Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 1

เล่มที่ 1

Published by jiteitsara, 2020-06-21 04:42:18

Description: เล่มที่ 1

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การขบั ร้องเพลงไทยสากล เล่มที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล รายวิชาการขบั ร้อง ศ21201 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง การขบั ร้องเพลงไทยสากล มี วตั ถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบการจดั การเรียนรู้ และช่วยให้นักเรียนมีความ เขา้ ใจบทเรียนไดง้ า่ ยข้ึน ซ่ึงนกั เรียนสามารถศึกษาไดด้ ว้ ยตนเอง เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี ประกอบดว้ ยเน้ือหาที่เป็นรายละเอียด เกี่ยวกบั ความหมายของการขบั ร้องเพลง ประเภทของการขบั ร้องเพลง ประวตั ิ ความเป็นมาและวิวฒั นาการของเพลงไทยสากล หลกั การสร้างความพร้อมใน การขบั ร้องเพลง และท่าทางการยนื ขบั ร้องเพลง ที่นกั เรียนควรศึกษาใหเ้ ขา้ ใจ เพอื่ จะไดน้ าไปปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอยา่ งยิ่งว่า เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี จะเป็ น ประโยชน์ต่อนกั เรียนและผูท้ ่ีสนใจ โอกาสน้ีขอขอบพระคุณผูเ้ ชี่ยวชาญ และผูท้ ี่ เกี่ยวขอ้ งทุกท่านที่มีส่วนทาให้เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ดว้ ยดี พรศกั ด์ิ ไพรสินธุ์

สำรบญั หน้ำ คานา .......................................................................................................... สารบญั ....................................................................................................... คาช้ีแจงในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน .............................................. 1 สาระสาคญั ................................................................................................ 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ................................................................................ 2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ................................................................................ 2 สาระการเรียนรู้ .......................................................................................... 2 แบบทดสอบก่อนเรียน ............................................................................... 3 ใบความรู้ .................................................................................................... 7 ใบกิจกรรม ................................................................................................. 17 แบบทดสอบหลงั เรียน ............................................................................... 20 บรรณานุกรม ............................................................................................. 23 ภาคผนวก ................................................................................................... 24 เฉลยใบกิจกรรม ............................................................................. 25 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลงั เรียน ......................................... 28

1 คำชี้แจงกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง การขบั ร้องเพลงไทยสากล เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล รายวิชาการขบั ร้อง ศ21201 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ไดจ้ ดั ลาดบั ข้นั ตอนในการเรียนรู้เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีความเขา้ ใจบทเรียนไดง้ ่ายและสามารถศึกษา ไดด้ ว้ ยตนเอง ตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ศึกษาทาความเขา้ ใจสาระสาคญั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั และจุดประสงค์ การเรียนรู้ของเอกสารประกอบการเรียน เล่มที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ขอ้ 3. ศึกษาเน้ือหาสาระจากใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การขบั ร้อง เพลงไทยสากล ใหเ้ ขา้ ใจ 4. ศึกษาใบกิจกรรมใหเ้ ขา้ ใจ จากน้นั ทากิจกรรมตามคาช้ีแจงทุกข้นั ตอน ถา้ มีขอ้ สงสยั ใหส้ อบถามเพือ่ น หรือถา้ ยงั ไม่เขา้ ใจใหป้ รึกษาครูผสู้ อน 5. เมื่อทาใบกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ขอ้ ดว้ ยความซ่ือสัตยต์ ่อตนเอง 6. เม่ือทาแบบทดสอบหลงั เรียนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหน้ กั เรียนตรวจคาตอบ เพ่อื ประเมินคะแนนของตนเอง โดยเปิ ดดูเฉลยแบบทดสอบในภาคผนวก 7. สรุปผลคะแนนที่ไดล้ งในกระดาษคาตอบ เพ่อื ทราบผลการเรียนและพฒั นา การเรียนรู้ของตนเอง 8. เกณฑก์ ารประเมินผลคะแนนทดสอบหลงั เรียน มีคะแนนเตม็ 10 คะแนน ผทู้ ่ีผา่ นเกณฑต์ อ้ งได้ 8 คะแนนข้ึนไป หากไม่ผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนสามารถ ซ่อมเสริมได้ โดยนาเอกสารประกอบการเรียนมาศึกษาและทากิจกรรมซ้า จนกวา่ จะผา่ นเกณฑต์ ามท่ีกาหนดไว้ หมำยเหตุ : เน่ืองจากนกั เรียนตอ้ งส่งเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มคนื ครูผสู้ อน จึงตอ้ งใชก้ ระดาษคาตอบและใบกิจกรรมสารองประจาแตล่ ะเล่มที่ครูผสู้ อนแจกให้

2 สำระสำคัญ การร้องเพลงไทยสากลได้รับความนิยมและเป็ นที่สนใจของคนทั่วไป ดงั น้ันเราจึงควรเขา้ ใจในความหมาย ประเภทของการขบั ร้องเพลง ศึกษาประวตั ิ ความเป็ นมาของเพลงไทยสากล รวมถึงหลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้อง เพลง เพื่อจะไดน้ าไปปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวงั 1. รู้จกั และเขา้ ใจถึงความหมาย ประเภท ประวตั ิความเป็นมาและวิวฒั นาการ ของเพลงไทยสากล 2. เขา้ ใจหลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้องเพลง จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. รู้จกั และเขา้ ใจความหมาย ประเภทของการขบั ร้องเพลง 2. รู้จกั ประวตั ิความเป็นมา และววิ ฒั นาการของเพลงไทยสากล 3. เขา้ ใจหลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้องเพลงไทยสากล 4. เห็นคุณค่า และความสาคญั ของการขบั ร้องเพลงไทยสากล สำระกำรเรียนรู้ 1. ความหมาย และประเภทของการขบั ร้องเพลง 2. ประวตั ิความเป็นมา และวิวฒั นาการของเพลงไทยสากล 3. หลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้องเพลงไทยสากล

