Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย3_หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หน่วย3_หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

Published by jiteitsara, 2021-01-11 04:06:36

Description: หน่วย3_หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

พระพุทธศาสนา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๒ หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๔ หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๕ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๗ หน่วยกำรเรียนร้ทู ่ี ๘ หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๙ ๑_หลกั สูตรวิชาพระพุทธศาสนา ๒_แผนการจดั การเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๗_ขอ้ สอบ_เฉลย ๘_การวัดและประเมนิ ผล ๙_รูปภาพ ๑๐_เสรมิ สาระ ๑๑_ส่ือเสริมการเรียนรู้ บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๓หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. อธบิ ำยสังฆคุณและข้อธรรมสำคญั ในกรอบอรยิ สจั ๔ หรือหลกั ธรรมของศำสนำที่ตนนับถือตำมทีก่ ำหนด ๒. เห็นคุณคำ่ และวิเครำะห์ กำรปฏิบตั ิตนตำมหลกั ธรรมในกำรพฒั นำตน เพื่อเตรยี มพรอ้ มสำหรบั กำรทำงำนและกำรมคี รอบครวั ได้

พระรตั นตรัย • พระพทุ ธศำสนำมีองคป์ ระกอบสำคัญสำมประกำร คือ พระรัตนตรัย ซึ่งแปลว่ำ แก้วประเสริฐ ๓ ดวง อันได้แก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ พระพุทธ • องค์สมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ผู้เป็นศำสดำของศำสนำ ผู้ทรงค้นพบสัจธรรมโดย กำรตรสั รเู้ อง และสอนใหผ้ ู้อนื่ ร้ตู ำม พระธรรม • คำส่ังสอนของพระพุทธเจ้ำทั้งที่เป็นคำอธิบำยเก่ียวกับควำมเป็นจริงของชีวิต และคำสอนให้ปฏบิ ัติดีต่อกัน พระสงฆ์ • หมู่สำวกท่ีศึกษำและปฏิบัติตำมคำสอนของพระพุทธเจ้ำ และเผยแผ่คำสอนแก่ คนท่วั ไป

พระรตั นตรัย • แต่ละองค์ประกอบจะมีคณุ ลักษณะแตกต่ำงกัน ในทีน่ ้จี ะกล่ำวถงึ สงั ฆคุณ ๙ คือ คณุ ของพระสงฆ์ ๙ ประกำร สุปฏิปนโฺ น เป็นผปู้ ฏิบัตดิ ี อุชปุ ฏิปนโฺ น เปน็ ผู้ปฏิบตั ิตรง ญายปฏปิ นโฺ น เป็นผปู้ ฏิบตั ิเปน็ ธรรม สามีจิปฏิปนโฺ น อาหเุ นยโฺ ย เปน็ ผู้ปฏิบตั ิสมควร ปาหเุ นยโฺ ย เปน็ ผ้คู วรแก่ของคำนับ ทกขฺ เิ ณยโฺ ย อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรบั อนุตตฺ ร ปญุ ญฺ กเฺ ขตตฺ โลกสสฺ เป็นผู้ควรแกข่ องทำบญุ เปน็ ผ้คู วรกรำบไหว้ เป็นเน้อื นำบญุ อันเยี่ยมยอดของชำวโลก

อริยสัจ ๔ ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรร)ู้ อริยสัจ ๔ สมทุ ัย (ธรรมท่ีควรละ) นโิ รธ (ธรรมท่คี วรบรรลุ) มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ ) หลกั คาสอนสาคัญ อนั เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา

อริยสจั ๔ ทกุ ข์ (ธรรมท่ีควรรู้) • ทกุ ข์ ควำมจรงิ วำ่ ด้วยทกุ ข์ ควำมไม่สบำยกำย ไมส่ บำยใจ หลกั ธรรมท่ีควรรูเ้ พ่ือใหร้ ู้ควำมจริงของกำรเกดิ ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ขันธ์ ๕ รปู เวทนำ สัญญำ สงั ขำร วญิ ญำณ

อรยิ สัจ ๔ ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) • ทุกข์ ควำมจรงิ วำ่ ด้วยทกุ ข์ ควำมไมส่ บำยกำย ไมส่ บำยใจ หลกั ธรรมที่ควรรู้เพื่อใหร้ ู้ควำมจริงของกำรเกิดทุกข์ ได้แก่ ภำวะทีไ่ ม่คงทนถำวรหรอื ภำวะท่ไี มเ่ ทยี่ ง ภำวะท่ไี มม่ ตี วั ตน อนิจจตำ อนตั ตตำ ไตรลกั ษณ์ ทกุ ขตำ ภำวะที่ทนไม่ได้หรอื ภำวะท่ขี ัดแย้งไม่สมบรู ณ์

อรยิ สัจ ๔ สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) • สมทุ ัย สำเหตุแหง่ กำรเกดิ ควำมทุกข์ หลกั ธรรมท่ีควรละเพื่อไมใ่ หเ้ กิดควำมทุกข์ ไดแ้ ก่ กิเลสวัฏฏะ วิบากวฏั ฏะ หลักกรรม กรรมวัฏฏะ (วฏั ฏะ ๓) สังสำรวัฏ คอื กำรเวยี นวำ่ ยตำยเกดิ กำรไมห่ ลุดพ้นจำกกเิ ลส

อรยิ สัจ ๔ สมุทยั (ธรรมท่คี วรละ) • สมทุ ัย สำเหตุแหง่ กำรเกิดควำมทุกข์ หลักธรรมที่ควรละเพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดควำมทกุ ข์ ได้แก่ ปปญั จธรรม ๓ เครื่องทที่ ำให้เนิ่นช้ำ คือ กเิ ลสทที่ ำใหก้ ำรศึกษำและปฏิบัตติ ำมพุทธธรรมไม่ ดำเนินไปดว้ ยดี มี ๓ ประกำร ตัณหำ • ควำมเห็นแก่ตัว มีควำมโลภอยำกได้ของของผู้อ่ืนโดยมิชอบ จะทำอะไรจะก็คิดถึงแต่ใน มำนะ ประโยชน์ของตน ทฏิ ฐิ • ควำมถอื ตัว ทนงตัว สำคัญตนว่ำเปน็ นนั่ เป็นนี่ คดิ ว่ำตนเองเหนือกวำ่ เด่นกว่ำผูอ้ ่นื แสดงตน ข่มขผู่ อู้ ื่น คิดวำ่ ตวั เองดีที่สดุ • ควำมยดึ ติดในควำมเหน็ ของตน งมงำยโดยปรำศจำกเหตุผล ไม่ยอมรับฟังควำมเห็นของผู้อ่ืน คดิ วำ่ ควำมเชื่อของตนเองถูกเสมอ

อรยิ สัจ ๔ นโิ รธ (ธรรมทค่ี วรบรรลุ) • นิโรธ ควำมดับทุกข์ ปลดปล่อย หลักธรรมท่ีควรบรรลเุ พือ่ ดบั ทกุ ข์ ได้แก่ อัตถะ อัตถะ คุณประโยชน์ของกำรปฏิบัติตำมพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ำ ประโยชน์ที่ผู้ ปฏบิ ตั ธิ รรมจะพงึ ไดร้ บั แบ่งเปน็ ๓ ประเภท สงู ตำ่ ตำมภมู ธิ รรมทปี่ ฏิบตั ิ ทิฏฐธมั มิกัตถะ (ประโยชน์ข้ันต้น) สมั ปรำยกิ ตั ถะ (ประโยชนข์ ั้นกลำง) ปรมัตถะ (ประโยชน์ข้นั สูงสุด)

อริยสจั ๔ นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) ชื่อหลกั ธรรม ความหมาย แนวทางการปฏิบัติ ทฏิ ฐธมั มกิ ัตถะ • ประโยชนเ์ ฉพำะหน้ำหรือผลท่ีมองเห็นอยู่ • มคี วำมขยนั หมน่ั เพยี รในกำรทำงำน ในชีวิตประจำวัน เช่น ลำภ ยศ สรรเสริญ • รจู้ ักเกบ็ รักษำ คุ้มครองโภคทรพั ย์ของตน (ประโยชนข์ ั้นต้น) สขุ ฐำนะ • รู้จกั คบคนทเ่ี ป็นมติ ร • รู้จักกำหนดรำยได้ รำยจ่ำย เล้ียงชีวติ แตพ่ อดี สัมปรายกิ ตั ถะ • ประโยชน์เบ้ืองหน้ำ เป็นประโยชน์ที่มี • เชอ่ื อย่ำงมเี หตผุ ล (ประโยชน์ข้ันกลำง) คุณค่ำของชีวิต ควำมเจริญงอกงำมแห่ง • มศี ีลสมบูรณ์ตำมประเภทของแตล่ ะบุคคล ชีวิตจิตใจ เช่น มีเหตุผล ฉลำด รอบรู้ • เปน็ ผู้เสียสละกิเลสควำมเห็นแก่ตวั ปรมัตถะ แกไ้ ขปัญหำชีวิตได้ • มีปัญญำ เข้ำใจชีวิต แกป้ ัญหำชวี ิตได้ (ประโยชน์ขั้นสูงสดุ ) • ประโยชน์ท่ีเป็นสำระแท้จริงของชีวิต • ต้องปฏิบัติตำมหลักอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ ได้แก่ รู้เท่ำทันสภำวะของสิ่งท้ังหลำย เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจำชอบ ทำกำรงำนชอบ ตำมควำมเป็นจริง มีจิตสะอำด สงบ เล้ียงชีพชอบ พยำยำมชอบ ต้ังสติชอบ และต้ังจิต เรียกว่ำ นพิ พำน มั่นชอบ

อรยิ สัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) • มรรค ทำงแหง่ ควำมดบั ทุกข์ หลักธรรมที่ควรปฏิบัตเิ พื่อเป็นทำงไปสูค่ วำมดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ มรรคมีองค์ ๘ มรรคมีองค์ ๘ หรือ “ทุกขนิโรธคำมินีปฏิปทำ” แปลว่ำ “ทำง” หรือ “มรรควธิ ที จ่ี ะนำไปสคู่ วำมดบั ทุกข์หรอื ดบั ตัณหำ” สมั มำทฐิ ิ สัมมำอำชวี ะ สมั มำสงั กัปปะ สัมมำวำยำมะ สัมมำวำจำ สมั มำสติ สัมมำกัมมันตะ สัมมำสมำธิ

อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) ชอ่ื หลกั ธรรม ความหมาย แนวทางการปฏิบัติ สมั มาทิฐิ ควำมเห็นชอบ : ควำมเขำ้ ใจในทำงท่ีถูกตอ้ ง • เขำ้ ใจว่ำอะไรคือทุกข์ อะไรคอื สำเหตุแห่งทกุ ข์ อะไรคือกำรดับทุกข์ และอะไรที่จะนำไปส่กู ำร ดับทกุ ข์ • เขำ้ ใจว่ำอะไรคือควำมดคี วำมชว่ั • เข้ำใจหลักปฏจิ จสมุปบำท สัมมาสงั กัปปะ ควำมดำริชอบ : ควำมคดิ ในทำงท่ีถูกท่คี วร • ควำมคิดทป่ี ลอดโปรง่ ไม่หมกมนุ่ ในกำมคุณ • ควำมคิดท่ีไมพ่ ยำบำทมงุ่ ร้ำยใคร สัมมาวาจา เจรจำชอบ : งดเว้นจำกกำรพูดจำในทำงที่ไม่ • งดเวน้ จำกกำรพูดเทจ็ ถูกไม่ควร • งดเว้นจำกกำรพดู สอ่ เสยี ด • งดเวน้ จำกกำรพูดหยำบคำย • งดเว้นจำกกำรพดู เพ้อเจ้อ

อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ช่อื หลกั ธรรม ความหมาย แนวทางการปฏบิ ตั ิ สมั มากมั มันตะ ทำกำรงำนชอบ : กำรกระทำที่เป็น • งดเวน้ จำกกำรทำลำยชีวิตผูอ้ นื่ กำยสจุ ริต • งดเวน้ จำกกำรขโมยของผอู้ ื่น • งดเวน้ จำกกำรประพฤติผิดในกำม สัมมาอาชีวะ เลย้ี งชีพชอบ : กำรทำมำหำกนิ ที่สุจริต • เชื่องดเว้นจำกกำรประกอบอำชีพท่ีใช้ สมั มาวายามะ วิธกี ำรโกง • งดเวน้ จำกกำรประกอบอำชีพ ๕ ประเภท พยำยำมชอบ : ควำมเพียรพยำยำมทำงจิต ๔ • เพยี รระวงั ไม่ให้ควำมชั่วเกิดขนึ้ ประกำร • เพียรละควำมช่ัวทเี่ กิดข้นึ แลว้ • เพียรรกั ษำควำมดีที่ยงั ไม่เกิดให้เกดิ ขึ้น • เพียรรักษำควำมดีท่ีเกิดขึ้นแล้วไม่ให้เส่ือมหรือให้ เจริญยิ่งๆ ขนึ้ ไป

อริยสจั ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ช่อื หลักธรรม ความหมาย แนวทางการปฏิบตั ิ สัมมาสติ ตั้งสติชอบ : กำรต้ังสติพิจำรณำสิ่งทั้งหลำย • พิจำรณำกำย ตำมควำมเป็นจรงิ • พจิ ำรณำเวทนำ สมั มาสมาธิ • พจิ ำรณำจิต • พจิ ำรณำธรรมใหเ้ กิดปัญญำ ต้ังจิตมน่ั ชอบ : กำรตงั้ จติ ให้แนว่ แน่ ไมฟ่ ุ้งซำ่ น • ทำจติ ใจให้สงบ • ระงับกเิ ลส • ให้มอี ำรมณ์แนว่ แนเ่ ป็นหนง่ึ เดียว

อรยิ สัจ ๔ มรรค (ธรรมทคี่ วรเจริญ) • มรรค ทำงแห่งควำมดับทุกข์ หลกั ธรรมที่ควรปฏิบตั เิ พือ่ เปน็ ทำงไปสู่ควำมดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ จนิ ตามยปัญญา ปญั ญำท่ีเกดิ จำกกำรคดิ สตุ มยปญั ญา ภาวนามยปญั ญา ปัญญำที่เกิดจำกกำรฟัง ปญั ญำทเ่ี กิดจำกกำรลงมือทำ ปญั ญำ ๓ ควำมรู้ทั่วถึง รู้แจ่มแจ้งหรือรู้ตลอดหมด ถ้ำรู้ไม่ทั่วถึง รู้ไม่ แจม่ แจง้ โดยตลอด ไมน่ บั วำ่ เป็นปัญญำทีแ่ ทจ้ รงิ

อรยิ สจั ๔ มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) • มรรค ทำงแห่งควำมดบั ทกุ ข์ หลักธรรมท่ีควรปฏบิ ัติเพอื่ เป็นทำงไปสคู่ วำมดับทกุ ข์ ได้แก่ บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ บญุ คอื ควำมดี กำรทำบญุ คอื กำรทำควำมดี กำรชำระจติ ใจให้บริสุทธ์ิก็เป็น กำรทำบุญอย่ำงหน่ึง ในทำงพระพุทธศำสนำกำรทำบุญน้ันสำมำรถกระทำได้ ๑๐ ทำง ๑.ทำบุญด้วยกำรให้ (ทานมยั ) ๖.ทำบญุ ดว้ ยกำรเฉล่ยี ส่วนควำมดใี หผ้ อู้ ่นื (ปัตตทิ านมยั ) ๒.ทำบญุ ดว้ ยกำรรกั ษำศีล (สลี มัย) ๗.ทำบญุ ด้วยกำรยินดใี นควำมดีของผอู้ ่นื (ปตั ตานุโมทนามัย) ๓.ทำบญุ ด้วยกำรอบรมจติ ใจ (ภาวนามัย) ๘.ทำบุญด้วยกำรฟังธรรม (ธมั มัสสวนมยั ) ๔.ทำบุญด้วยกำรประพฤตอิ ่อนนอ้ ม (อปจายนมยั ) ๙.ทำบญุ ด้วยกำรสั่งสอนธรรม (ธัมมเทสนามยั ) ๕.ทำบญุ ด้วยกำรรับใช้ (เวยยาวัจจมยั ) ๑๐.ทำบุญดว้ ยกำรทำควำมเหน็ ใหต้ รง (ทฏิ ฐชุ ุกมั ม์)

อริยสจั ๔ มรรค (ธรรมทีค่ วรเจรญิ ) • มรรค ทำงแหง่ ควำมดบั ทกุ ข์ หลกั ธรรมท่ีควรปฏบิ ตั ิเพ่อื เป็นทำงไปสคู่ วำมดบั ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ อบุ าสกธรรม ๗ • หม่ันไปวัด พบปะพระสงฆ์ผทู้ รงศลี หมน่ั สนทนำธรรม • หมน่ั ฟงั ธรรม ฟังเทศนำ ศกึ ษำหำควำมรู้ หำควำมจรงิ หลกั คำสอนของพระพุทธเจำ้ • ฝึกตนเองให้มรี ะเบยี บวนิ ัย มีศีล ประพฤตใิ นส่ิงท่ีดงี ำม สำหรบั ผ้คู รองเรือน • สร้ำงควำมรู้สกึ ดีงำม มีควำมเล่อื มใสต่อพระสงฆท์ วั่ ไป • ฟงั ศกึ ษำ เล่ำเรยี นพระธรรมคำสอนดว้ ยจิตทเ่ี ป็นกุศล บ่งบอกหน้ำทข่ี องพุทธศำสนิกชน • ไม่แสวงหำเขตบุญนอกหลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ ทพี่ ึงปฏบิ ัติต่อพระพทุ ธศำสนำ • เอำใจใส่ทำนบุ ำรงุ รักษำพระพุทธศำสนำดว้ ยวิธกี ำรตำ่ งๆ

อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) • มรรค ทำงแหง่ ควำมดับทุกข์ หลกั ธรรมที่ควรปฏบิ ัติเพ่อื เปน็ ทำงไปสู่ควำมดับทุกข์ ไดแ้ ก่ มงคล ๓๘ ธรรมอันนำมำซ่ึงควำมสุขควำมเจริญ มีทั้งหมด ๓๘ ประกำร ในที่น้ีจะ กล่ำวถึงบำงขอ้ มีศลิ ปวิทยา พบสมณะ • ควำมร้หู รือวชิ ำท่ชี ่วยในกำรทำงำน ประกอบอำชีพ เล้ียงตน • สำมำรถเห็นไดท้ ำงตำและทำงปัญญำ เห็นทำงตำ คือ กำร และครอบครัวใหม้ คี วำมสขุ ในกำรฝึกฝนตนเองให้เกิดควำม เห็นบุคคลที่ปลงผม นุ่งห่มเหลือง ส่วนกำรเห็นทำงปัญญำ ชำนำญในวชิ ำชพี น้ัน มีขอ้ แนะนำ ดังนี้ เป็นกำรเห็นควำมดีท่ีในตัวบุคคลที่เป็นสมณะ กำรเห็น ส ม ณ ะ ท ำ ใ ห้ เ ร ำ เ ห็ น ชี วิ ต ท่ี บ ริ สุ ท ธิ์ ส ง บ ดั ง นั้ น ๑.ตอ้ งชอบ พทุ ธศำสนิกชนควรหม่นั ไปพบปะสนทนำกบั พระสงฆ์ เพื่อ ๒.ต้องถนัด ถวำยอำหำรและของใช้จำเป็น รวมทั้งสนทนำธรรมกับ ๓.ต้องรทู้ ฤษฎี ทำ่ นเพอ่ื ให้เกิดปัญญำ ๔.ต้องฝกึ ปฏิบัติ ๕.ต้องมีวนิ ยั และฟังมำก

อริยสจั ๔ มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) • มรรค ทำงแห่งควำมดบั ทกุ ข์ หลกั ธรรมที่ควรปฏบิ ัตเิ พอ่ื เปน็ ทำงไปสคู่ วำมดับทกุ ข์ ไดแ้ ก่ มงคล ๓๘ ธรรมอันนำมำซ่ึงควำมสุขควำมเจริญ มีทั้งหมด ๓๘ ประกำร ในท่ีน้ีจะ กลำ่ วถงึ บำงขอ้ ฟังธรรมตามกาล การสนทนาธรรมตามกาล • เวลำที่ควรฟังธรรม ได้แก่ วันธรรมสวนะ วันสำคัญทำง • กำรที่บุคคล ๒ คนข้ึนไปพูดถึงปัญหำเก่ียวกับควำมดี พระพุทธศำสนำ รวมท้ังฟังธรรมทุกครั้งท่ีมีผู้แสดงธรรม ควำมชั่ว ควำมควรไม่ควร ระหว่ำงสนทนำ ควรรักษำ และมขี ้อควรปฏิบัตใิ นกำรฟังธรรม ดังนี้ มำรยำท ไม่ควรดูหมิ่นคู่สนทนำ ควรตั้งใจฟังแล้ว พิจำรณำไตร่ตรอง กำรสนทนำธรรมก่อให้เกิดประโยชน์ ๑.ควรมศี รัทธำในตวั ผู้แสดงธรรม โดยทำให้เกิดควำมแตกฉำนในเร่ืองที่สนทนำ ทำให้รู้จัก ๒.ไม่ดหู มิ่นธรรมทท่ี ำ่ นแสดง ตนเองมำกขน้ึ และทำใหก้ เิ ลสในใจเบำบำง ๓.ทำดว้ ยควำมตั้งใจ ๔.นำเอำหลกั ธรรมไปปฏิบตั ิ

ปฏิบัติตามหลกั ธรรมสาหรบั การทางานและการมคี รอบครัว หลกั กำรสร้ำงปัญญำ (วฑุ ฒิธรรม ๔) คบหำสตั บุรุษและบัณฑติ วุฑฒธิ รรม ๔ เอำใจใส่เล่ำเรยี นหำควำมจริง (สัปปุรสิ สงั เสวะ) (สทั ธัมมัสสวนะ) ๑ ธรรมทพี่ ำไปสู่ควำมเจรญิ ๒ ๔ ประกำร ๓ ๔ ใชเ้ หตผุ ลไตรต่ รอง ทสี่ ำมำรถนำไปปรับใช้ ปฏิบตั ติ ำมทำนองคลองธรรม (โยนโิ สมนสกิ าร) สรำ้ งปญั ญำให้แกต่ นเองได้ (ธัมมานธุ ัมมปฏิปตั ติ)

ปฏิบตั ิตามหลักธรรมสาหรับการทางานและการมคี รอบครวั หลกั กำรสร้ำงควำมสำเรจ็ ในกำรทำงำน (อิทธิบำท ๔) ๒ อทิ ธิบาท ๔ วิรยิ ะ ๔ “ทำงแห่งควำมสำเร็จ” ควำมเพยี ร วมิ ังสา เปน็ เคร่อื งมือท่ีจะพำเรำไปสู่ ๑ กำรพจิ ำรณำ ควำมสำเร็จ มี ๔ ประกำร ฉนั ทะ สอบสวน ควำมพอใจ ๓ จติ ตะ กำรตงั้ จิตใจ ใหแ้ น่วแน่

ปฏิบัตติ ามหลกั ธรรมสาหรับการทางานและการมีครอบครัว หลกั กำรสร้ำงตนเป็นคนดี (สัปปรุ สิ ธรรม ๗) สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ ธรรมทที่ ำให้คนเปน็ คนดี มี ๗ ประกำร ร้จู กั เหตุ • รู้จักคดิ วำ่ สรรพส่ิงท่เี กดิ ข้นึ ล้วนแตม่ เี หตุ มใิ ช่เกดิ ข้ึนลอยๆ รูจ้ กั ผล • รวู้ ำ่ เหตเุ กิดจำกอะไรแลว้ ก็คำนงึ ถงึ ผลทต่ี ำมมำ เชน่ เกเร ติดยำเสพตดิ ชีวิตในอนำคตกจ็ ะมดื มน รู้จักตน • รจู้ ักฐำนะของตน มคี วำมรคู้ วำมสำมำรถแค่ไหน วำงตนใหเ้ หมำะสมกับฐำนะ ไมล่ มื ตน รูจ้ กั ประมำณ • รจู้ กั พอดี กำรเรยี น กำรกิน กำรเที่ยว กำรนอน กำรจับจ่ำยใช้สอยทกุ อย่ำงล้วนตอ้ งให้พอดี พอเหมำะ รู้จักกำล • ต้องปรบั ตัวเองและกำรทำงำนให้เหมำะสมกบั กำลเวลำ รู้จักใชเ้ วลำและร้จู ักทำงำนใหเ้ หมำะกับเวลำ รูจ้ กั ชุมชน • รจู้ กั วำ่ ชมุ ชนหรอื สงั คมมีระเบยี บแบบแผนหรือวฒั นธรรมอย่ำงไร แล้วปฏิบัตติ นให้ถกู ต้อง รู้จกั บุคคล • รู้จักเลือกคนว่ำ คนใดควรคบไมค่ วรคบ ถำ้ คบคนผิดแลว้ ย่อมหำควำมเจรญิ ไดย้ ำก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook