามารถพูดคุยกับครไู ด้ โดยทเ่ี พอ่ื นไมไ่ ดส้ งั เกตเห็นอีกด้วย ๒) การจัดท่ีนง่ั ครไู วห้ นา้ ห้องเรียน เปน็ การส่งเสริมบรรยากาศของชั้นเรยี นแบบมีการควบคุมและ ครูสามารถมองเหน็ ความเป็นไปสภาพของห้องเรียนทั่วท้ังห้องในขณะท่คี รูส่ังให้นักเรียนทำงาน แต่การจัดที่ น่งั เช่นนีค้ รูจะไมส่ ามารถพูดคุยกับนกั เรียนเป็นการสว่ นตวั ได้ ๓) การจัดที่นง่ั ครูไวก้ ลางห้องท่ามกลางที่น่ังของนกั เรียน การจัดเช่นนี้เปน็ การส่งเสริม บรรยากาศ ของการทค่ี รูมบี ทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก นักเรียนสามารถมายงั โต๊ะครูไดง้ า่ ยแต่การจัดท่นี ่ังเช่นน้ี ครู ไมส่ ามารถพูดคยุ กบั นกั เรยี นเปน็ การส่วนตวั ได้ ๔) การจดั ท่ีนั่งครูไวน้ อกห้องเรียน ทำให้เหน็ วา่ ครูมที ่ที ำงานเปน็ ส่วนตวั ดังนัน้ การพดู คยุ กบั นกั เรียนเป็นการเฉพาะ จึงสามารถทำได้อย่างสะดวกแต่อาจมีปัญหาด้านการดูแลพฤติกรรมนักเรียน ไม่ว่า ครูจะจัดท่ีน่ังของตนอยู่ท่ีใดของห้องเรียน สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ครูควรคำนึง คือ การจดั สิ่งของที่อยู่บนโต๊ะของครู ดว้ ย ความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยไมร่ กรุงรงั เพราะนอกจากจะไดร้ บั คำชนื่ ชมจากผู้พบเห็นแลว้ ยังเป็นแบบอยา่ งที่ดีแก่ นักเรยี นในด้านความมรี ะเบยี บอีกดว้ ย การจัดตกแต่งห้องเรียน นอกเหนือจากการจัดที่นั่งสำหรับนักเรียนและครูแล้ว การจัดการชั้นเรียนท่ีส่งเสริมบรรยากาศให้นักเรยี น สามารถเรียนรู้ตามเป้าหมายของบทเรียนในแต่ละวันได้เป็นอย่างดี คือ การจัดตกแต่งส่วนอื่นๆ ของห้องเรียน ได้แก่ การจัดมมุ ส่งเสริมความรู้ มมุ อ่านหนงั สอื ศนู ยก์ ารเรยี น ป้ายนิเทศ เป็นตน้ การจัดตกแตง่ หอ้ งเรียน หรอื การจัดมมุ เสริม ประสบการณ์ในแตล่ ะระดับช้ัน ครคู วรพจิ ารณาถึงลกั ษณะเฉพาะของเดก็ แต่ละวัย ดังน้ี ๑. ห้องเรียนระดับอนุบาลจะตอ้ งมีมมุ เสริมประสบการณ์ เพอ่ื ส่งเสริมพฒั นาการของนักเรยี น ทกุ ดา้ น จึงต้องตกแต่งด้วยวัสดอุ ุปกรณท์ ่ีเป็นของจริง เสมือนจริงหรือส่ิงจำลองท่มี ขี นาดย่อส่วนท่ีเหมาะสมกับสภาพ รา่ งกายของนักเรยี น และควรมีลักษณะยืดหยุน่ คลา้ ยบ้านมากที่สดุ นักเรียนควรนง่ั ทำงานกับพน้ื หรืออาจมีโตะ๊ เก้าอี้ทมี่ ี ขนาดเลก็ เหมาะสมกบั วัย หอ้ งเรียนควรประกอบดว้ ย มมุ เสริมประสบการณ์และพฒั นาการทัง้ สีด่ ้าน คอื ๑) ด้านร่างกายได้แก่มุมแต่งตวั จะประกอบดว้ ยเสือ้ ผ้า กระจก หวี เป็นต้น ๒) ด้านอารมณ์ ได้แก่ มมุ เครอ่ื งดนตรี ซ่ึงอาจประกอบด้วยของจรงิ ของจำลอง ๓) ด้านสังคม ไดแ้ ก่ มมุ โต๊ะอาหาร มุมเกม ๔) ด้านสตปิ ัญญา ได้แก่ มมุ อ่านหนงั สอื มมุ เกมการศกึ ษา เปน็ ต้น ๒. หอ้ งเรียนระดับชั้นประถมศึกษา การจัดมุมเสริมประสบการณ์ในห้องเรียนอาจประกอบดว้ ย มุมอา่ น หนังสือ มุมเกม มุมวิทยาศาสตร์ สิ่งท่ีสำคัญ คือ เป็นมุมที่มีกิจกรรมหรือแหล่งเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ในหลักสูตร เชน่ มุมคณติ ศาสตร์ มุมวทิ ยาศาสตร์ มมุ ภาษาไทย มุมภาษาอังกฤษ มุมสังคมศกึ ษา มมุ ศิลปะโดย มุมตา่ ง ๆ เหล่านค้ี รอู าจจดั รวมกนั เป็นมุมเสริมประสบการณ์ หรอื ทกั ษะชีวติ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับความรู้ทีส่ มั พันธก์ บั บทเรียน องค์ประกอบในมุมต่าง ๆ น้ัน อาจประกอบด้วยหนังสือเสริมประสบการณ์ท่ีแยกต่างหากออกมาจากมุมอ่านหนังสือ ประกอบด้วยแบบฝึกทกั ษะเสรมิ ความรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ตลอดจน เกมการศึกษา ด้วยเหตุนี้ การจดั ชน้ั เรยี นจงึ เป็นการส่งเสริมการใชห้ ลักสูตรให้บังเกดิ ผลตอ่ นักเรียนได้ทางหนึง่ ๓. ห้องเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นครูอาจจัดมุมเสริมประสบการณ์ไดเ้ ชน่ เดียวกบั การจดั หอ้ งเรียน ระดับประถมศึกษา แม้ว่าทางโรงเรียนจัดเป็นห้องเรียนเฉพาะวิชา เช่น ห้องวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพิ่มมากข้ึน ห้องเรียนระดับมัธยมนี้ อาจมีมุมเสริมประสบการณ์ มุมอ่าน เกมการศึกษา
๔๒ เป็นมุมที่จัดให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ บทเรียนที่กำลังเรียนเพ่ิมเติมจากท่ีครูสอน ท้ังน้ีอาจรวมถึง หนังสือเรียนหนังสือเสริมทักษะแบบฝึกหัด แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ส่ืออิเลคทรอนิคส์ เช่น การสืบค้นทางอินเทอร์เนท ซีดีรอม (CD Rom) เปน็ ต้น อย่างไรก็ตามการจัดการชั้นเรียนทางกายภาพของโรงเรียนในบ้านเรานั้นมีสภาพลักษณะ และมีข้อจำกัด แตกต่างอยู่มากทั้งทางด้านขนาดของห้องเรียน จำนวนนักเรียนในช้ันที่มีมากเกินไป รวมถึงข้อจำกัดทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ ด้วยเหตุน้ีครูมืออาชีพจึงควรใช้ดุลพินิจในการจัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ให้เหมาะสมกับบริบทของ ตนเองให้มีประสิทธิภาพมากทส่ี ุด การจดั การช้นั เรยี นทางด้านจติ วทิ ยา การจดั การชนั้ เรียนนอกเหนือจากการสรา้ งบรรยากาศทางกายภาพท่ีสง่ เสริมการเรยี นรู้ ของนักเรยี นแล้ว สิ่ง ทค่ี รูมอื อาชีพควรต้องศกึ ษาพัฒนาความสามารถของตนอยู่ตลอดเวลา คือ การจัดการส่ิงต่าง ๆ ทมี่ ีผลต่อการส่งเสริม ความสนใจความเข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียน รวมถึงการขจัดสิ่งต่างๆ ท่ีรบกวน หรือยับยั้งการเรียนรู้ของ นกั เรียน ซ่ึงก็ได้แก่ การจดั การส่ิงแวดล้อมทางด้านจิตวิทยานัน่ เอง จึงเป็นหน้าที่ของครูมืออาชีพท่ีจะต้องจัดการด้าน ต่าง ๆ ในชั้นเรียนใหเ้ ปน็ ไปไดด้ ้วยดี การจัดการช้ันเรียนทางด้านจิตวิทยา หมายถึง การจัดการเก่ียวกับความรู้สึก เจตคติและพฤติกรรมของ นกั เรียน โดยมเี ปา้ หมายที่จะส่งเสริมระเบียบวินัยในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือมงุ่ ให้นกั เรียนสามารถพัฒนาได้อย่างสูงสุด บรรยากาศทางจิตวทิ ยาในแต่ละชั้นเรยี นจึงขึ้นอยู่กับแนวคิด หรือความเชือ่ ในการจัดการศึกษาของครู หรือของสังคม ในแต่ละยุคสมัย ว่ามุ่งให้นักเรียนมีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนอย่างไร เช่น ต้องการให้ห้องเรียนเงียบสงบ เพื่อให้ นักเรียนทุกคนต้ังใจเรียนและมุ่งอยู่กับการทำงานตรงหน้าให้สำเร็จ ซึ่งบางครั้งห้องเรียนสงบเรียบร้อย อาจทำให้ นักเรียนบางคนไม่มีความสขุ และอาจเกิดปัญหาการหนีโรงเรยี น เป็นต้น หรือครูบางคนอาจมุ่งให้นักเรยี นมีการเรียนรู้ ร่วมกัน มีการสนทนาแลกเปล่ียนความรู้ความคิดเหน็ ซง่ึ กันและกัน มกี ารทำงานในลักษณะของ การร่วมมือกันภายใน กลุ่มหรอื แลกเปล่ียนกันระหว่างกลุ่มหอ้ งเรียน ลักษณะเช่นนี้ย่อมมีความเคลอื่ นไหวมีเสียงพูดคุยกันดังพอสมควร จึง แตกต่างจากห้องเรียนประเภทแรก ดังนั้น การตัดสินใจว่าจะดำเนินการจัดการช้ันเรียนอย่างไรน้ัน ครูมืออาชีพควร สำรวจหรือพิจารณา ความเชือ่ ของตนเองว่ามุ่งใหน้ ักเรยี นอยู่ในชั้นเรียนด้วยความรู้สึก เจตคติ คา่ นิยม และการเรยี นรู้ ในรปู แบบใดและมแี นวทางการดำเนินการในชัน้ เรียนของตนอย่างไร คูนิน (Kounin. 1970. อ้างถึงใน H. Jerome Freiberg. 1999 : 46-47) ได้ทำการวิจัยเก่ียวกับการ จัดการชั้นเรียนตง้ั แต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับมหาวทิ ยาลยั จากการสงั เกตชน้ั เรียน เปรียบเทียบพฤตกิ รรมของการ จดั ชั้นเรยี น บันทึกภาพกิจกรรมในชนั้ เรยี นท่ีมกี ารจัดการท่ีดี ท้ังที่มองเห็นได้ เชน่ ความมีระเบยี บร้อยสวยงาม หรือมี การวางแผนที่ดีการแบ่งสัดส่วนของการใช้ ประโยชน์ของชั้นเรียนอย่างชัดเจน การใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ีหยิบใช้ได้อย่าง สะดวก มีการเคลอ่ื นทอี่ ย่างเป็นระเบียบ ส่วนการจัดการช้ันเรยี นท่ไี ม่มีประสทิ ธิภาพนั้น ได้แก่ หอ้ งเรียนท่ีครูต้องคอย วุ่นวายกับ การจัดระบบชั้นเรียนหรือการเรียนของนักเรียนถูกรบกวนตลอดเวลา หรือช้ันเรียนที่ได้รับอิทธิพล จาก แนวคดิ ของการสอนทเ่ี น้นเนือ้ หาทางวชิ าการ ในตอนแรกคูนิน วิเคราะห์โดยให้ความสำคัญกับความสามารถของครูในการจัดการกับเหตุการณ์ที่เข้ามา ขัดขวางการดำเนินงานในชั้นเรียน ผลการวิเคราะห์ไม่พบปัจจัยที่มีความแตกต่างชัดเจนระหว่างครูท่ีมีการจัดการที่มี ประสิทธิภาพและไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านวิธีการตอบสนองต่อนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่เป็นปัญหาหรือวิธีการ ดำเนนิ งานทเี่ ปน็ ระบบอยา่ งไรก็ตามจากวิจยั คูนนิ ไดว้ ิเคราะห์ตดิ ตามผล ซึ่งพบว่า ครูทสี่ ามารถจดั การช้ันเรียนทดี่ นี ั้น แสดงออกถึงพฤติกรรมทีส่ ำคญั ดังน้ี ๑. Withitness ครจู ะต้องตระหนกั และรับร้ถู ึงสง่ิ ที่เกดิ ขนึ้ ในทุกส่วนของหอ้ งเรียนอยู่ ตลอดเวลาอย่าง ต่อเนื่องแม้กระท้ังในขณะที่ครูทำงานกับนักเรียนกลุ่มย่อยหรือรายบุคคลและแสดงให้เห็นถึงการติดตาม พฤติกรรมของนักเรียน โดยการเข้าไปมีส่วนแก้ไขสถานการณ์ในทันที และอย่างเหมาะสมเม่ือเกิดเหตุการณ์หรือเมื่อ นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ขึ้นนับเป็นพฤติกรรมสำคัญท่ีครูจะสามารจัดการกับส่ิงผิดปกติที่กำลังจะ
๔๓ เกิดข้ึนในชั้นเรียน โดยการสังเกตและเข้าไปอยู่ ระหว่างความขัดแย้งน้ันได้ก่อน แม้จนกระท่ังเหตุการณ์ที่มีปัญหา เกดิ ขึน้ แล้วครกู ็จะสามารถแก้ปญั หาได้ทนั ทว่ งที ๒. Overlapping เป็นการจดั การทีค่ รสู ามารถทำส่งิ ต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ หนง่ึ อยา่ งในเวลา เดียวกนั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรับผดิ ชอบตอ่ ความตอ้ งการของนักเรยี นแต่ละคน ในขณะเดยี วกันก็ยังต้องสนับสนุน ดูแลการทำงานของนักเรียนเปน็ กลุ่ม โดยการใชส้ ายตาในการสือ่ สารหรอื ใช้การใกลช้ ิดทางกาย เพ่ือดึงความสนใจของ นกั เรียนให้กลบั มาอยู่กบั บทเรียนในขณะทคี่ รยู งั คงดำเนินการสอนไปอย่างตอ่ เน่ืองโดยไม่สะดุดหรือขดั จังหวะแต่อย่าง ใด ๓. Signal continuity and momentum during lessons เปน็ การส่งสัญญาณอย่าง ต่อเน่อื งและการ เปลี่ยนกิจกรรมในระหว่างบทเรียนการสอนท่ีมีการเตรยี มการอย่างดแี ละการดำเนินการสอนตามบทเรยี นที่ เน้นนักเรียนเป็นสำคัญนั้นครูจะมีความต้ังใจในการจัดการเรียนเน้อื หาวิชาอย่างตอ่ เน่ืองมากกว่าการบังคับให้เกิดการ แขง่ ขันครูจึงมที ักษะในการส่งสญั ญาณให้นกั เรียนท่กี ำลงั แสดงพฤติกรรมทไ่ี ม่พึงประสงค์ (เช่น การเดนิ เข้าไปยืนใกล้ๆ นักเรียนทไ่ี ม่สนใจบทเรียนหรือถามนกั เรียนคนน้นั ในเรื่องท่ีครกู ำลังสอนอยู่) เพ่ือดึงความสนใจของเด็กให้กลับมาอย่ทู ่ี บทเรยี นโดยไม่กวนนกั เรียนคนอื่นท่ีกำลังตั้งใจเรียนนอกจากนั้นครจู ะสามารถเปล่ียนหัวขอ้ เร่อื งท่ีจะ สอนหรือเปลีย่ น กจิ กรรมการเรียนในระหว่างบทเรียนดว้ ยความราบรน่ื และต่อเนือ่ งโดยไมส่ ะดดุ ๔. Challenge and variety in assignment เปน็ การมอบหมายงานทหี่ ลากหลายเพอื่ เปน็ การกระตุ้น นกั เรียนให้สนใจบทเรียนได้แกก่ ารมอบหมายงานในช้ันเรียนอย่างเหมาะสม โดยมีความยากง่ายพอเหมาะ คือ ง่ายพอท่ีจะแน่ใจว่านักเรียนจะได้ใช้ความพยายามในการทำงานและควรเป็นส่ิงใหม่หรือยากพอที่จะท้าทาย ความสามารถของนกั เรียนโดยมีความหลากหลายเพือ่ ทจ่ี ะทำให้นักเรยี นสนใจตลอดเวลา คนู ินเช่ือว่าครูท่ีสามารถจดั การช้ันเรยี นที่มีประสิทธิภาพน้ันไม่ใช่เป็นเพียงเพราะความสามารถในการแก้ไข ปัญหาที่เกิดข้ึนเท่าน้ันหากแต่เพราะเป็นความสามารถในการป้องกันการเกิดปัญหาต้ังแต่แรกนอกจากนี้ครูเหล่าน้ียัง เป็นการสร้างห้องเรียนให้มีสิ่งแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพโดยการเตรียมการสอนและการจัดการ เรียนการสอนท่เี หมาะสมและการให้นกั เรยี นทำงานตามที่ครกู ำหนดให้ดีท่ีสุด แนวทางในการจัดการชนั้ เรยี นเพอื่ ให้ไดผ้ ลในเชิงปฏบิ ตั ิ การจัดการชน้ั เรยี นเพ่ือให้ได้ผลในเชงิ ปฏบิ ตั ิจริงครูมืออาชพี ควรคำนึงถงึ ปจั จัยดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี สมั พนั ธภาพระหว่างครกู บั นกั เรียน สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียนถือเป็นปัจจัยสำคัญท่ีจะช่วยให้บรรยากาศในชั้นเรียนเป็นไปได้ด้วยดี หรือไม่เพียงใดโดยความสัมพันธ์ดังกล่าว ประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนหรือนักเรียนกับนักเรยี น ด้วยกันเองหรือแม้กระท่ังความสัมพันธ์ระหว่างครูในโรงเรียนหรือครูกับผู้บริหาร (Joyce McLeod et al. 2003 : 65) สัมพันธภาพระหว่างครูและนักเรียนเป็นปัจจัยพ้ืนฐานที่สำคัญ ยิ่งต่อการแสดงพฤติกร รมของนักเรียน โดยเฉพาะในวนั แรกท่ีครพู บกับนกั เรียนบคุ ลิกภาพของครูอาจจะสง่ ผลต่อความรู้สกึ ทางบวกหรือทางลบแกน่ กั เรยี นได้ เชน่ ถ้าการพบกันคร้งั แรกครูตอ้ นรบั นักเรยี นทุกคนด้วยท่าทีอบอุ่นและเปน็ มติ ร จะทำใหน้ ักเรยี นมีความรู้สึกทด่ี ตี ่อครู และหอ้ งเรียนในทางตรงกับข้ามถ้าการเรม่ิ ต้นวันแรกด้วยท่าทีที่เข้มงวด นักเรยี นจะรู้สึกไม่สบายใจและอาจจะเลยไป ถึงความรู้สึกที่ไม่ดีต่อช้ันเรียนและวิชาท่ีเรียนด้วย ทั้งน้ีเพราะนักเรียนบางคนมาโรงเรียนด้วยความไม่ไว้วางใจผ้ใู หญ่ และบางคนไมค่ ุ้นเคยกบั ผ้ใู หญห่ รอื คนแปลกหน้ามากอ่ น แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ ครูควรเร่ิมสร้างความสัมพันธ์สร้างสัดส่วนของคำพูด ทางบวก และทางลบอย่างสมํา่ เสมอ ส่ือสารใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจเก่ียวกบั ความคาดหวงั ระดับสูงของตน ร่วมมือควบคุมดูแล การแสดงพฤตกิ รรมให้เป็นไปตามความคาดหวงั สร้างทางเลือกเพอ่ื นำไปสกู่ ฎกตกิ าในชนั้ เรยี น นอกจากนีค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งนักเรียนถือเป็นเรอื่ งทสี่ ำคญั ยิ่งโดยเฉพาะเมอ่ื อยใู่ นห้องเรยี นการร่วมมือกัน
๔๔ ทำกิจกรรมด้วยความรับผิดชอบ การทะเลาะวิวาท รวมถึงการพูดจา โดยใช้คำไม่สุภาพ ส่ิงต่าง ๆ เหล่านี้ควรอยู่ใน สายตาของครูอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าครูกำลังดำเนินการสอนหรอื กำลังอธบิ ายเน้ือหาให้กับนักเรียนกลมุ่ อน่ื หรือนักเรียน ทั้งชั้นอยู่ก็ตาม พฤติกรรมดังกล่าวนี้สอดคล้องกับผลการวิจัยของ คูนินที่พบว่าครูท่ีมีความสามารถในการจัดการช้ัน เรียนจะสามารถติดตามพฤติกรรมในช้ันเรียนได้ตลอดเวลา (wittiness) และสามารถทำหลายส่ิงได้ในเวลาเดียวกัน (overlapping) ความสามารถของครูเช่นนี้จะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดา้ นพฤติกรรมของ นักเรียน อย่างไรก็ ตามการท่ีครูจะสามารถจัดการชั้นเรียนได้ดีนั้นจำเป็นต้องมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการป้องกันปัญหา ด้านพฤติกรรมที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน โดยศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียนทั้งการสังเกตติดตาม พฤติกรรมตลอดจนการพูดคุยกับนกั เรยี นอยา่ งท่วั ถึงในเร่ืองท่ีเกีย่ วข้องกับการเรียนและความคิดเหน็ ของนักเรียนต่อ เพื่อนในห้องเมื่อพบความสัมพันธ์ท่ีมีแนวโน้มว่าจะเกิดปัญหา เช่น การแบ่งกลุ่ม การมีหัวโจกของกลุ่มต่าง ๆ หรือมี นกั เรียนท่ีเพ่ือนไม่ยอมรับเขา้ กลุ่มปัญหาเช่นน้ี ครตู ้องเขา้ ไปดำเนินการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เพื่อแก้ไข ปัญหา เช่น เมื่อ นักเรียนทะเลาะกันครูควรเข้าไปหาสาเหตุและอาจให้นักเรียนยอมรับพฤติกรรมน้ัน และให้เหตุผลเพื่อให้นักเรียน ยอมรับผิด และยอมรับการลงโทษตามที่ได้ตกลงกันเป็นต้น สำหรับนักเรียนท่ีเพ่ือนไม่ยอมรับให้เข้าร่วมกลุ่ม ครูควร ตอ้ งหาสาเหตุและชี้แจงกลุ่มเพื่อนให้ยอมรับความสามารถท่ีแตกต่างกันของเพ่ือน พร้อมทง้ั ช้ีแจงถงึ สิ่งท่ีนักเรียนต้อง รบั ผดิ ชอบในการทำงานร่วมกันกับกลมุ่ เพอ่ื น บทบาทในการเปน็ ผู้นำของครู ครูเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดในการสร้างบรรยากาศในช้ันเรียนให้มีสภาพน่าเรียน อบอุ่น แจ่มใสหรือตึงเครยี ด น่ากลัว ดังน้ันสิ่งที่สำคัญนอกเหนือจากการที่ครูต้องระบุถึงความคาดหวังเก่ียวกับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนท่ีครู ตอ้ งการแลว้ ตวั ครูเองจำเป็นท่ีจะตอ้ งทราบและเขา้ ใจความต้องการและความคาดหวงั ของนกั เรยี นทม่ี ตี อ่ ครูด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือครูคาดหวังให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์เช่นไร ครูควรเป็นแบบอย่างในการแสดง พฤติกรรมนั้น ๆ เช่น ถ้าครูไม่ต้องการให้นักเรียนเข้าช้ันเรียนสายครูก็ควรเป็นแบบอย่างในการเข้าสอนตรงต่อเวลา หรอื มีเหตผุ ลเพยี งพอท่จี ะเข้าสอนสาย เปน็ ต้น บทบาทการเป็นผู้นำของครูแต่ละประเภทจะมีผลต่อความรสู้ ึกของนักเรียนที่มีตอ่ โรงเรียนและ ยิ่งไปกว่าน้ันอาจมีผล ต่อความรู้สึกของนักเรียนท่ีมีต่อผู้อ่ืนหรือต่อตนเองอีกด้วย ไดรกเคอร์ (Dreikurs อ้างถึงใน Eby. 1998 : 39-40) แบ่งประเภทของลกั ษณะของบุคลกิ ภาพและบทบาทในการเป็นผูน้ ำของครู ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ๑. ครทู ี่มลี ักษณะเผด็จการ (autocratic teacher) ครูท่ีมีลักษณะเช่นนี้ เช่อื วา่ ตนเองมีความรับผดิ ชอบ ตอ่ การดำเนินการใด ๆ ในช้ันเรยี น ต้ังแต่การจัดการตกแตง่ หอ้ งเรยี นทางกายภาพ เพอ่ื การจัดระเบียบในชั้นเรยี น การ จดั ตารางเรียนที่ไม่ยืดหยุ่นจากความคดิ เช่นนี้ ครูจึงมีความรับผดิ ชอบท่ีจะกำหนดกฎระเบียบทง้ั หมดของชั้นเรียน ซึ่ง รวมถึงการกำหนดบทลงโทษแก่นักเรียนท่ปี ระพฤติผิดกฎด้วยตัวของครูเองทั้งหมดครทู ี่มีลักษณะเช่นนี้มีความเชื่อว่า ตนเองมีความรคู้ วามสามารถในเนือ้ หาวิชาท่ีสอนจึงเน้นการถ่ายทอดความรู้ โดยการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นครูเป็น สำคัญท้งั ในด้านการบรรยาย การแสดงความคิดเหน็ และการกำหนดงานให้นักเรียนทำนักเรียนมี หน้าท่ีเช่ือฟังและทำ ตามกฎระเบียบและงานทคี่ รูกำหนดใหท้ ำ ๒. ครมู ลี กั ษณะปลอ่ ยปะละเลย (permissive) ครูประเภทน้มี ลี ักษณะโอนออ่ น ผอ่ นตาม และไมม่ พี ลัง ในช้ันเรียนอาจมีกฎระเบียบเพยี งเล็กนอ้ ยให้นกั เรียนไดป้ ฏิบตั ิและไม่ไดใ้ หค้ วามสนใจ กบั การทน่ี ักเรียนต้องปฏบิ ัตติ าม กฎระเบียบอย่างสมํ่าเสมอ การลงโทษของครูประเภทน้ีมักจะให้อภัย ไม่ค่อยเอาจริงเอาจังกับนักเรียนท่ีประพฤติผิด ระเบียบ และดเู หมือนวา่ ครจู ะไม่มอี ำนาจมากเพียงพอทจ่ี ะทำให้นกั เรียนทำงานตามท่ีครูกำหนดบรรยากาศในชั้นเรียน เช่นน้ี จะทำให้นักเรยี นรู้สึกสับสน เพราะไม่แน่ใจว่าครูตอ้ งการให้ตนทำอะไรหรือเป็นอยา่ งไรจึงจะเป็นท่ีพึงประสงค์ ของครู ลักษณะของครูประเภทน้ีจะทำให้ชัน้ เรียนขาดความเป็นอนั หนึง่ อันเดียวเพราะนกั เรยี นแต่ละคนก็จะทำในสิง่ ท่ี ตนพงึ พอใจโดยที่ครูก็ไม่ได้วา่ อะไร ๓. ครูที่มีลกั ษณะเป็นประชาธิปไตย (Democratic style) ครูทเี่ ปน็ ประชาธิปไตยจะไมม่ ีลักษณะของ ความเป็นเผด็จการหรือปล่อยปะละเลย แต่จะมีความมั่นคงมีเหตุผลเกี่ยวกับความคาดหวังของตนท่ีมีต่อการเรียนรู้
๔๕ และการแสดงพฤติกรรมของเด็กครูจะใช้การอภิปรายร่วมกับนักเรียนและให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนด กฎระเบียบของช้ันเรียน รวมท้ังกำหนดโทษหากมีการฝ่าฝืนกฎ นอกจากนี้อาจร่วมกับนักเรียนในการทบทวน กฎระเบียบของชั้นเรยี นได้อยูเ่ สมอหากมีความจำเป็น เพื่อใหก้ ฎระเบยี บเหล่านั้นมคี วามเหมาะสมต่อการนำไปปฏิบัติ ครูท่ีเป็นประชาธิปไตยจะเปน็ ผ้ทู ี่พร้อมท่จี ะตัดสินใจในปญั หาใด ๆ แต่กย็ อมรับฟังความคิดเหน็ และความต้องการของ นกั เรยี นผลของการที่ครเู ปน็ ประชาธิปไตยจะเปน็ การสร้างพลังแหง่ ความเชือ่ ม่ัน และความรสู้ กึ ของ การเป็นเจ้าของช้ัน เรียนใหก้ บั นกั เรียนในทำนองเดียวกันก็จะทำใหค้ รูรสู้ กึ ถึงบรรยากาศท่ีดใี นหอ้ งเรยี น ดังนั้นครูมืออาชีพควรเป็นครูท่ีมีลักษณะเป็นประชาธิปไตย เพราะจะเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างบุคลิกของการมี ความม่ันใจในตนเองให้แก่นักเรียนรวมทั้งเพ่ือจะได้มีส่วนในการปลูกฝัง เจตคติและความเป็นประชาธิปไตยให้แก่ นักเรียนอีกดว้ ย เทคนิคและทักษะการสอนของครู การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เทคนิคและทกั ษะการสอนของครูล้วนมีอทิ ธพิ ลต่อบรรยากาศในชั้นเรยี น ได้ท้ังสิ้นการสร้างแรงจูงใจ การแปรเปล่ียนความสนใจ การเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย จะทำให้ เด็กไม่เบ่ือเมื่อเทยี บกบั การทค่ี รูใช้วิธีสอนแบบเดียวเป็นระยะเวลายาวนานจนเกินไป เช่น การใช้วธิ ีสอนแบบบรรยาย ทำให้เด็กอาจเรียนรู้ได้ไม่เท่ากับท่ีครูต้ังใจจะสอน เพราะเด็กเกิดความเบ่ือหน่ายไม่สนใจเรียน อาจชวนเพื่อนคุยหรือ แกลง้ เพ่ือนกลายเป็นปัญหาในช้ันเรียนที่ครูไม่ต้องการ ซ่ึงแท้ที่จรงิ แล้วสาเหตุสำคญั อาจอยู่ที่ตัวครเู องกเ็ ป็นได้ ดงั นั้น วธิ ีการหน่ึงที่ครคู วรจะตอ้ งดำเนินการควบคู่ไปกับการจัดการช้ันเรียน คือ การที่ครจู ะต้องเตรียมการสอนโดยยดึ หลักท่ี สำคญั ในการพิจารณาเลอื กใชว้ ิธีสอนทหี่ ลากหลาย มีความเหมาะสมกับเน้ือหาวชิ าและสอดคล้องกบั ความต้องการของ นักเรียนนอกจากนค้ี วรเลือกใชท้ ักษะและเทคนิคการสอนที่ทำใหน้ กั เรยี นเกิดความสนใจในบทเรียนมากขึ้น ดงั นี้ ๑. การสร้างแรงจูงใจในบทเรยี นความสนใจหรอื ความตอ้ งการทจี่ ะเรยี นรู้เรอ่ื งใด ๆ สำหรบั นักเรยี นอาจ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาหรือเพียงบางคร้ัง บางเรื่องหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย แตกต่างกันไปตามลักษณะวัย และ ความสามารถของเด็กแต่ละคน ครูจึงควรสร้างแรงจงู ใจให้แก่เด็กอย่างต่อเนื่องบทบาทของครใู นการสร้างแรงจูงใจใน การเรียน เช่น การเลอื กกระบวนการเรยี นรู้ที่เหมาะสมจะสามารถขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน ทั้งยัง เปน็ การสง่ เสริมชัน้ เรียนให้เป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้อกี ดว้ ย ๒. จดั การเรียนรทู้ ่มี รี ูปแบบการสอนทหี่ ลากหลาย และใช้เทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของนักเรียนในการวางแผนหลักสูตรและการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี เน้นให้นกั เรยี นใช้ทกั ษะทางสงั คม เชน่ นักเรยี นใชเ้ ทคนิคการเรยี นแบบร่วมมอื เป็นต้น ๓. การแปรเปล่ียนวธิ ีสอนให้หลากหลาย เชน่ การเปล่ียนกิจกรรมการเรยี นรู้ การเปล่ียนบทบาทของ ผู้เรยี น หรือการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้หรือสื่อการเรยี นรูห้ ลายประเภท ๔. การกำหนดงานให้นักเรียนปฏิบัติ ระหว่างเรียนที่สอดคล้องกับบทเรียนและตรงตามความสนใจของ นกั เรียนและเนอ้ื หาวชิ าทเี่ รยี น การสรา้ งกฎระเบยี บรว่ มกนั ระหว่างครกู บั นกั เรียน การกำหนดกฎระเบยี บของชัน้ เรียนถือเปน็ สิ่งจำเป็นและเคร่อื งมอื ทสี่ ำคัญในการจดั การในชน้ั เรยี นของครูไม่ ว่ากฎระเบียบเหล่าน้ันจะกำหนดขึน้ จากครูเองจากความร่วมมือกันระหว่างครูกับนักเรียนหรอื จากนักเรียนทสี่ ามารถ กำหนดกฎกติกาของการอยู่ร่วมกนั ข้ึนเองโดยการแนะนำหรอื การมีครเู ป็นท่ีปรึกษาไม่ว่าแนวคดิ ในการจัดการช้ันเรยี น จะเน้นที่อำนาจของครูหรือเน้นความรับผิดชอบของนักเรยี นหรือแม้กระท้ังเน้นความเป็นตวั ของตัวเองของนักเรียนก็ ตามเพราะด้วยความเชื่อที่ว่าการอยรู่ ่วมกนั เป็นสังคมจำเป็นที่จะต้องมีกฎกติกาของการอยู่ร่วมกันการเคารพสทิ ธิของ ผ้อู ื่น การปฏิบตั ิหน้าท่ีของตนเองด้วยความรับผิดชอบตลอดจนการปฏบิ ัติตามกฎกติกาท่ไี ดก้ ำหนดไว้ดว้ ยความเต็มใจ
๔๖ ทงั้ น้ีครูต้องชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจและยอมรับว่าการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบในชั้นเรยี นจะทำให้นักเรียนสามารถท่ีจะ เรียนรู้อยา่ งราบร่นื ปราศจากอุปสรรคด้วยศักยภาพสูงสดุ ท่ีมีอยู่ในตนเองท้ัง ยังเปน็ การวางพื้นฐานของการอยูร่ ่วมกัน แบบประชาธิปไตยเพื่อการเป็นสมาชิที่ดีของสังคมอีกด้วย แนวทางการปฏิบัติจริงในชั้นเรียนเก่ียวกับการกำหนด กฎระเบียบที่เหมาะสมครูท่ีเป็นครูมืออาชีพ อาจดำเนนิ การไดม้ ีดงั น้ี ๑. ในช่วงสัปดาหแ์ รกของการเปดิ ภาคเรียนในแต่ละปกี ารศกึ ษาครอู าจเรม่ิ ดน้ ด้วยการกำหนดความ คาดหวังของครูท่ีมีต่อการแสดงพฤติกรรมของเดก็ ทง้ั ในด้านการเรียนและการปฏิบัติกิจกรรมรว่ มกันกับเพ่ือนซ่ึงความ คาดหวังเหล่านี้อาจรวมถึงการแจ้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของหลักสูตรซ่ึงสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระดับ การศึกษาชนั้ พ้ืนฐานได้กำหนดไว้แลว้ ในหลักสูตร นอกจากน้ีครอู าจกำหนดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กเพิ่มเติม จากลกั ษณะเฉพาะของเด็ก ในแตล่ ะวัยทเ่ี ปน็ รายละเอยี ดทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การเรยี นการสอนเพ่ิมข้ึน ๒. กำหนดกฎระเบยี บของช้นั เรยี นโดยระบเุ ป็นข้อๆแนวทางในการกำหนดกฎระเบยี บที่นักเรียนในแต่ ละช้นั เรียนจะตอ้ งปฏิบตั ติ ามนนั้ ครอู าจทำได้ดังน้ี ๒.๑ เขยี นด้วยขอ้ ความท่ีส้นั กระชับเขา้ ใจงา่ ยและครอบคลุมการกำหนดกฎระเบียบหากเขยี นดว้ ย ถ้วยคำที่ยากและซบั ซอ้ นเกินไปทำให้เดก็ เข้าใจสันสนหรอื จดจำยากกอ็ าจทำให้เด็กไม่สนใจทีจ่ ะปฏิบัติตาม ๒.๒ ควรเป็นกฎระเบียบท่คี รเู ห็นวา่ เป็นสิ่งจำเป็นจริง ๆ และเปน็ พืน้ ฐานสำคัญของการอยรู่ ว่ มกนั ในชั้นเรียนของนกั เรียนเชน่ การเคารพในสิทธิของผ้อู น่ื ไม่สง่ เสียงดงั รบกวนเพอ่ื นการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด ๒.๓ ควรเปน็ กฎระเบยี บทีใ่ หค้ วามสำคญั กบั พฤติกรรมทต่ี อ้ งการจะบรรลเุ ป้าหมาย การเรยี นรู้ เพราะกฎกติกาในช้ันเรียนสว่ นใหญ่กำหนดขึน้ เพ่ือมุ่งให้นักเรียนได้สามารถพฒั นาความสามารถทางการเรยี นให้บรรลุ จดุ ประสงค์การจดั ชัน้ เรียนจึงเป็นการขจัดสิ่งท่ีจะเป็นอุปสรรคท่ีจะรบกวนการเรียนรูข้ องเด็กให้เกิดข้ึนน้อยที่สุดโดยมี ครูคอยดูแลชว่ ยเหลือ ๒.๔ การใหน้ กั เรยี นมีสว่ นร่วมในการพจิ ารณาปรบั ปรุงกฎระเบยี บกติกาของหอ้ งเรียน ครอู าจเป็นผู้ มีบทบาทในการกำหนดกฎระเบียบของหอ้ งเรียนในระยะแรกของการเรียนหรือระยะต้นปีการศึกษาแต่ในระยะเวลา ต่อมาเม่ื อนักเรียนและ ครูเร่ิมคุ้น เคยวิธีเรียน และวิธีสอน ของแต่ละฝ่าย แล้วนักเรียน อาจมีบทบาทมากขึ้น ใน การ ปรับปรุงกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกันในช้ันเรียนให้เหม าะสมกับสภาพของนักเรียน เช่นการท่ีครูกำหนดกฎเกณฑ์ เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนสายไว้แต่เมื่อพบว่า นักเรียนในชั้นเรียนทุกคนไม่ได้ประพฤติผิดกฎในข้อนี้เลยและทุกคนมี ความกระตือรือร้นที่อยากจะเข้าห้องเรยี นทุกคร้ังกฎระเบียบข้อน้จี ึงไม่จำเป็นสำหรับเด็กกลุ่มน้ีอีกต่อไปโดยอาจจะมี การเพม่ิ เติมกฎระเบยี บอื่นทน่ี ักเรยี นเห็นวา่ จำเป็นเช่นการไม่แย่งกนั พูดหรือพดู เสียงดังจนเกนิ ไปเป็นต้น ๒.๕ กฎระเบียบที่ดคี วรจะระบุผลทตี่ ามมาของการไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎซึง่ อาจเรยี กว่าเป็นบทลงโทษ อาจเปน็ เงือ่ นไขหรือข้อตกลงรว่ มกนั ระหวา่ งนักเรียนเช่นการให้ทำงานเพม่ิ การชว่ ยเหลือเพ่ือนมากข้นึ โดยบทลงโทษที่ กำหนดข้ึนควรเปน็ ทีย่ อมรับของนกั เรียนและอาจจะต้องพิจารณาการเปลีย่ นแปลงบทลงโทษโดยใช้วิธี การใหม่ ๆ หาก มกี ารผิดซ้ำอีกเพราะบางคร้ังวิธีลงโทษที่กำหนดไวล้ ่วงหน้าอาจไม่ใช่เป็นการแก้ปัญหาหรือหยุดพฤติกรรมนั้นแต่กลับ กลายเป็นการเสริมแรงทางบวก ให้นักเรียนได้แสดงพฤติกรรมท่ีมีปัญหาน้ันเพิ่มมากข้ึนตัวอย่าง เช่น ครูคาดโทษ นักเรียนที่ทำผิดโดยเขียนช่ือนักเรียนไว้บนกระดานหรือการทำโทษหน้าชั้นเรียนวิธีการเช่นน้ีอาจเป็นแรงเสริมให้ นักเรียนทำความผิดซํ้าอีกเพราะตนเองได้กลายเป็นจุดเด่นของชั้นแสดงให้เห็นว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของห้องแม้จะ เป็นไปในทางลบกต็ ามเม่ือเป็นเช่นนีค้ รคู วรปรับเปลีย่ นวิธกี ารลงโทษไปเป็นวิธีอน่ื ท่ีจะ ทำให้เดก็ รู้สึกผิดต่อการกระทำ ของตนและจะไม่ได้รับการยอมรับหรือได้รับความสนใจจากกลุ่มเพื่อนในขณะเดียวกันนักเรียนที่มีความประพฤติดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของชั้นเรียนอย่างสม่ําเสมอก็ควรได้รับการยกย่องชมเชยตามวาระโอกาสท่ีเหมาะสมเพ่ือเป็น การเสรมิ แรงใหเ้ ด็กเหลา่ น้ไี ดแ้ สดงพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงคต์ อ่ ไป การสือ่ สารกบั นักเรียน การใชก้ ารส่อื สารกับนักเรยี นเป็นปัจจยั พ้ืนฐานท่ีสำคัญเพ่อื ให้ครมู ืออาชีพสามารถจัดการกับพฤติกรรมของ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113