3 แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล เรื่อง การขบั ร้องเพลงไทยสากล รายวชิ า การขบั ร้อง ศ21201 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 .......................................................................................................................................... คำชี้แจง : จงเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งที่สุดเพียงคาตอบเดียว แลว้ ทาเครื่องหมาย (X) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. การขบั ร้องเพลงไทยสากล จาแนกไดก้ ี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 2. “การขบั ร้องแบบหมู่ธรรมดา” ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง ก. การขบั ร้องคนเดียว ข. การขบั ร้องโดยใชแ้ นวทานองเดียวกนั ค. การขบั ร้องโดยไม่มีเสียงดนตรีประกอบ ง. การขบั ร้องโดยใชท้ านองเพลงต้งั แต่ 2 ทานองข้ึนไป 3. การขบั ร้องเพลงประสานเสียงตรงกบั ขอ้ ใด ก. การขบั ร้องเป็นหมคู่ ณะ ข. การขบั ร้องต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ค. การขบั ร้องโดยใชแ้ นวทานองเดียวกนั ง. การขบั ร้องโดยใชท้ านองเพลงต้งั แต่ 2 ทานองข้ึนไป

4 4. ผทู้ ่ีไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็น “พระบิดาแห่งเพลงไทยสากล” คือใคร ก. เอ้ือ สุนทรสนาน ข. พระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยกร) ค. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วรวรรณากร ง. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้าบริพตั รสุขมุ พนั ธุ์ 5. เพลงไทยสากลเพลงแรกที่แตง่ ทานองตามหลกั โนต้ สากล คือเพลงใด ก. เพลงกลว้ ยไม้ ข. เพลงตะวนั ยอแสง ค. เพลงมาร์ชไตรรงค์ ง. เพลงมาร์ชเลือดทหารไทย 6. เพลงไทยสากลไดถ้ ูกแบ่งเป็นเพลงลกู กรุง และเพลงไทยลูกทุ่ง เม่ือปี ใด ก. พ.ศ. 2482 ข. พ.ศ. 2507 ค. พ.ศ. 2516 ง. พ.ศ. 2521 7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้อง ก. พกั ผอ่ นวนั ละ 6-8 ชวั่ โมง ข. หมน่ั ออกกาลงั กายเป็ นประจา ค. ปล่อยใหท้ อ้ งวา่ งเพื่อสร้างพลงั เสียง ง. ฝึกหดั อยา่ งต่อเนื่องวนั ละ 20-30 นาที สปั ดาหล์ ะ 5-6 วนั 8. บคุ คลใดขอ้ ใด ยนื ร้องเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง ก. กิ่ง ยนื ร้องเพลงตามสบาย ข. ดิว ยนื ตวั ตรง และเทา้ ชิดกนั ค. โดม ยนื โดยใหป้ ลายเทา้ เทา่ กนั ง. แกรนดย์ นื ร้องเพลงโดยแยกปลายเทา้ ออกจากกนั เลก็ นอ้ ย

5 9. เมื่อตอ้ งการมีพลงั เสียงในการร้องเพลง ควรปฏิบตั ิตนตามบุคคลในขอ้ ใด ก. โตโน่ ด่ืมน้าเยน็ เป็นประจา ข. สิงโต ออกกาลงั กายเป็นประจา ค. แกม้ กินอาหารที่มีรสจดั เป็นประจา ง. กนั ต์ ด่ืมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลเ์ ป็นประจา 10. ท่าทางการยนื ขบั ร้องเพลง ขอ้ ใดไม่เหมาะสม ก. ยนื ขบั ร้องเพลงตามสบาย ข. ยนื ใหน้ ้าหนกั ของร่างกายลงบนเทา้ ท้งั 2 ขา้ งเท่ากนั ค. ยนื ใหป้ ลายเทา้ แยกกนั เลก็ นอ้ ย ความกวา้ เสมอช่วงไหลข่ องผขู้ บั ร้อง ง. ยนื ใหโ้ ครงสร้างของร่างกายอยใู่ นลกั ษณะท่ีต้งั ตรงมีการจดั ระเบียบที่ดี

6 กระดาษคาตอบ เลม่ ท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล เรื่อง การขบั ร้องเพลงไทยสากล รายวชิ าการขบั ร้อง ศ21201 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ชื่อ..........................................................................................................เลขท่ี.................. ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลงั เรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 ประเมินผล สรุปผลกำรเรียน หลงั เรียน เตม็ 10 ได้ ก่อนเรียน 10

7 ใบควำมรู้ ควำมรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั กำรขบั ร้องเพลงไทยสำกล ควำมหมำยของกำรขับร้องเพลง กำรขับร้องเพลง คือ การเปล่งเสียงออกมาเป็ นทานองอย่างไพเราะ ถอ้ ยคา ถูกตอ้ งชัดเจนสอดคลอ้ งกบั ลีลาจงั หวะ และอารมณ์อย่างเป็ นธรรมชาติ ตามหลกั และ วธิ ีการขบั ร้องสากล การขบั ร้องเพลงสามารถทาไดใ้ นโอกาสต่าง ๆ เช่น ร้องเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่เพ่ือน ร้องในชุมชนเพ่ือกระตุน้ ใหเ้ กิดความสามคั คี ร้องเพ่ือการประกวดแข่งขนั เป็ นตน้ ประเภทของกำรขบั ร้องเพลง การขับรอ้ งเพลงเดยี่ ว การขับร้องเพลงไทยสากล สามารถจาแนกการร้องเพลงออกได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การขบั ร้องเดี่ยว หมายถึง การร้องคนเดียว ซ่ึงอาจจะมีดนตรี ประกอบหรือไม่มีก็ได้ ผูร้ ้องจะต้อง แม่นยาในเร่ืองของจงั หวะและทานอง เพลง นอกจากน้ีผูร้ ้องจะต้องมีเสียง ที่ไพเราะมีน้ าเสี ยงเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะตวั ไม่ลอกเลียนแบบเสียงของ ผอู้ ่ืน ที่มา : พรศกั ด์ิ ไพรสินธ์ุ. เมื่อวันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2553

8 2. การขบั ร้องหมู่ หมายถึง การร้องต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ซ่ึงอาจจะมีดนตรี หรือไม่มีดนตรีประกอบกไ็ ด้ การขบั ร้องหมแู่ บ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ การขบั ร้อง แบบหมธู่ รรมดา และการขบั ร้องแบบหมู่ประสานเสียง 2.1 การขบั ร้องแบบหมู่ธรรมดา เป็ นการขบั ร้องเพลงท่ีใชแ้ นวทานอง เดียวกนั มีระดบั เสียงเดียวกนั ตลอดบท ถึงแมจ้ ะมีผรู้ ้องเป็ นจานวนมาก ถา้ ร้องทานอง เดียวกนั ก็ถือวา่ เป็นการขบั ร้องหม่แู บบธรรมดา 2.2 การขบั ร้องหมู่แบบประสานเสียง หรือท่ีเรียกกนั ทวั่ ไปว่า “คอรัส” เป็นการขบั ร้องที่ใชท้ านองเพลงต้งั แต่ 2 ทานองข้ึนไป ซ่ึงอาจเป็ นเพลงเดียวกนั หรือ คนละเพลงก็ได้ ซ่ึงในหลาย ๆ ทานองน้นั จะมีอยทู่ านองหน่ึงที่เป็ นทานองหลกั ส่วน ทานองอ่ืน ๆ จะเป็นทานองประสาน การขับร้องเพลงหมแู่ บบธรรมดา ท่ีมา : พรศักด์ิ ไพรสินธ์ุ. เมื่อวันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2553

9 เพลงไทยสำกล เพลงไทยสำกล เป็ นเพลงที่ขบั ร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนาทานองไทย เดิมใส่เน้ือร้องบรรเลงและขบั ร้อง โดยใชม้ าตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จนเป็ น เพลงไทยแนวใหม่ ประวตั คิ วำมเป็ นมำและววิ ฒั นำกำรของเพลงไทยสำกล ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 4 ทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้มีการใช้ดนตรีแตรวงบรรเลงประกอบการฝึ กทหาร ต่อมาในรัชสมยั รัชกาลท่ี 5 Jacob Feit (ผูเ้ ป็ นบิดาของพระเจนดุริยางค์) ชาวอเมริกนั เช้ือสายเยอรมัน เขา้ มารับ ราชการเป็นครูแตรวงในพระราชสานกั ของกรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ (วงั หนา้ ) ได้ ปรับปรุงแตรวงทหารในปี พ.ศ. 2420 และเรียกชื่อใหม่ว่า “วงโยธวาทิต” (Military Band) ปี พ.ศ. 2446 สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้าบริพตั รสุขมุ พนั ธุ์ กรมพระ นครสวรรค์ วรพินิต ทรงนิพนธ์เพลงต่างๆ โดยใชโ้ นต้ และจงั หวะแบบสากล และทรง ไดร้ ับการยกยอ่ งเป็น “พระบิดาแห่งเพลงไทยสากล” ปี พ.ศ. 2451 พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วรวรรณากร กรมพระนราธิป ประพนั ธ์พงศ์ ทรงดดั แปลงละครร้องมาจากละครมาเลยท์ ี่เรียกกนั วา่ “มาเลยโ์ อเปร่า” หรือ “บงั สาวนั ” ลกั ษณะของเพลงมีเน้ือร้องมากเอ้ือนนอ้ ยและใหล้ ูกคูเ่ ป็นผเู้ อ้ือนแทน นกั แสดงและทรงต้งั ช่ือคณะละครวา่ “ปรีดาลยั ” ปี พ.ศ. 2455 รัชกาลที่ 6 ทรงสร้างวงดนตรีในราชสานกั เรียกวา่ “วงเคร่ืองสาย ฝรั่งหลวง” และทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั โรงเรียนเพื่อสอนดนตรีทุกประเภทข้ึนที่สวน มิสกวนั ชื่อว่า “โรงเรียนพรานหลวง” จากน้นั ทรงส่งเสริมให้มีการฝึกดนตรีตะวนั ตก ในหม่ขู า้ ราชบริพารและนกั ดนตรีไทย ซ่ึงมีนกั ดนตรีที่ไดร้ ับการยกยอ่ ง ไดแ้ ก่ พระเจน ดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยกร) และเอ้ือ สุนทรสนาน

10 ปี พ.ศ. 2470 จวงจนั ทร์ จนั ทร์คณา (พรานบูรณ์) ประวตั ิ โคจริก (แม่แกว้ ) และสมประสงค์ รัตนทศั นีย์ (เพชรรัตน์) ซ่ึงเป็นผปู้ ระพนั ธ์เร่ืองและเพลงประกอบ ละครสมยั น้ันไดพ้ ฒั นาเพลงประกอบละครโดยการดัดแปลงจากเพลงไทยเดิมท่ีมี ทานองสองช้นั มาใส่เน้ือร้องแทนทานองเอ้ือนใช้ดนตรีคลอเบา ๆ มีลกั ษณะเป็ น “เพลงไทยเดิมสากล” ปี พ.ศ. 2471 มีการริเร่ิมทาเพลงประกอบภาพยนตร์ โดยใชแ้ ตรวงบรรเลง ก่อนและขณะทาการฉายหนัง เพลงที่บรรเลงเป็ นเพลงสากลกบั เพลงไทย เช่น เพลง แบลค็ อีเกิ้ล เพลงมาร์ชบริพตั ร และวอลซป์ ล้ืมจิต ปี พ.ศ. 2474 พรานบูรณ์และเพชรรัตน์ไดน้ าดนตรีสากลประเภทเพลงแจ๊ส (Jazz Band) หรือรหัสดนตรี มาเป็ นส่วนประกอบละคร และนาทานองเพลง “วอลซ์ ปล้ืมจิต” มาใส่เน้ือร้อง จนไดร้ ับความนิยมเป็นอยา่ งมาก และไดแ้ ต่งเพลงไทยสากล ที่มีลีลาทานองอ่อนหวานอาทิเช่น เพลงจนั ทร์เจา้ ขา จนั ทร์สวาท จนั ทร์ลอย จนั ทร์ จาฟ้า จนั ทร์แฝงหมอก และขวญั ของเรียม เป็นตน้ ปี พ.ศ. 2476 ภาพยนตร์เร่ือง “ป่ ูโสมเฝ้าทรัพย”์ โดยมีขนุ วิจิตรมาตราเป็ น ผกู้ ากบั การแสดงและเรือโทมานิต เสณะวนี ินเป็นผปู้ ระพนั ธ์เพลงประกอบภาพยนตร์ ช่ือวา่ “เพลงกลว้ ยไม”้ ซ่ึงนบั เป็นเพลงไทยสากลเพลงแรกท่ีแต่งทานองตามหลกั โนต้ สากลในประวตั ิศาสตร์เพลงของเมืองไทย ปี พ.ศ. 2477 กระทรวงกลาโหมสร้างภาพยนตร์เร่ือง “เลือดทหารไทย” ซ่ึง มีเพลงประกอบจานวน 3 เพลง ไดแ้ ก่ “มาร์ชไตรรงค”์ “ความรักในแม่น้าเจา้ พระยา” และ“มาร์ชเลือดทหารไทย” ซ่ึงประพันธ์โดยเรือโทมานิต เสนะวีณิน และยงั มี ภาพยนตร์อีกหลายเร่ืองท่ีประพนั ธ์โดย เรือโทมานิต และขุนวิจิตรมาตรา เช่น เพลง ตะวนั ยอแสง จากเรื่อง“เลือดชาวนา” และเพลงบวงสรวงจากเร่ือง “เมืองแม่หมา้ ย” เป็ นตน้ ปี พ.ศ. 2478 ทางราชการไดแ้ ต่งเพลงข้ึนอีก 2 เพลง คือ เพลงชาติ และ เพลงเถลิงรัฐธรรมนูญ นอกจากน้ียงั มีเพลงท่ีสาคญั เช่น

11 เพลงรักเมืองไทย เพลงเลือดสุพรรณ เพลงศึกถลาง และเพลงแหลมทอง เป็นตน้ ปี พ.ศ. 2479 นารถ ถาวรบุตร ไดแ้ ต่งเพลง อาทิเช่น พลบั พลึงไพร ชื่นชีวิต แสนอาลยั ใจสนองใจ และเป็นที่นิยมมาก ปี พ.ศ. 2480 ไดม้ ีการสร้างภาพยนตร์ เร่ือง “เพลงหวานใจ” โดยมีขุนวิจิตร มาตราเป็นผแู้ ต่งบท คาร้อง และกากบั การแสดง โดยให้ นารถ ถาวรบุตร เป็ นผูแ้ ต่ง ทานองเพลง ปี พ.ศ. 2482 มีการจดั ต้งั กรมโฆษณาการข้ึน โดยมีวิลาศ โอสถานนท์ เป็ น อธิบดีคนแรก และมีการต้งั วงดนตรีเพื่อบรรเลงเพลงส่งไปกระจายตามสถานีวิทยุ และ ตามสถานท่ีต่าง ๆ มีครูเอ้ือ สุนทรสนาน เป็นหวั หนา้ วง และครูเวท สุนทรจามร เป็น ผูช้ ่วย ต่อมาไดต้ ้งั วงดนตรี “สุนทราภรณ์” ข้ึน ลกั ษณะของวงดนตรีสุนทราภรณ์จะ เป็นแบบตะวนั ตก นบั เป็นจุดเริ่มตน้ ของเพลงไทยสากลในยคุ ปัจจุบนั วงดนตรี “สุนทราภรณ”์ เป็นจุดเริม่ ต้นของเพลงไทยสากลในยคุ ปจั จุบัน ที่มา : www.websuntaraporn.com สืบค้น เมื่อวนั ที่ 20 มนี าคม พ.ศ. 2553

12 ปี พ.ศ. 2507 เพลงไทยสากลไดถ้ ูกแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ เพลงลูกกรุง และเพลงไทยลูกท่งุ โดยมีการจดั ประกวดเพลงไทยสากลแนวใหม่ชิงถว้ ยพระราชทาน คือ เพลงสตริงคอมโบ ซ่ึงวงที่ชนะเลิศ คือ วงดิอิมพอสซิเบิ้ล และไดร้ ับความนิยม อยา่ งมาก “วงดอิ มิ พอสซเิ บ้ลิ ” เป็นวงดนตรสี ตริงคอมโบวงแรกของไทย ที่มา : www.websuntaraporn.com สืบค้น เม่ือวันที่ 20 มนี าคม พ.ศ. 2553 ปี พ.ศ. 2516 ประเทศไทยได้เกิดวิกฤตทางการเมือง คือ เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม เพลงไทยส่วนใหญ่จึงมีเน้ือหาเก่ียวกบั การเมือง สังคม และคนยากไร้ โดยใช้ ดนตรีเรียบงา่ ยอยา่ งกีตาร์โปร่ง หรือท่ีรู้จกั กนั วา่ “เพลงเพอื่ ชีวติ ” ปี พ.ศ. 2521 เพลงแบบสตริงไดร้ ับความนิยมเป็ นอย่างมากไดก้ ่อให้เกิดวง ดนตรีใหม่ ๆ ข้ึนมาเป็ นจานวนมาก เช่น แกรนดเ์ อกซ์ คีรีบูน อสั นี-วสันต์ และเป็ น ที่นิยมจนถึงปัจจุบนั ในปัจจุบันมีแนวเพลงเพ่ิม ข้ึนหลากหลายมากข้ึน กลุ่มผู้ฟังได้แยกแตก กระจายเป็ นกลุ่ม ๆ ตามความชอบของผูฟ้ ัง สาหรับแนวเพลงท่ีเกิดมาในยคุ หลงั เช่น แร็ป ฮิปฮอป เป็นตน้

13 หลกั กำรสร้ำงควำมพร้อมในกำรขับร้องเพลง 1. มีความพยายามและมีเป้าหมายในการฝึ กหัดขบั ร้องเพลงอย่างชดั เจนและ ปฏิบตั ิอยา่ งต่อเนื่องวนั ละ 20-30 นาที สัปดาห์ละ 5-6 วนั โดยจะตอ้ งมีการฝึ กฝนอยา่ ง ต่อเนื่อง 2. มีสถานที่ในการฝึกหัดอยา่ งเหมาะสม คือ มีอากาศถ่ายเทสะดวก หรืออาจจะ เป็ นห้องปรับอากาศเพื่อไม่ให้เสียงไปรบกวนผูอ้ ื่น และสร้างความเป็ นสัดส่วนในการ ฝึกซอ้ มมากยง่ิ ข้ึน 3. สวมเส้ือผา้ ที่เหมาะสมกบั ร่างกายไม่คบั หรือหลวมจนเกินไป เพราะจะทาให้ การหายใจและการเปลง่ เสียง การแสดงทา่ ทางและอารมณ์ต่าง ๆ สามารถปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพ 4. ควรรับประทานอาหารใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ ไม่ควรกินอิ่มหรือปล่อยให้ทอ้ งวา่ ง จนเกินไป อนั จะทาใหข้ าดพลงั เสียงและสมาธิในการขบั ร้อง หลีกเลี่ยงอาหารรสจดั และ ควรด่ืมน้าเปล่า หรือน้าสะอาดมาก ๆ 5. พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอวนั ละ 6-8 ชว่ั โมง งดสูบบุหร่ี เครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ คาเฟอีน และหลีกเล่ียงสถานท่ีที่มีควนั บหุ ร่ีมาก 6. ออกกาลงั กายเป็นประจา เช่น การว่ิง การฝึ กโยคะ แอโรบิค และท่ีสาคญั คือ การวา่ ยน้า เพราะจะช่วยทาให้ปอดขยายตวั ทาให้มีพลงั เสียงในการขบั ร้องไดอ้ ยา่ ง ยาวนานยง่ิ ข้ึน 7. พยายามทาความเขา้ ใจความหมายของเน้ือเพลงท้งั เพลงไทย และเพลงสากล ตามความมุ่งหมายของผูป้ ระพนั ธ์ โดยผูร้ ้องจะตอ้ งรู้จกั แปลความหมายของเน้ือเพลง อยา่ งถูกตอ้ ง 8. ฝึกการออกเสียงภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตามเน้ือร้องของบทเพลงให้ ชดั เจนโดยเนน้ การออกเสียงสระ พยญั ชนะ คาควบกล้ารวมไปถึงการแบ่งวรรคตอนใน การหายใจใหถ้ ูกตอ้ ง 9. ฝึกขบั ร้องเพลงที่ตอ้ งการแบบเจาะลึกเฉพาะตอนท่ียาก จริง ๆ หลายเที่ยวจนไดแ้ ลว้ จึงฝึกร้องใหจ้ นสมบรู ณ์ท้งั เพลง

14 10. การยนื การทรงตวั และท่าทางระหว่างการขบั ร้องเพลงที่ถูกตอ้ งจะช่วย ใหก้ ารเปลง่ เสียงในการขบั ร้องเพลงมีคุณภาพยงิ่ ข้ึน - การยนื ขบั ร้องเพลงที่ถูกตอ้ ง การยืนขบั ร้องเพลงท่ีถูกตอ้ ง คือ ลาตวั ตรง ศีรษะตรง อกผาย ไหล่ผ่ึง ไมเ่ กร็งส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกาย ไม่ปล่อยใหห้ ลงั คอ่ ม ไม่กม้ หนา้ และปลายเทา้ ควรแยกเล็กน้อย โดยความกวา้ งของเท้าเสมอช่วงไหล่ของผูข้ บั ร้อง เพ่ือให้รับ น้าหนักของร่างกายไดพ้ อดี โดยน้าหนกั จะถ่ายลงบนเทา้ ท้งั 2 ขา้ งอยา่ งเท่ากนั ทา ใหส้ ามารถยนื ไดน้ าน และควรวางเทา้ ขา้ งหน่ึงคลอ้ ยมาขา้ งหนา้ เพ่ือการทรงตวั ท่ีมา : พรศักดิ์ ไพรสินธ์ุ. เมื่อวันท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

15 - การยนื ขบั ร้องเพลงที่ไม่ถกู ตอ้ ง การยนื ขบั ร้องเพลงแบบตามสบายจะทาใหบ้ ุคลิกภาพของผขู้ บั ร้องไม่ น่าดู และทาใหร้ ่างกายขาดความมน่ั คงสมดุลและความสวยงาม การยืนขับร้องแบบตามสบายจะทำใหร้ า่ งกายขาดความม่ันคงและความสวยงาม ท่ีมา : พรศักดิ์ ไพรสินธ์ุ. เม่ือวนั ท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

16 การยนื ขบั ร้องเพลงแบบปลายเทา้ เท่ากนั จะเป็นการเกร็งร่างกายจนเกินไป เพราะการยืนในลกั ษณะดงั กล่าวตลอดการขบั ร้องจะทาให้การเคลื่อนไหวร่างกาย การแสดงท่าทาง อารมณ์ ทาไดไ้ ม่สะดวก ไม่เป็ นธรรมชาติ ประกอบกบั การยืน ตรงจะทาให้ระบบลมหายใจทาได้อย่างไม่เต็มท่ีอนั จะส่งผลให้เสียงท่ีเปล่งออกมา ขาดคุณภาพที่สมบูรณ์ การยืนขบั ร้องแบบปลายเทา้ เท่ากัน และ การยืนตรง จะทำให้การเปลง่ เสยี งออกมาไมเ่ ตม็ ที่ ท่ีมา : พรศักด์ิ ไพรสินธ์ุ. เมื่อวันท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

17 ใบกจิ กรรม คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ ูกตอ้ ง (ขอ้ ละ 1 คะแนน) 1. อธิบายความหมายของการขบั ร้องเพลง ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 2. การขบั ร้องเพลง แบง่ ออกไดเ้ ป็นก่ีประเภท จงอธิบาย ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 3. ความแตกต่างของการขบั ร้องเพลงแบบหมธู่ รรมดา กบั การขบั ร้อง แบบประสานเสียง คือ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................

18 4. อธิบายความหมายของเพลงไทยสากล ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 5. จุดเร่ิมตน้ ของเพลงไทยสากลในยคุ ปัจจุบนั เร่ิมเกิดข้ึนในช่วงเวลาใด ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 6. ก่อนการขบั ร้องเพลง ไม่ควรกินอ่ิมจนเกินไป เพราะเหตใุ ด ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 7. การออกกาลงั โดยการวา่ ยน้า จะช่วยเก่ียวกบั พลงั เสียงไดอ้ ยา่ งไร ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................

19 8. การยนื ขบั ร้องเพลงที่ถูกตอ้ ง ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 9. ขณะร้องเพลงไม่ควรยนื ขบั ร้องเพลงแบบตามสบาย เพราะเหตุใด ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ 10. การยนื ขบั ร้องเพลงแบบปลายเทา้ เท่ากนั จะส่งผลอยา่ งไร ตอ่ การร้องเพลง ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................

20 แบบทดสอบหลงั เรียน เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การขบั ร้องเพลงไทยสากล เร่ือง การขบั ร้องเพลงไทยสากล รายวชิ าการขบั ร้อง ศ21201 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 .......................................................................................................................................... คำชี้แจง : จงเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สุดเพยี งคาตอบเดียว แลว้ ทาเครื่องหมาย (X) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. การขบั ร้องเพลงประสานเสียงตรงกบั ขอ้ ใด ก. การขบั ร้องเป็นหมคู่ ณะ ข. การขบั ร้องต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ค. การขบั ร้องโดยใชแ้ นวทานองเดียวกนั ง. การขบั ร้องโดยใชท้ านองเพลงต้งั แต่ 2 ทานองข้ึนไป 2. การขบั ร้องเพลงไทยสากล จาแนกไดก้ ี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 3. ผทู้ ี่ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็น “พระบิดาแห่งเพลงไทยสากล” คือใคร ก. เอ้ือ สุนทรสนาน ข. พระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยกร) ค. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วรวรรณากร ง. สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้าบริพตั รสุขมุ พนั ธุ์

21 4. เพลงไทยสากลเพลงแรกท่ีแต่งทานองตามหลกั โนต้ สากล คือเพลงใด ก. เพลงกลว้ ยไม้ ข. เพลงตะวนั ยอแสง ค. เพลงมาร์ชไตรรงค์ ง. เพลงมาร์ชเลือดทหารไทย 5. “การขบั ร้องแบบหมู่ธรรมดา” ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ก. การขบั ร้องคนเดียว ข. การขบั ร้องโดยใชแ้ นวทานองเดียวกนั ค. การขบั ร้องโดยไม่มีเสียงดนตรีประกอบ ง. การขบั ร้องโดยใชท้ านองเพลงต้งั แต่ 2 ทานองข้ึนไป 6. เม่ือตอ้ งการมีพลงั เสียงในการร้องเพลง ควรปฏิบตั ิตนตามบุคคลในขอ้ ใด ก. โตโน่ ดื่มน้าเยน็ เป็นประจา ข. สิงโต ออกกาลงั กายเป็นประจา ค. แกม้ กินอาหารที่มีรสจดั เป็นประจา ง. กนั ต์ ดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอลเ์ ป็นประจา 7. เพลงไทยสากลไดถ้ กู แบ่งเป็นเพลงลูกกรุง และเพลงไทยลูกท่งุ เม่ือปี ใด ก. พ.ศ. 2482 ข. พ.ศ. 2507 ค. พ.ศ. 2516 ง. พ.ศ. 2521 8. ท่าทางการยนื ขบั ร้องเพลง ขอ้ ใดไมเ่ หมาะสม ก. ยนื ขบั ร้องเพลงตามสบาย ข. ยนื ใหน้ ้าหนกั ของร่างกายลงบนเทา้ ท้งั 2 ขา้ งเทา่ กนั ค. ยนื ใหป้ ลายเทา้ แยกกนั เลก็ นอ้ ย ความกวา้ เสมอช่วงไหลข่ องผขู้ บั ร้อง ง. ยนื ใหโ้ ครงสร้างของร่างกายอยใู่ นลกั ษณะท่ีต้งั ตรงมีการจดั ระเบียบท่ีดี

22 9. ขอ้ ใดไม่ใช่หลกั การสร้างความพร้อมในการขบั ร้อง ก. พกั ผอ่ นวนั ละ 6-8 ชว่ั โมง ข. หมนั่ ออกกาลงั กายเป็ นประจา ค. ปล่อยใหท้ อ้ งวา่ งเพ่อื สร้างพลงั เสียง ง. ฝึกหดั อยา่ งต่อเนื่องวนั ละ 20-30 นาที สปั ดาห์ละ 5-6 วนั 10. บุคคลใดขอ้ ใด ยนื ร้องเพลงไดถ้ กู ตอ้ ง ก. ก่ิง ยนื ร้องเพลงตามสบาย ข. ดิว ยนื ตวั ตรง และเทา้ ชิดกนั ค. โดม ยนื โดยใหป้ ลายเทา้ เทา่ กนั ง. แกรนดย์ นื ร้องเพลงโดยแยกปลายเทา้ ออกจากกนั เลก็ นอ้ ย

23 บรรณำนุกรม ขนุ วจิ ิตรมาตรา. ยุคเพลงหนงั และละครในอดตี . กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ,์ 2518. ประสิทธ์ิ ทิพยบุญ. เอกสำรประกอบกำรเรียนกำรสอน กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ วิชำ ขบั ร้องเพลงไทยสำกล ช้ันมัธยมศึกษำปี ท่ี 4 โรงเรียนท่ำตูมประชำ เสริมวทิ ย์. สุรินทร์ : โรงเรียนทา่ ตูมประชาเสริมวิทย,์ 2551. พูนพศิ อมาตยกลุ . ดนตรีวิจกั ษ์. กรุงเทพฯ : รักลิป, 2529. วราวธุ สุมาวงศ.์ วิวัฒนำกำรของเพลงไทยสำกลจำกละครและภำพยนตร์. กรุงเทพฯ : ศกั ด์ิโสรักการพมิ พ,์ 2526. สุวิทย์ มลู คา และสุนนั ทา สุนทรประเสริฐ. กำรพฒั นำผลงำนทำงวชิ ำกำรสู่กำรเลื่อน วิทยฐำนะ. กรุงเทพฯ : อี เค บุ๊คส์, 2550. http://www.chordguita r.net/artist/info/?id=1235 http://www.websuntaraporn.com/suntaraporn/images/band3.jpg

24 ภำคผนวก

25 เฉลยใบกจิ กรรม คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง (ขอ้ ละ 1 คะแนน) 1. อธิบายความหมายของการขบั ร้องเพลง .ก..ำ..ร..ข...ับ..ร..้อ...ง..เ.พ...ล..ง....ห...ม..ำ..ย..ถ...ึง....ก..ำ..ร..เ.ป...ล..่ง..เ.ส..ี.ย..ง..อ..อ..ก...ม..ำ..เ.ป..็.น...ท..ำ..น...อ..ง..อ...ย..่ำ..ง..... .ไ..พ...เ.ร..ำ..ะ....ถ..้อ..ย...ค..ำ..ถ..ูก...ต..้อ..ง..ช...ัด..เ.จ...น..ส...อ..ด...ค..ล..้.อ..ง..ก..บั...ล..ีล...ำ.จ...ัง..ห..ว...ะ...แ..ล..ะ..อ...ำ.ร..ม...ณ...์. .อ..ย..่ำ..ง..เ.ป..็.น...ธ..ร..ร..ม...ช..ำ..ต...ิ .ต..ำ..ม..ห...ล...กั ..แ..ล..ะ..ว...ธิ ..ีก..ำ..ร..ข...บั ..ร..้อ...ง..ส..ำ..ก..ล.......................... 2. การขบั ร้องเพลงไทยสากล แบ่งออกไดเ้ ป็นกี่ประเภท จงอธิบาย ...ก...ำ.ร...ข..บั ...ร..้ อ..ง..เ.พ...ล...ง.ไ..ท...ย..ส...ำ..ก..ล...แ..บ...่ง..เ.ป..็ .น.....2....ป..ร..ะ...เ.ภ..ท.....ไ..ด..้แ..ก..่................... ...1......ก...ำ..ร..ข..บั...ร..้อ..ง..เ.ด...ยี่ ..ว............................................................................ ...2......ก...ำ..ร..ข..บั...ร..้อ..ง..ห...ม..่.ู ............................................................................ 3. ความแตกตา่ งของการขบั ร้องเพลงแบบหมูธ่ รรมดา กบั การขบั ร้อง แบบประสานเสียง คือ ก..ำ..ร..ข...ับ..ร..้.อ..ง..แ..บ...บ..ห...ม...ู่ธ..ร..ร..ม...ด...ำ...เ.ป..็.น...ก..ำ..ร..ข..บั...ร..้อ..ง..เ..พ...ล..ง..แ..น...ว..ท...ำ.น...อ...ง..เ.ด..ยี..ว...ก..นั ม...รี ..ะ..ด..ับ...เ.ส...ีย..ง..เ.ด...ยี ..ว..ก..นั...ต...ล..อ..ด...บ..ท......ส..่.ว..น...ก..ำ..ร..ข..บั...ร..้อ..ง..ห...ม...ู่แ..บ...บ..ป...ร..ะ..ส...ำ..น..เ..ส..ีย. ง เ.ป..็.น...ก..ำ..ร..ข..ับ...ร..้อ..ง..ท...ใ่ี..ช..้ท...ำ.น...อ...ง..เ.พ...ล..ง..ต..้งั..แ...ต..่ ..2....ท...ำ.น...อ...ง..ข..นึ้...ไ..ป.......................

26 4. อธิบายความหมายของเพลงไทยสากล ..เ.พ...ล...ง..ไ.ท...ย..ส...ำ..ก..ล....เ.ป..็.น...เ.พ...ล..ง..ท...ข่ี ...ับ..ร..้ อ...ง..ใ.น...ภ..ำ..ษ...ำ.ไ..ท...ย....โ..ด..ย..เ..ร..่ิม..จ...ำ.ก...น..ำ........ ..ท...ำ..น...อ..ง..ไ..ท..ย...เ.ด..มิ...ใ.ส..่.เ.น...ื้อ..ร..้อ..ง..บ...ร..ร..เ.ล...ง..แ..ล..ะ..ข...ับ..ร..้อ...ง...โ.ด...ย..ใ.ช...้ม...ำ.ต...ร..ฐ..ำ..น.......... ..ข...อ..ง..โ..น..้.ต..เ.พ...ล..ง....แ...บ..บ...ส..ำ..ก...ล...จ..น...เ.ป..็ .น...เ.พ...ล..ง..ไ..ท..ย...แ..น...ว..ใ.ห...ม..่........................ 5. จุดเร่ิมตน้ ของเพลงไทยสากลในยคุ ปัจจุบนั เริ่มเกิดข้ึนในช่วงเวลาใด .จ..ุด...เ.ร..ิ่ม...ต..้น...ข...อ..ง..เ.พ...ล..ง..ไ..ท...ย..ส...ำ.ก...ล..ใ.น...ย..ุค...ป..ั.จ..จ..บุ...นั ....เ.ก..ดิ..ข...ึน้...ใ.น...ป..ี..พ.....ศ......2..4..8..2... .โ..ด..ย..ช...่ว..ง..เ.ว..ล...ำ.น...้นั.....ไ..ด..้ม...ีก..ำ..ร..จ..ัด...ต..้งั..ก...ร..ม..โ..ฆ...ษ...ณ...ำ..ก..ำ..ร...แ..ล..ะ..ไ..ด..้.ต..้งั..ว..ง............. .ด...น..ต...ร..ี“..ส..ุ.น..ท...ร..ำ..ภ...ร..ณ...์”...ข...นึ้ ..................................................................... 6. ก่อนการขบั ร้องเพลง ไมค่ วรกินอิ่มจนเกินไป เพราะเหตใุ ด .เ.พ...ร...ำ.ะ..ถ...้ำ..ก..นิ...อ..มิ่...จ..น...เ.ก..นิ...ไ..ป....จ...ะ..ท...ำ.ใ..ห..้ข...ำ..ด..พ...ล..ง.ั .เ..ส..ีย..ง..แ..ล...ะ..ส..ม...ำ..ธ..ิ.............. .ใ..น...ก..ำ..ร..ข..บั...ร..้อ..ง....................................................................................... ............................................................................................................ 7. การออกกาลงั โดยการวา่ ยน้า จะช่วยเกี่ยวกบั พลงั เสียงไดอ้ ยา่ งไร .ก...ำ.ร...ว..่ำ.ย...น..ำ้....จ...ะ..ช..่ว..ย...ท..ำ..ใ.ห...้ป...อ..ด...ข..ย..ำ..ย..ต...ัว..ท...ำ..ใ.ห...้ม..ีพ...ล...งั ..เ.ส..ีย...ง..ใ.น................... .ก...ำ.ร...ข..บั...ร.้.อ..ง..ไ..ด..้อ...ย..่ำ..ง..ย..ำ..ว..น...ำ.น...ย..่ิง..ข...นึ้ ........................................................ ............................................................................................................

27 8. การยนื ขบั ร้องเพลงท่ีถูกตอ้ ง ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร ..ย..ืน...ล..ำ..ต...ัว..ต..ร..ง....ศ...ีร..ษ...ะ..ต..ร..ง....อ...ก..ผ..ำ..ย.....ไ.ห...ล..่ผ...ึ่ง....ไ..ม..่เ.ก...ร..็ง..ส..่ว...น..ห...น...่ึง..ส..่ว...น....... ..ใ.ด...ข..อ...ง..ร.่.ำ.ง..ก...ำ.ย.....แ..ล..ะ..ป...ล..ำ..ย..เ.ท...้ำ..ค..ว..ร..แ...ย..ก..เ.ล...ก็ ..น..้.อ..ย....โ..ด..ย...ค..ว..ำ..ม...ก..ว..้ำ..ง.......... ..ข..อ...ง..เ.ท..้ำ..เ.ส...ม..อ...ช..่ว..ง..ไ..ห...ล..่ข...อ..ง..ผ..้.ูข..ับ...ร..้อ..ง..................................................... 9. ขณะร้องเพลงไมค่ วรยนื ขบั ร้องเพลงแบบตามสบาย เพราะเหตุใด ..ก..ำ..ร..ย..ืน...ข...บั ..ร..้อ...ง..เ.พ...ล..ง..แ..บ...บ...ต..ำ..ม...ส..บ...ำ.ย...จ..ะ..ท...ำ..ใ.ห...้บ..ุค...ล..กิ...ภ..ำ..พ...ข..อ...ง................ ..ผ..้ขู...บั ...ร.้.อ..ง..ไ..ม..่น...่ำ..ด..ู..แ...ล..ะ..ท...ำ.ใ..ห..้.ร.่.ำ..ง..ก..ำ..ย..ข..ำ..ด...ค..ว..ำ..ม..ม...ั่น...ค..ง..ส...ม..ด...ุล.................. ............................................................................................................ 10. การยนื ขบั ร้องเพลงแบบปลายเทา้ เท่ากนั จะส่งผลอยา่ งไร ต่อการร้องเพลง ..ท..ำ..ใ..ห..้ก...ำ.ร..เ..ค..ล..่ือ...น..ไ..ห...ว..ร..่ำ..ง..ก..ำ..ย....ท...ำ..ไ.ด...้ไ..ม..่ส...ะ..ด...ว..ก....ไ..ม..่เ.ป..็.น...ธ..ร..ร..ม...ช..ำ..ต...ิ ...... ..แ..ล..ะ..ก...ำ.ร..ย...ืน..ต...ร..ง..จ..ะ...ท..ำ..ใ.ห...้ร..ะ..บ...บ...ล..ม...ห...ำ.ย...ใ.จ..ท...ำ..ไ.ด...้อ..ย..่.ำ.ง..ไ..ม..่.เ.ต..็ม...ท...ีอ่ ..นั...จ..ะ...... ..ส..่ง..ผ...ล..ใ.ห...้เ.ส...ีย..ง..ท...่เี .ป...ล..่ง..อ..อ..ก...ม..ำ..ข...ำ.ด...ค..ณุ....ภ..ำ..พ...ท...่ีส..ม...บ...ูร..ณ...์ ...........................

28 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ข 2. ข 3. ง 4. ง 5. ก 6. ข 7. ค 8. ง 9. ข 10. ก เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ง 2. ข 3. ง 4. ก 5. ข 6. ข 7. ข 8. ก 9. ค 10. ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook