Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 30700-1001

30700-1001

Published by ดรุณี จุลเจิม, 2021-11-26 14:29:07

Description: อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา อตุ สาหกรรมท่องเทยี่ วและการบรกิ าร รหสั 30700-100๑ ทฤษฎี ๓ ปฏิบตั ิ ๐ หน่วยกติ ๓ หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สงู ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว สาขาวิชา การโรงแรม สาขางาน บริการอาหารและเครอื่ งด่ืม นางสาวดรณุ ี จุลเจมิ ครปู ระจำวชิ า แผนกวิชาการโรงแรม วิทยาลยั การอาชีพปราณบรุ ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

จุดประสงค์ มาตรฐานรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวชิ า รหสั 30700-100๑ วิชา อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียวและการบรกิ าร จำนวนหนว่ ยกติ 3 หนว่ ยกิต เวลาเรียน ๓ ชม./สัปดาห์ หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ สูง ประเภทวิชา อุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว สาขาวิชา การโรงแรม จดุ ประสงค์รายวชิ า 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั อุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว 2. มที ักษะ ฝกึ ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ด้านอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว 3. มีเจตคติทด่ี ีในงานอาชพี บรกิ าร มาตรฐานรายวิชา 1. จัดการและรกั ษาความสมั พนั ธใ์ นที่ทำงานอยางมีประสทิ ธิภาพ 2. สร้างและรักษาแนวทางการทำงานเป็นทีมเพื่องานบริการ 3. ดแู ลและควบคมุ การปฏิบัติตงิ านตอ้ นรับและบริการ 4. ส่อื สารทางโทรศัพท์และเทคโนโลยีสารสนเทศไดอ้ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. นาํ เสนอสนิ คา้ และบริการแก่ลูกค้า 6. จัดการและแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสถานการณ์ต่างๆ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ความหมาย ความสำคัญ และผลกระทบของ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวตอ่ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง องค์ประกอบของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว บริษัทนำเท่ียว ตัวแทน การท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมและที่พักอื่นๆ ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจการจำหน่ายสินค้าที่ระลึก ธุรกิจ ภัตตาคารและร้านอาหาร ธุรกิจสถานบันเทิงและธุรกิจบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทรัพยากรการท่องเที่ยว ปัจจัย สนบั สนนุ ของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ด้านอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว

หน่วยการเรียนรู้ รหัส 30700-100๑ วชิ า อตุ สาหกรรมท่องเท่ียวและการบรกิ าร จำนวนหนว่ ยกจิ 3 หน่วยกติ เวลาเรียน ๓ ชม./สปั ดาห์ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปวส.1 สาขางานบรกิ ารอาหารและเครือ่ งด่ืม สาขาวิชา การโรงแรม สัปดาห์ หน่วย สาระการเรียนรู้ สมรรถนะประจำหน่วย เวลาเรียน ท่ี (ช่วั โมง) ท่ี ๓ 1 1 ความเป็นมา ความหมาย ประยกุ ตใ์ ช้ความร้เู กี่ยวกับ ความเปน็ มา ความหมาย องคป์ ระกอบและความสำคญั องค์ประกอบและความสำคัญของอุตสาหกรรมและ ของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ียว ธรุ กจิ ทอ่ งเท่ยี ว - ความเป็นมาของการ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศที่เกีย่ วขอ้ งกับ ทอ่ งเที่ยว อุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว 2 1 ความเป็นมา ความหมาย องค์ประกอบและความสำคญั ๓ ของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว (ตอ่ ) - ความหมายของการทอ่ งเทย่ี ว ๓ ๓ 3 1 ความเปน็ มา ความหมาย องคป์ ระกอบและความสำคัญ ของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี ว (ตอ่ ) - องคป์ ระกอบของการ ทอ่ งเทย่ี ว 4 1 ความเปน็ มา ความหมาย องค์ประกอบและความสำคัญ ของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว (ต่อ) - ความสำคัญของอุตสาหกรรม ท่องเทยี่ ว

สปั ดาห์ หนว่ ย สาระการเรียนรู้ สมรรถนะประจำหน่วย เวลาเรียน ท่ี ท่ี (ชั่วโมง) 5 2 ลักษณะของอุตสาหกรรมและ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้เกี่ยวกับ ลักษณะของอุตสาหกรรม ๓ ธุรกจิ ท่องเทยี่ ว และธุรกจิ ทอ่ งเทย่ี วในชวี ติ ประจำวัน - ลักษณะของอตุ สาหกรรม การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ทอ่ งเทยี่ ว อุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว 6 2 ลกั ษณะของอุตสาหกรรมและ ๓ ธุรกิจทอ่ งเทย่ี ว (ตอ่ ) - ความหมายของธุรกจิ ๓ ทอ่ งเท่ยี วและลักษณะของธรุ กิจ ท่องเท่ียว 7 2 ลักษณะของอตุ สาหกรรมและ ธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี ว (ต่อ) - ประเภทของธุรกจิ นำเทีย่ ว 8 2 ลักษณะของอุตสาหกรรมและ ๓ ธรุ กจิ ทอ่ งเท่ยี ว (ต่อ) - ธุรกิจทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การ ทอ่ งเท่ยี ว

สปั ดาห์ หน่วย สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะประจำหนว่ ย เวลาเรยี น ท่ี ท่ี (ชัว่ โมง) 9 ทดสอบ กลางภาค ๓ 3 วิธีการจดั การธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี ว ประยุกตใ์ ช้ความรเู้ กย่ี วกับ วิธกี ารจดั การธุรกจิ - การจดั การการทอ่ งเทย่ี ว ท่องเทยี่ ว การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี กี่ยวข้อง ๓ 10 3 วิธีการจัดการธุรกิจท่องเท่ียว กับอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว (ตอ่ ) - โครงสรา้ งทางการทอ่ งเท่ยี ว - รปู แบบของการจัดธรุ กิจ ๓ ทอ่ งเที่ยว 11 3 วิธกี ารจดั การธรุ กิจท่องเทย่ี ว (ต่อ) - ทรัพยากรการทอ่ งเทีย่ ว 12 3 วิธีการจัดการธรุ กจิ ทอ่ งเทีย่ ว (ต่อ) - การแบง่ ส่วนบริหารงานใน ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้เกย่ี วกบั ชนิดและรูปแบบของการ ๓ บริษทั นำเทย่ี ว ทอ่ งเท่ยี ว ๓ 13 4 ชนิดและรูปแบบของการ ทอ่ งเที่ยว การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศที่เกย่ี วข้อง ๓ กบั อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ยี ว - ชนดิ ของการท่องเท่ยี ว - ลกั ษณะของการทอ่ งเทย่ี ว 14 4 ชนดิ และรปู แบบของการ ทอ่ งเทยี่ ว (ตอ่ ) - ประเภทของนกั ท่องเท่ยี ว

สปั ดาห์ หน่วย สาระการเรียนรู้ สมรรถนะประจำหนว่ ย เวลาเรยี น ท่ี ท่ี (ชั่วโมง) 15 4 ชนดิ และรปู แบบของการ ท่องเทย่ี ว (ตอ่ ) ๓ - รปู แบบของการทอ่ งเทีย่ วใน ประเทศไทย 16 5 บทบาททเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ธุรกจิ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามร้เู ก่ยี วกับ บทบาทท่ีเกยี่ วข้องกับ ๓ ท่องเท่ยี ว ธรุ กิจท่องเท่ยี วในงานทอ่ งเที่ยวได้ - บทบาทที่เกี่ยวขอ้ งกับธุรกิจ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี กย่ี วขอ้ ง ท่องเทยี่ ว กบั อุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว 17 5 บทบาทท่ีเกย่ี วข้องกบั ธรุ กจิ ๓ ทอ่ งเทยี่ ว (ต่อ) - ประโยชน์ของการท่องเทย่ี ว - ปัจจยั สนับสนุนการทอ่ งเทยี่ ว ๓ 18 ประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น รวม ๕๔

ตารางวิเคราะหจ์ ุดประสงค์การเรยี นรู้ รหัส 30700-100๑ วิชา อุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ วและการบริการ จำนวน 3 หนว่ ยกติ ๓ ชม./สป. ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา 2564 ระดับ ปวส.๑ สาขางานบริการอาหารและเครอ่ื งด่ืม สาขาวิชา การโรงแรม พทุ ธพิ สิ ยั (35%) ความ ู้ร พฤตกิ รรม ความเ ้ขาใจ การนำไปใ ้ช ชื่อหน่วย การ ิวเคราะห์ การสังเคราะห์ รวม ทักษะพิสัย (25%) ิจตพิ ัสย (10%) รวม ลำ ัดบความสำ ัคญ จำนวนชั่วโมง ๑. ความเป็นมา ความหมาย องคป์ ระกอบ และความสำคัญของอุตสาหกรรมการ ๒ ๑ ๑ -- ๔ ๑ ๑ ๖ ๑ ๑๒ ท่องเท่ยี ว ๒. ลักษณะของอุตสาหกรรมและธุรกิจ ๒ ๒ ๑ -- ๕ ๑ ๑ ๗ ๓ ๑๒ ท่องเทยี่ ว ๙ ๕๙ ๘ ๒๙ ๓. วิธกี ารจดั การธรุ กิจท่องเท่ียว ๒ ๑ ๒ ๒- ๗ ๑ ๑ ๔. ชนิดและรูปแบบของการท่องเที่ยว ๒ ๑๒ -- ๕ ๒ ๑ ๕. บทบาทท่ีเก่ียวข้องกับธุรกจิ ทอ่ งเทีย่ ว ๑ ๑ ๒ ๑- ๕ ๑ ๑ ๗ ๔ ๖ สอบกลางภาค ๓ ๒ ๓ ๑ - ๑๐ ๑๐ - ๒๐ - ๓ รวม ๑๒ ๘ ๑๑ ๔ - ๓๕ ๒๕ ๑๐ ๗๐ - ๕๑ สอบปลายภาค ๓๐ ๓ รวมทงั้ หมด ๑๐๐ ๕๔ ๑๒๓ ลาดบั ความสาคญั

การวัดและประเมนิ ผล รหสั 30700-100๑ วิชา อุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ วและการบริการ จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต เวลาเรียน ๓ ชม./สัปดาห์ 1. การวัดผล - พทุ ธพิ ิสัย 1) แบบฝกึ หัด 25 % 2) วัดผลสัมฤทธ์ิ 10 % รวม 35 % - ทักษะพสิ ยั 1) กิจกรรมฝกึ ทักษะ+ใบงาน 15 % 2) วัดผลสัมฤทธ์ิ 10 % รวม 25% - จติ พิสยั รวม 10 % รวมท้ังหมด 70 % (คะแนนทดสอบก่อนเรียนไวส้ ำหรับเปรยี บเทียบกับคะแนนทดสอบหลงั เรยี น) คะแนนระหวา่ งภาค/ปลายภาค 70:30 ระหว่างภาค 1) แบบฝกึ หัด 25 % 2) ทดสอบกลางภาค 20 % 3) ใบงาน 15 % 4) จิตพสิ ยั 10 % รวม 70 % ปลายภาค ทดสอบปลายภาค 30 % รวม 100 %

2. การประเมนิ ผล (องิ เกณฑ)์ 80 – 100 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 4.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดเี ยย่ี ม 75 – 79 คะแนน ได้ผลการเรียน 3.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ มี าก 70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 3.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ี 65 – 69 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 2.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ีพอใช้ 60 – 64 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 2.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ 55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ อ่ น 50 – 54 คะแนน ได้ผลการเรียน 1.0 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ อ่ นมาก 50 คะแนน ได้ผลการเรียน 0 หมายถึง ผลการเรยี นตำ่ กว่าเกณฑข์ ้นั ตำ่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รหสั วชิ า 30700-100๑ ชอ่ื วิชา อตุ สาหกรรมท่องเท่ยี วและการบรกิ าร หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ความเป็นมา ความหมาย องค์ประกอบและความสำคัญของอุตสาหกรรม การทอ่ งเทีย่ ว สอนครง้ั ท่ี 1-๔ เวลา ๑๒ ชัว่ โมง สาระสำคญั สาระท่ี 1 ความเปน็ มาของการทอ่ งเท่ียว (ส.1) การจัดระบบการเดินทางท่องเที่ยวของชาวตะวันตกนั้นเกิดขึ้นประมาณสมัยอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ ( The Great Empires) อนั ได้แก่ อาณาจกั รเปอร์เซยี อาณาจกั รเอสซเี รีย กรีก อยี ปิ ต์ และโรมัน การเดินทางได้ถูกนำมาใช้โดยกองทหาร หรือกองทัพพวกพ่อค้า และผู้แทนรัฐบาลต่างๆในอดีตเป็นเหตุผลสำคัญ รวมทั้งเพื่อการติดต่อคมนาคมระหว่างรัฐบาล กลางกบั อาณานคิ มต่างๆท่ีอย่หู ่างไกลออกไป นอกจากนกี้ ารเดินทางยงั มคี วามจำเป็นสำหรบั พวกชา่ งศิลป์ และสถาปนิกท่ี ถูกเรียกมาใช้จากดินแดนห่างไกล เพื่อการออกแบบและกอ่ สร้างพระราชวังท่ียิ่งใหญง่ ดงามหรือหลุมศพขนาดมหึมาของ กษตั ริย์ผ้ยู ิ่งใหญ่ ในขณะเดยี วกันการเดนิ ทางยงั ช่วยทำให้เกิดมกี ารกอ่ สร้างโครงสร้างพน้ื ฐาน ท่ีสำคัญๆเชน่ ถนน ลำคลอง ผจู้ ดบันทึกระยะทาง คนเฝ้ายามสถานีไปรษณีย์ หลกั บอกระยะทางบ่อน้ำหรือแอง่ น้ำด่ืมพนักงาน ในสถานที่พักและร้าน ขายอาหารเปน็ ต้น ในยคุ ของอาณาจักรกรกี โบราณ มนุษยเ์ ดินทางไปชมการแขง่ ขันกฬี าโอลิมปิก ( Olympic Games) ซง่ึ เป็นการแขง่ ขนั กีฬาท่ียงิ่ ใหญท่ ี่สดุ ท่ีตอ้ งการใช้สถานทีพ่ ักและบรกิ ารอาหารอยา่ งดี เปน็ จำนวนมากไวค้ อยบริการ ยคุ นี้เริ่ม มกี ารใชเ้ งนิ ในการแลกเปล่ียนสนิ ค้าบ้างแลว้ ทำให้สะดวกในการแลกเปลีย่ นสนิ ค้าและบรกิ าร วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวอาณาจักร บาบิโลน ( Babylonian Kingdom) และอาณาจักรอียิปต์ ( Egyptian Kingdom) -การจดั ตัง้ พิพธิ ภัณฑโ์ บราณวตั ถุ (Historic Antiquities) 2600 ปีมาแล้วในอาณาจักรบาบโิ ลน -มีการจัดงานเทศกาลทางดา้ นศาสนา มีการพบหลกั ฐานจากข้อความที่นักเดนิ ทางเขียนไว้ท่ผี นงั หรือสิง่ ก่อสร้าง วธิ ที ี่ใชใ้ นการเดนิ ทาง (Travel Methods)

ในการเดินทางทางบก นิยมใช่ลา ล่อ หรือ อูฐ แต่สำหรับทหารหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐนิยมใช้ม้า เป็นพาหนะใน การเดินทางซึง่ อาจเปน็ เกวยี น(Wagons) หรือรถมา้ สองลอ้ (Chariots) จกั รวรรดกิ รีกและจักรวรรดโิ รมนั ลักษณะการเดินทางเพ่อื การท่องเท่ยี วสมยั กรีก – เปน็ การปกครองแบบนครรัฐ (City State) ทำใหไ้ ม่มีผู้นำสง่ั การให้สร้างถนน จงึ นยิ มเดนิ ทางทางเรอื – สถานทีท่ เ่ี ช่ือว่าเป็นที่สงิ สถติ ของเทพเจา้ – เดนิ ทางเพื่อแสวงหาความรู้ เน่อื งจากสมัยกรกี นีม้ ีนักปราชญเ์ ปน็ จำนวนมาก อาทิ อรสิ โตเติล พลาโต -เพอ่ื การกฬี า โดนเฉพาะในกรุงเอเธนส์ – เมื่อมกี ารเดนิ ทาง ทำให้เกิดการสร้างท่ีพักแรมระหวา่ งทาง เกดิ ขึน้ ซ่งึ เป็นเพียงแคห่ อ้ งนอนแคบๆ เท่านนั้ ชาวโรมัน (The Romans) ชาวโรมนั ยงั ได้นำเอาระบบกฎหมายออกเผยแพร่ไปยงั อาณาจักรอืน่ ๆ ท่เี ปน็ อาณานคิ มของโรมนั ด้วย ชาวโรมันยงั เป็นนักสร้างถนนที่ยิง่ ใหญ่ ผลงานที่มชี ือ่ เสยี งว่าเป็นถนนทีก่ อ่ สร้างได้ดีท่ีสุดก็คือ Appian Way ซึ่งเป็นถนนหลวงสาย หลักที่เชื่อมต่อไปยังประเทศกรกี และดนิ แดนภาคตะวันออก ชาวโรมันสามารถเดินทางเป็นระยะทางยาวถงึ 73 ไมล์ จากกำแพงเฮเดรียน ( Hadrian Wall ) ในอังกฤษไปจนถึงลุ่มแมน่ ้ำยเู ฟรตีส ( Euphrates River ) โดยปราศจากการ ข้ามเขตแนวพรมแดนของประเทศอื่นใด เส้นทางการติดต่อสื่อสารนับได้วา่ ยอดเยี่ยมและสถานทีพ่ ักนักเดนิ ทางระหวา่ ง การเดินทาง (Inns) ก็ได้สร้างไว้ระยะๆตลอดเส้นทางการเดินทางจึงกล่าวได้ว่าชาวโรมันเป็นนกั สรา้ งสรรค์โครงสรา้ งพืน้ ฐานการทอ่ งเที่ยวท่ีดที ่ีสุดของโลกชาตหิ นง่ึ ( ท้งั ระบบการติดต่อขนส่งและการส่ือสาร )ถึงแม้จะเปน็ ความจรงิ ว่าชาวโรมัน มใิ ชเ่ ป็นชาติแรกที่ไดเ้ ดินทางไปเยีย่ มชมสถานทีต่ ่าง ๆ เพ่ือความเพลดิ เพลนิ ก็ตาม แต่ชาวโรมันกเ็ ปน็ ชนชาติแรกที่แท้จริง ที่สร้างวัฒนธรรมการท่องเที่ยวระบบมวลชนขึ้นเป็นครั้งแรกทั้งโดยตัวอักษรและจิตใจที่แท้จริงในศตวรรษท่ี 2 แห่ง ครสิ ตกาลสมยั โรมนั ไดร้ วบรวมจักรวรรดกิ รกี เขา้ มาเป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจกั ร และไดน้ ำเอาวัฒนธรรม ธรรมเนียม ความหรูหราต่างๆ ไปพัฒนาเป็นแบบโรมนั

- สมัยโรมันเป็นสมัยทีก่ ารท่องเทีย่ วรุง่ เรืองที่สุดในยุคโบราณ จนมีนกั วิชาการปัจจบุ นั กล่าวว่า “แม้ว่าชาวโรมนั จะมิใช่ชาติแรกที่เดินทางไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ เพื่อความเพลิดเพลินก็ตาม แต่ชาวโรมันก็เป็นชนชาติแรกที่แท้จริงที่ สรา้ งวฒั นธรรมการทอ่ งเทีย่ วระบบมวลชนเปน็ คร้ังแรก” (Mass Tourism) -ชาวโรมันนิยมเดนิ ทางไปชมความสำเร็จของวทิ ยาการของกรกี อนุสาวรียต์ า่ งๆ รปู แกะสลกั ตลอดจนงานเทศกาล -โครงสร้างพื้นฐานถูกสร้างขึ้นอย่างเป็นระบบ ทั้งถนนหนทาง ที่พักแรม (Inns) ร้านอาหาร ตลอดจนการรักษา ความปลอดภัย การเดินทางทอ่ งทะเล (Sea Voyages) กรีกซึ่งเป็นประเทศที่มั่งคั่งร่ำรวยในด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวตัง้ อยู่ใกล้อิตาลีและเป็นเป้าหมายปลายทางการ ท่องเที่ยวที่นิยมกันมากแต่ในอดีตยังไม่ปรากฏเรือขนส่งผูโ้ ดยสาร จนกระทั่งภายหลังที่ได้มีการประดิษฐ์เรือกังหันไอนำ้ (Steamships) เกิดขึ้นในกลางศตวรรษท่ี 19 จึงได้เริ่มเป็นที่รู้จักและนิยมกันอย่างกว้างขวางในช่วงแรก ๆ ของการ เดินทางท่องทะเลหรือเดินทางท่องเที่ยวทางทะเลนัน้ นักท่องเที่ยวจะเริ่มต้นที่การเดินทางไปสู่ท่าเรอื ที่ใกล้ที่สุดและรอ จนกระท่ังมีเรือออกเดนิ ทางไปยงั ทิศทางทต่ี อ้ งการท้งั น้เี พราะวา่ เรอื เหล่าน้ีไม่มีหอ้ งพักหรอื สถานท่ีอำนวยความสะดวกใดๆ แก่ผู้โดยสารเม่ือนักท่องเทีย่ วเดินทางไปถึงจุดหมายปลายทางหรือแหล่งทอ่ งเที่ยวที่ต้องการแล้ว พวกเขาจะต้องเตรียมที่ พักแรมเอง ยคุ กลาง หรือ ยุคมืด ( Middle Age or Dark Age)ประมาณ ค.ศ. 500-1500 -เป็นชว่ งทเ่ี ศรษฐกจิ ตกต่ำ ศาสนาเข้ามามีบทบาทในการกำหนดการดำเนนิ ชีวิตของผู้คน -วันหยดุ (Holy Days) เรมิ่ เข้ามามบี ทบาทมากข้นึ -คนชั้นกลางและชั้นสูงนิยมเดนิ ทางเพื่อแสวงบุญ ในระยะทางไกลในเมืองต่างๆ ตามหลักฐานที่ปรากฏเป็นนิทาน เร่อื ง Canterbury’s tales -การเฟือ่ งฟขู องอาชีพมคั คเุ ทศก์ ยุคฟืน้ ฟูศิลปวิทยาการ ( Renaissance) ลักษณะสำคัญของการทอ่ งเท่ียวในยุคนคี้ ือ

-เกิดการพฒั นาทางดา้ นการคา้ -ผู้คนเริ่มใฝ่รู้เกี่ยวกับเรื่องของยุโรปสมัยก่อน โดยเฉพาะชาวอังกฤษที่ร่ำรวย นิยมส่งบุตรชายออกเดินทา งไป ต่างประเทศพรอ้ มกับผสู้ อนประจำตวั (Travelling Tutors) เป็นระยะเวลา 3 ปี เรียกวา่ แกรนด์ทวั ร์ (Grand Tour) โดยมี จดุ มุง่ หมายทีป่ ระเทศ อิตาลี -อาจเรยี กแกรนดท์ ัวรว์ า่ เป็นการทอ่ งเทยี่ วเพอ่ื การศกึ ษาก็ได้ สมัยครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18-19 -สงั คมเริ่มเปล่ียนจากเกษตรกรรมมาเปน็ อุตสาหกรรม เกดิ การล่าอาณานิคมขึน้ -ท่ีพักแรมไดร้ ับการพัฒนามาตามลำดบั กลายมาเป็นโรงแรม แทนที่ inns ตา่ งๆ -การโยกยา้ ยถ่ินฐาน ไปยังดินแดนใหมๆ่ นอกยุโรป อาทิ ไป อเมรกิ า -มกี ารพฒั นาประดษิ ฐเ์ ครอื่ งจกั รไอน้ำ กับเรอื กลไฟแบบกังหนั ขา้ งผสมใบ ทำใหเ้ กดิ การเดนิ ทางไดเ้ รว็ ขน้ึ -มีการพัฒนากิจการรถไฟ และในปี ค.ศ. 1841 โทมัส คกุ ( Thomas Cook) ไดจ้ ดั นำเที่ยวทางรถไฟแบบครบวงจร เปน็ คร้ังแรก ทอี่ ังกฤษ ในขณะที่ เฮนรี เวลส์ กจ็ ดั กจิ การนำเท่ยี วขึน้ ในอเมริกาเชน่ กัน ยคุ ศตวรรษท่ี 20 การท่องเทย่ี วยังคงขยายตัวอย่างตอ่ เน่อื ง ความสะดวกสบายมมี ากขน้ึ ไม่ว่าจะเปน็ การเดินทาง ทีพ่ ักแรม เงินตรา เอกสารการเดนิ ทาง -ผคู้ นหนั มานิยมการเดินทางดว้ ยรถยนตส์ ว่ นตัวมากขึ้น ทำให้การเดินทางดว้ ยรถไฟลดนอ้ ยลง -พัฒนาของอุตสาหกรรมการบิน ที่เริ่มขึ้นในยุโรป ปี ค.ศ. 1919 และเริ่มขนส่งผู้โดยสาร ในช่วงหลักสงครามโลก ครงั้ ทส่ี องเป็นตน้ มา -ช่วงหลังสงครามโลก ผู้คนออกเดินทางท่องเทีย่ วเพือ่ เยี่ยมชมสถานที่สำคัญทางการสงคราม อาทิ หาดนอร์มงั ดีท่ี ฝร่ังเศส

วิวัฒนาการการท่องเท่ยี วของไทย สมัยสโุ ขทยั ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี 18 ในชว่ งเวลาเดยี วกับยุคสมัยอาณาจกั รล้านนารงุ่ เรืองทางตอนเหนือ ชาวไทยกลุ่มหน่ึง ซึ่งเข้ามาอยู่ในดินแดนของขอม ได้รวมตัวกันและสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเป็นอิสระจากขอม ภายใต้การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ มีพระร่วงเจา้ หรอื พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทติ ย์ เป็นกษตั รยิ ์พระองคแ์ รก มีศูนย์กลางการปกครอง อย่ทู ่กี รุงสโุ ขทัย หรอื จงั หวดั สุโขทัยในปัจจบุ ัน พระมหากษตั รยิ แ์ ห่งกรุงสุโขทัยทรงปกครองประเทศดว้ ยพระองค์เอง โดยมีพระบรมวงศานวุ งศ์และข้าราชการช้ัน ผใู้ หญเ่ ป็นผชู้ ว่ ยเหลือ รปู แบบการปกครองในสมยั น้นั อาจจำแนกออกได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ การปกครองสว่ นกลาง ได้แก่ เมืองหลวง และเมืองลูกหลวง หรือเมืองหน้าด่าน ที่อยู่รายล้อมเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ ประกอบด้วย เมืองศรีสัชนาลัย (สวรรคโลก) ทางทิศเหนือ เมืองสองแคว (พิษณุโลก) ทางทิศตะวันออก เมืองสระหลวง (พิจติ ร) ทางทิศใต้ และเมืองกำแพงเพชร (ชากงั ราว) ทางทศิ ตะวนั ตก การปกครองหัวเมือง หรือเมืองที่อยู่นอกอาณาเขตเมืองลูกหลวง แบ่งเป็นหัวเมืองชั้นนอกและหัวเมืองประเทศ ราชอาณาจกั รสโุ ขทัยมีกษัตรยิ ์ปกครองสืบต่อมาอีกหลายพระองค์ และขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผู้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเป็นครั้งแรกในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักร พระองค์ได้ รวบรวมหัวเมืองต่างๆ เข้าไว้ในปกครองมากมาย จนยากที่จะปกครองได้อย่างทั่วถึง ต่อมาจึงประสบปัญหาทั้งจาก ภายนอกและภายใน และคอ่ ยๆ ตกตำ่ ลงจนถกู รวมเป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจักรอยธุ ยาไปในท่สี ุด มีการเดินทางเป็นไปอย่างอิสรเสรี ส่วนมากเป็นไปเพื่อการค้าขาย และทางศาสนาส่วนมากเป็นการเดินทาง ภายในประเทศเทา่ น้นั สมัยอยุธยา เน่ืองจากเปน็ อาณาจกั รใหญ่ และระบบสังคมเปน็ แบบ ศกั ดนิ า ผคู้ นไม่คอ่ ยมีอิสระในการเดนิ ทางมากนัก นอกจาก ไปเพื่อการค้าเล็กๆ นอ้ ย ส่วนด้านการเดินทางเพอื่ การพกั ผอ่ น ไม่คอ่ ยปรากฏ เพราะประชาชนสว่ นมามีเวลาวา่ งไม่มากนัก มกั จะอยกู่ ับบา้ นมากกว่า มีปรับปรุงเส้นทางทางน้ำเพื่อการคมนาคม ตลอดจนเส้นทางทางบก เพื่อความสะดวกสบายทางด้านการค้าเป็น หลัก และเพื่อการเดินทางกลุ่มคนที่มีการเดินทางในสมัยอยุธยา มักจะเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในชนชั้นปกครอง ตั้งแต่

พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ และบรรดาขุนนางท้งั หลาย ในบางครั้งอาจจะมไี พร่ทาสตดิ ตามไปเพ่ือรับใช้เช่นกัน ในประมาณปี ค.ศ.1511 โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา ตามมาด้วย ญี่ปุ่น อังกฤษ สเปน ฮอลันดา ฝรั่งเศส ผลจากการเข้ามาของชาวต่างชาติในสมัยอยุธยา ทำให้เกิดความเป็นนานาชาติใน พระนครศรอี ยุธยามากขึน้ ทำใหเ้ กิดการผสมผสานวัฒนธรรม ประเพณีตา่ งๆ ทงั้ ของตะวันตก และของไทย ทน่ี ่าสนใจคือ มีบันทึกการเดินทางของชาวตะวันตกที่เขียนเอาไว้เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทาง สถานที่ต่างๆ ในอาณาจักร อยุธยา แล้วนำกลับไปตีพิมพ์เผยแพร่ที่ตะวันตก ก่อให้เกิดการเดินทางเข้ามายังเอเชีย และอยุธยา มากขึ้น ในฐานะที่ อยุธยาเปน็ ดินแดนของสนิ คา้ ของป่า เครื่องเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ ทส่ี ามารถสร้างกำไรให้มหาศาลแก่พอ่ คา้ ชาวตะวันตก กลา่ วได้วา่ อาณาจักรอยธุ ยา รงุ่ เรืองมากทัง้ ทางด้านศิลปวทิ ยากร วัฒนธรรม ประเพณี บา้ นเมืองรำ่ รวย ในสมัยสมเดจ็ พระ นารายณม์ หาราช มกี ารแลกเปลีย่ นคณะทตู านทุ ูตระหว่างอยธุ ยาและชาติตา่ งๆ หลายครัง้ วรรณคดีท่เี ปน็ หลักฐานสำคัญ ทีก่ ล่าวถงึ การเดนิ ทางไปยงั ต่างแดนที่มเี ชื่อเสียงคอื นริ าศฝร่งั เศส ของ โกษาปาน ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ หลังสมัย สมเด็จพระนารายณ์ การค้าขายติดต่อกับชาติตะวันตกลดน้อยลง หันไปค้าขายกับจีนมากขึ้น และพยายามพัฒนา บ้านเมืองใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สมยั สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ มกี ารส่งสมณทูตไป เผยแผศ่ าสนาโดยทั่วไป ทสี่ ำคัญคอื เคยมีการสง่ คณะสมณทตู ไปยงั ลังกาทวีป และในลังกาเรยี กนิกายสงฆข์ องตนว่า สยาม วงศอ์ กี ดว้ ย - ระบบสงั คมเปน็ แบบ ศักดินา - ผู้คนไมค่ ่อยมอี สิ ระในการเดินทาง - เปน็ การเดนิ ทางเพื่อการพักผ่อน - มีปรบั ปรุงเส้นทางทางนำ้ และทางบก เพ่อื การคมนาคม - เป็นกลมุ่ คนท่อี ยู่ในชนช้นั ปกครอง ตงั้ แต่พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานวุ งศ์ และบรรดาขนุ นางทั้งหลาย เปน็ ตน้ - ประมาณปี ค.ศ. 1511 โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา ตามมาด้วย ญี่ปุ่น อังกฤษ สเปน ฯลฯ

ผลจากการเขา้ มาของชาวต่างชาตใิ นสมยั อยธุ ยา - เกดิ การผสมผสานวัฒนธรรมของตะวันตก - มีการแลกเปลีย่ นคณะทูตานทุ ูตระหวา่ งอยธุ ยาและชาติต่างๆ - วรรณคดที ม่ี ีชือ่ เสียงคือ นริ าศฝรงั่ เศส ของ โกษาปาน ในสมยั สมเด็จพระนารายณ์ - รชั กาลท่ี 6 มีการสรา้ งโรงแรมรถไฟ - ซชู ิ เป็นขนมอย่างหนึ่งของสมยั อยุธยา สมยั ธนบรุ แี ละรตั นโกสนิ ทร์ เป็นความพยายามของสมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรีและปฐมกษัตริย์แหง่ ราชวงศ์จักรี ทีจ่ ะฟื้นฟคู วามเป็นอยุธยาข้ึนมา ใหม่อกี ครั้งโครงสร้างของบา้ นเมือง วัฒนธรรมประเพณีตา่ งๆ จะคล้ายกับในสมัยอยธุ ยา กอ่ นการเปล่ียนแปลงการปกครอง - รัชกาลที่ 2 ทรงทำนุบำรุงทางด้านศลิ ปวัฒนธรรม และพฒั นาด้านการคา้ ระหวา่ งประเทศ - รชั กาลที่ 3 บ้านเมืองเปดิ การคา้ ขายกับตา่ งชาติ - รัชกาลที่ 4 ทรงพยายามทำให้บ้านเมืองมีความทันสมัยตามแบบตะวันตก มีการสร้างที่พัก ร้านอาหารตามแบบ ตะวันตกเกิดขึ้นหลายแหง่ - รชั กาลที่ 5 ทรงปรับปรงุ บ้านเมืองในทุกๆ ด้าน เชน่ มีการสร้างทางรถไฟ เรือกลไฟ มีการเลิกทาสเลิกไพร่ ทำให้คนมี เสรีภาพในดา้ นต่างๆ มากขนึ้ - รชั กาลท่ี 6 มกี ารปรับปรุงสายการเดินรถไฟ มีการสร้างถนนหนทาง

หลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 - รชั กาลท่ี 7 มกี ารเสดจ็ ประทับตากอากาศท่หี วั หนิ ทำใหม้ ีการสรา้ งทางรถไฟสาย กรงุ เทพ-หวั หิน เพอ่ื ส่งเสรมิ การพัก ตากอากาศ - รัชกาลท่ี 8 – ปัจจุบัน ได้มีการเปลี่ยนอำนาจการบริหารประเทศมาอยู่ที่นายกรัฐมนตรี รัฐบาลจอมพล ป. ให้การ สรา้ งโรงแรมข้ึนอกี 3 แหง่ เพ่ือตอ้ นรับการเขา้ มาของนกั ท่องเทยี่ วช่วงหลงั สงครามโลกครัง้ ท่สี อง สาระท่ี 2 ความหมายของการท่องเทีย่ ว (ส.2) ผู้ใหญ่สมัยก่อนย้อนหลังไปเพียง 50-60 ปี มักจะสั่งสอนลูกหลานว่า “อย่าเที่ยวเตร่ให้มากนักจะเสียผู้เสีย คน” ทั้งนี้ เพราะภาพลักษณ์ของคำว่า “ท่องเที่ยว” ในสมัยที่การคมนาคมถนนหนทางยังไม่สะดวก จะเป็นการเที่ยว เสเพลบ่อนเบี้ยในละแวกบ้าน ผู้ใหญ่ก็ออกเดินทางรอนแรมไปกับกองเกวียนในหน้าแล้งเพื่อไปไหว้พระพุทธบาท ไป ทำบุญยังวัดวาอารามที่อยู่ห่างไกลจากถิ่นที่อยู่ของตน หรือล่องเรือไปทอดผ้าป่า ทอดกฐิน ยังวัดริมน้ำในจังหวัดไกลๆ เพียงแต่เขาไม่พูดกันว่าไปเที่ยวพระบาทหรือไปเที่ยววดั เพราะฟังดูขัดกับความรู้สึกของพุทธศาสนิกชนที่ถือว่าวัดเปน็ สถานทศ่ี กั ดสิ์ ิทธ์ไิ มค่ วรนับเป็นท่ีเท่ยี ว ดงั น้ันการทอ่ งเที่ยวจงึ เป็นการเดนิ ทางทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามเง่ือนไข 3 ประการ คอื 1. เป็นการเดนิ ทางจากทอี่ ยอู่ าศยั ปกติไปยงั ท่อี ื่นเปน็ การช่ัวคราว 2. เปน็ การเดนิ ทางดว้ ยความสมัครใจ 3. เป็นการเดนิ ทางด้วยวตั ถุประสงค์ใดก็ตาม ท่ีมิใช่เพื่อประกอบอาชีพหรอื หารายได้ เมื่อเอ่ยถึงคำว่า “ท่องเที่ยว” ในปัจจุบันเรามองเห็นภาพชาวต่างประเทศสะพายกล้องถ่ายรูปเดินกันเป็นกลุ่ม ใหญ่บ้างเล็กบ้างอยู่ตามวัด วัง โบราณสถาน หรือนุ่งน้อยห่มน้อยอาบแดดอยู่ตามชายหาด และอีกจำนวนไม่น้อยที่ไป เทย่ี วชมปา่ เขาลำเนาไพร เรามักจะมองเหน็ ว่าชาวต่างประเทศเหล่านไี้ ด้ใช้จ่ายเงนิ เปน็ ค่าท่ีพกั คา่ อาหาร ค่าเดินทางไป ชมสถานที่ต่างๆ ค่าซื้อของฝากของที่ระลึก โดยที่เราไม่คิดว่านั่นเป็นเงินตราต่างประเทศเข้ามาใช้จ่ายในบ้านเมืองของ เรา ในขณะเดียวกันเรามักจะไม่คิดถึงคนไทยที่เดนิ ทางท่องเที่ยวอยูภ่ ายในประเทศทั้งๆ ที่นักท่องเที่ยวคนไทยเหล่าน้ีมี จำนวนเพิม่ ขน้ึ มากทุกปี เพราะการเดินทางทอ่ งเทีย่ วนน้ั เปน็ การผ่อนคลายความเคร่งเครียดพรอ้ มๆ กบั การได้รับความรู้

เกี่ยวกบั วฒั นธรรมประเพณี ไดเ้ หน็ ภูมิประเทศท่ีแปลกตาและได้สร้างความสมั พันธ์กับคนต่างถน่ิ ด้วย เมื่อการคมนาคม สะดวก การเดินทางท่องเที่ยวกลายเป็นความนิยม ธุรกิจต่างๆ ก็เกิดขึ้นเพื่อรองรับการเดินทางการท่องเที่ยว มากมาย ทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจที่พักและอาหาร ธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจการค้า ของที่ ระลึก ธรุ กิจเหลา่ น้ขี ายบรกิ ารใหก้ ับตวั นักทอ่ งเทย่ี วเอง และยงั มธี รุ กิจท่เี กี่ยวข้องทางออ้ ม เชน่ การกอ่ สร้างอาคาร ที่ พกั ร้านอาหาร การผลิตสนิ ค้าเกษตรกรรม เพื่อขายใหแ้ กธ่ รุ กิจท่พี ักและอาหาร การผลิตสินคา้ หัตถกรรมพื้นบ้านเพ่ือ สง่ ร้านค้าของท่ีระลกึ เป็นต้น ธรุ กิจเหลา่ นจ้ี ะกอ่ ให้เกิดงานอาชพี ใหม่ๆ และการกระจายเงินตราซึ่งถอื เปน็ การเสริมสร้าง ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมให้กับประเทศนั่นเอง (การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย, 2529:3) ความหมายของการท่องเท่ียว (Tourism) ในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมว่าด้วยการเดินทางและท่องเที่ยวระหว่าง ประเทศขึ้นที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี และได้ให้คำจำกัดความของคำว่า “การท่องเท่ียว” ไว้ว่า “การเดินทางเพื่อความ บันเทิงรื่นเริงใจ เยี่ยมญาติ หรือการไปร่วมประชุมแต่มิใช่เพื่อการประกอบอาชีพเปน็ หลักฐานหรือไม่พำนักอยู่เป็นการ ถาวร” องค์การท่องเที่ยวโลก (World Tourism Organization : W.T.O) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยว ดังน้ี “Tourism comprises the activities of the person traveling to and staying in places outside their usual environment for not more than one consecutive year for leisure, business and other purpose.” จาก ความหมายน้สี รปุ ไดว้ ่า การทอ่ งเที่ยว หมายถึง การเดินทางของบุคคลจากที่อยู่อาศัยปกตไิ ปยงั ท่ีอ่นื เป็นการช่ัวคราว (ไม่ มากกว่า 1 ปี ติดตอ่ กัน) เดนิ ทางดว้ ยความสมัครใจเพ่อื การพักผ่อนหยอ่ นใจ ติดตอ่ ธุระและวัตถุประสงค์ใดๆกไ็ ด้ แต่ไม่ใช่ เพอ่ื การประกอบอาชีพ หรอื หารายได้ สำนักงานพฒั นาการทอ่ งเที่ยว (2546) การท่องเท่ียว หมายถึง การเดินทางเพือ่ ผอ่ นคลายความเครียด แสวงหา ประสบการณ์แปลกใหม่ โดยมีเงื่อนไขว่า การเดินทางนั้น เป็นการเดินทางเพียงชั่วคราว ผู้เดินทางจะต้องไม่ถูกบังคับให้ เดินทาง ไพฑูรย์ พงศะบุตร และวิลาสวงศ์ พงศะบุตร (2542) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยว (Tourism) หมายถึง การเดินทางไปเยอื นสถานที่ต่างถิ่นซึ่งไม่ใชเ่ ป็นที่พำนักอาศัยประจำของบุคคลนั้น และเป็นการไปเยอื นชัว่ คราวโดยไม่ใช่ เพือ่ เปน็ การประกอบอาชพี หารายได้

จากคำนิยามและความหมายของการท่องเที่ยว (Tourism) ผู้เขียนหลายท่านได้ให้ความหมายไว้ข้างต้นสรุปได้ ดังนี้ “การท่องเที่ยว” (Tourism) หมายถึง การเดนิ ทางของมนษุ ยจ์ ากสถานทีใ่ ดสถานท่หี นึ่งไปยงั อีกสถานทห่ี น่งึ หรือการ เดินทางจากถิ่นพำนักที่อาศัยไปยังสถานที่อื่นเป็นการชัว่ คราวด้วยความสมัครใจไป และเป็นการเดินทางด้วยเหตุผลของ การท่องเที่ยวมิใช่เพื่อการประกอบอาชีพ หรือหารายได้ เช่น การเดินทางเพื่อการพักผ่อน การเดินทางเพื่อไปชมการ แข่งขันกีฬา (อาทิ การแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ โอลิมปิก เป็นต้น) การเดินทางเพื่อการศึกษา การเดินทางเพื่อ ประชุมสมั มนา การเดนิ ทางเพื่อเยยี่ มเยอื นญาติพีน่ ้อง หรอื เพ่ือน การเดนิ ทางเพอ่ื แลกเปลย่ี นวัฒนธรรม เปน็ ต้น สาระที่ 3 องค์ประกอบของการทอ่ งเทย่ี ว (ส.3) อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีลักษณะ เพราะเกี่ยวข้องกับธุรกิจหลายประเภท ดังนั้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจึงมี องคป์ ระกอบ 5 สว่ น คอื นักทอ่ งเทยี่ ว ทรัพยากรการท่องเที่ยว การคมนาคมขนสง่ ข้อมลู ขา่ วสารการทอ่ งเทย่ี ว และสิ่งอา นวยความสะดวกทางการทอ่ งเท่ยี ว การพจิ ารณาองคป์ ระกอบแต่ละส่วน จะทาให้สามารถพฒั นาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้ อย่างถูกต้องและมีประสทิ ธิภาพ นกั ท่องเทยี่ ว องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nation:UN) ให้ความหมายของ “นกั ทอ่ งเทยี่ ว” ไวด้ ังนี้ ผู้มาเยือน (Visitor) หมายถึง บุคคลที่เดินทางไปยังประเทศที่ตนมิได้พักอาศัยอยู่เป็นประจำ ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ ตามทีม่ ิใชไ่ ปประกอบอาชีพเพ่ือหารายได้ ดังนัน้ ผูม้ าเยอื น จึงหมายรวมถึงผูเ้ ดนิ ทาง 2 ประเภท คือ 1. นักท่องเทย่ี ว (Tourist) คอื ผเู้ ดนิ ทางมาเยือนชั่วคราวท่ีพักอยู่ในประเทศที่มาเยือนไม่นอ้ ยกว่า 24 ช่ัวโมง 2. นักทศั นาจร (Excursionist) คือ ผูเ้ ดนิ ทางมาเยือนชั่วคราว และอย่ใู นประเทศทม่ี าเยือนน้อยกว่า 24 ช่ัวโมง สำหรับประเทศไทย ไดก้ ำหนดวา่ “นกั ทอ่ งเทีย่ ว” หมายถึง บคุ คลที่เดินทางจากท้องถนิ่ ทีอ่ ย่โู ดยปกติของตน ไปยงั ท้องถ่นิ อ่ืนเปน็ การช่วั คราวดว้ ยความสมัครใจ และด้วยวัตถปุ ระสงคท์ มี่ ใิ ชเ่ พือ่ ประกอบอาชพี หรือหารายได้

การท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย ได้นิยามศัพทท์ างนักท่องเทย่ี วเพ่อื ใชใ้ นงานสถิติ ดงั นี้ 1. นกั ทอ่ งเท่ยี วระหวา่ งประเทศ (International Visitor) คือ บคุ คลทมี่ ิไดม้ ที ีพ่ ำนักถาวรในราชอาณาจกั รไทย เดนิ ทางเข้ามาเพื่อประกอบภารกจิ ใดๆ ทง้ั นี้ตอ้ งมไิ ดร้ ับค่าจ้างในการประกอบภารกิจน้นั จากผใู้ ดในราชอาณาจักรไทย 2. นักท่องเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Visitor) คือ บุคคลทุกสัญชาติที่มีที่พำนักถาวรอยู่ในราชอาณาจักร ไทย และเดนิ ทางไปยังสถานที่หนึ่งในอีกจังหวัดหนึง่ ซ่งึ มใิ ช่ถน่ิ ที่อยปู่ ระจำ เพ่อื ประกอบภารกิจใดๆ ท้ังน้ีต้องไม่ได้รับ ค่าจ้างในการประกอบภารกจิ น้นั ๆ จากผ้ใู ด ณ สถานทีแ่ หง่ นัน้ ทรัพยากรการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็นองค์ประกอบสำคัญของอตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยว เพราะเป็นสิ่งดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยว ไปสู่จุดหมายปลายทาง ทรัพยากรการท่องเทีย่ วเปน็ สิ่งทีจ่ ับต้องไมไ่ ด้โดยแบง่ ออกเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวสว่ นท่เี ป็น ธรรมชาติ และทรัพยากรการทอ่ งเท่ียวที่มนุษยส์ ร้างข้ึน ประเทศไทยมีทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยวกระจายอยู่ในทุกภาคของ ประเทศ การอนุรกั ษท์ รัพยากรการท่องเทยี่ วเปน็ ส่งิ ที่มีความจาเป็นอย่างยง่ิ ในอนั ท่ีจะทาใหอ้ ตุ สาหกรรมท่องเที่ยวมีความ ยงั่ ยืน ประเภทของทรพั ยากรการท่องเทยี่ ว ประเทศไทยมีทรพั ยากรทอ่ งเที่ยวเป็นจานวนมากและมคี วามหลากหลาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ส่วนที่เป็นธรรมชาติ ทรัพยากรการท่องเที่ยวในส่วนที่เป็นธรรมชาติ ทรัพยากรการท่องเที่ยว ในส่วนที่เป็น ธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ 1) อุทยานแห่งชาติ (National park) 2) วนอุทยาน (Forest park) 3) เขต รักษาพันธ์สัตวป์ ่า (Wildlife sanctuary) 4) เขตห้ามล่าสัตว์ป่า (Non hunting area) 5) สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical garden) 6) สวนรุกชาติ (Arboretum) 2. ส่วนที่มนุษย์สร้างขึ้น มีทั้งที่เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ ศาสนสถาน โบราณวัตถุโบราณสถาน กาแพงเมือง ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี วถิ ชี ีวิต/ความเปน็ อยู่ ศูนยว์ ัฒนธรรม สินค้าและหตั ถกรรมพ้ืนเมอื ง เปน็ ตน้

สาระที่ 4 ความสำคัญของอตุ สาหกรรมท่องเทย่ี ว (ส.4) อตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียว (Tourism Industry) ซง่ึ ประกอบด้วยธุรกจิ หลายประเภท ทงั้ ธรุ กิจทีเ่ กย่ี วข้องโดยตรง และ ธุรกจิ ท่เี ก่ียวข้องทางอ้อม หรือธรุ กิจสนบั สนุนตา่ ง ๆ การซื้อบรกิ ารของนกั ท่องเท่ียวชาวต่างประเทศ ถอื ได้วา่ เป็น การส่ง สินค้าออกที่มองไม่เห็นด้วยสายตา (Invisible Export) เพราะเป็นการซื้อด้วยเงินตราต่างประเทศ การผลิต สินค้า คือ บริการต่าง ๆ ทีน่ ักท่องเทยี่ วซ้อื กจ็ ะตอ้ งมกี ารลงทนุ ซ่ึงผล ประโยชนจ์ ะตกอยใู่ นประเทศและจะชว่ ยให้เกิด งานอาชีพอีก หลายแขนง เกิดการหมุนเวยี นทางเศรษฐกิจ นอกจากนที้ างดา้ นสงั คมการทอ่ งเที่ยวเป็นการพักผ่อนคลาย ความตึงเครียด พร้อม กับการได้รับความรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ผิดแผกแตกต่างออกไปอีกครั้ง อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวเป็น แหล่งที่มาของรายได้ในรปู เงินตราต่างประเทศ ซึ่งจะมีส่วนช่วยสร้างเสถียรภาพให้กับดุลการชำระเงินได้ เป็นอย่างมาก นอกจากน้ี การทอ่ งเท่ยี วยงั มีบาทบาทช่วยกระตุน้ ให้มกี ารนำเอาทรพั ยากรของประเทศมาใช้ประโยชนอ์ ย่างกว้างขวาง ท่ี ผู้อยู่ในท้องถิน่ ได้เกบ็ มาประดิษฐ์เป็นหัตถกรรมพื้นบ้าน ขายเป็นของท่ีระลึกสำหรับนักท่องเที่ยว ซึ่งสรุปได้ว่าบทบาท และความสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี ดงั ตอ่ ไปนี้ (ฉันทัช วรรณถนอม, 2552) ด้านเศรษฐกจิ ไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นมาอย่างมากเนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมท่ี กอ่ ใหเ้ กิดผลประโยชน์ทงั้ ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดล้อม บทบาทท่ีเดน่ ชัดบทบาทหนึ่งในช่วงหลายปีท่ี ผ่านมาของอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วกค็ อื บทบาทด้านเศรษฐกจิ ซึง่ อาจกล่าวไดว้ า่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเปน็ อุตสาหกรรมท่ี ทำรายได้ที่สำคัญให้ประเทศเป็นลำดับต้น โดยเฉพาะการนำเงินตราต่างประเทศเข้ามาใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิของ ประเทศ ด้านสงั คมและวฒั นธรรม ปกตริ ูปแบบวิถชี วี ิตของคนในสังคมในทุกๆ สงั คม จะมีการพฒั นาเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลาอย่แู ล้ว จะชา้ หรือเร็วก็ ขึ้นอยู่กับปัจจัยจากทั้งภายนอกละภายในมาเป็นตัวกระตุ้น จะพัฒนาไปในทางที่ดีหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้งสองน้ัน ตลอดจนสภาพสังคมนนั้ ประกอบดว้ ย เชน่ เดียวกับการที่หากสงั คมใดต้องการเปลยี่ นตัวเองจากสังคมเดิมตามปกติมาเป็น สังคมที่เปิดกว้างพร้อมรับการเข้ามาของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สังคมนั้นก็จะยิ่งมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วเปน็ หลายเท่าตวั เนื่องจากการท่องเทีย่ วต้องเก่ียวข้องกับภาคธรุ กิจหลายฝ่าย ตอ้ งเกยี่ วข้องกับคนหลายคน ต้อง เก่ยี วข้องกับวัฒนธรรมความต้องการของคนท่ีหลากหลาย

ผลของการท่องเทีย่ วอาจไม่ได้สง่ ผลต่อการทำให้วัฒนธรรมของท้องถ่ินต้องเปลีย่ นแปลงอย่างทันทีทันใด แต่อาจ ค่อยๆ ซึมซับอย่างช้าๆ ธุรกิจหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวภาคต่างๆที่มีความล่อแหลมต่อความ รับผิดชอบในวัฒนธรรมท้องถิ่นน้นั ๆ จงึ ควรตระหนัก หม่ันสังเกตตดิ ตาม พฒั นานำวฒั นธรรมในส่งิ ทด่ี ี และวัฒนธรรม ภายนอกท่ีแตกตา่ งจากของตนมาปรบั ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแตต่ อ้ งไม่ลืมคุณค่าวัฒนธรรมเดมิ ของตนด้วย ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การทอ่ งเทยี่ วกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในการช่วยรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม กล่าวคอื เมอ่ื มีการท่องเท่ยี วเกดิ ข้ึน ย่อมทำให้ชุมชน ในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วนัน้ ๆ เหน็ คุณค่าของสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ ปน็ ทรพั ยากรการท่องเที่ยว เป็นเหตุให้มีการมกี ารชว่ ยกันรกั ษาสภาพ ภูมิทัศน์ของสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อสามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามามากขึ้น และสามารถอาศัยรายได้จากการ ท่องเท่ียวมาสนับสนนุ ในการดูแลรักษาสิง่ แวดลอ้ มของแหล่งทอ่ งเท่ยี วนน้ั ๆ อันเปน็ การนำทรัพยากรการท่องเที่ยวมาใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งคุ้มค่า (ฉนั ทัช วรรณถนอม, 2552)

รหสั วชิ า 30700-100๑ ช่ือวิชา อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วและการบรกิ าร หนว่ ยที่ ๒ ช่ือหน่วย ลกั ษณะของอุตสาหกรรมและธรุ กจิ ทอ่ งเท่ียว สอนครัง้ ท่ี ๕-๘ เวลา ๑๒ ช่ัวโมง สาระสำคญั สาระที่ 1 ลกั ษณะของอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี ว (ส.5) คำว่า “อุตสาหกรรม” ตามพจนานกุ รม คือ “การกระทำส่ิงใด ๆ เพื่อให้เปน็ สินค้า” แตป่ ัจจุบันมคี วามหมาย มากกว่านนั้ คือ ” กิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างมรี ะบบการพาณชิ ย์ หรอื การผลิตสาขาใดสาขาหน่ึง” การท่องเท่ียว กค็ ือ การดำเนนิ กจิ กรรมบรกิ ารดา้ นการนำเทยี่ ว เช่น บรกิ ารด้านการเดนิ ทาง บรกิ ารดา้ นอาหาร และการพักแรม และบริการดา้ นการนำเทยี่ ว ซ่งึ ดำเนนิ การโดยหวงั ผลกำไร ท่ตี อ้ งอาศยั แรงงานและการลงทนุ สงู โดย ใช้เทคนิควชิ าการเฉพาะ มกี ารวางแผน การจัดองค์การ และการตลาด ครอบคลุมธรุ กจิ หลายประเภท ทงั้ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ การทอ่ งเที่ยวโดยตรงและโดยออ้ ม ลกั ษณะของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว อตุ สาหกรรมท่องเที่ยวเปน็ อตุ สาหกรรมที่มลี ักษณะเฉพาะ เน้นการใชแ้ รงงานและการบรกิ ารเป็นหลกั สนิ คา้ ทางดา้ นอตุ สาหกรรมท่องเทีย่ วเปน็ สินคา้ ทจ่ี บั ต้องไมไ่ ด้ ผซู้ ือ้ ตอ้ งจ่ายเงนิ กอ่ นไดร้ ับสินคา้ และบริการ และไมส่ ามารถจดั สง่ สินค้าให้กับผซู้ ื้อไดถ้ ึงท่ี แต่เปน็ ลักษณะที่ผู้ซือ้ สินค้าจะตอ้ งเดนิ ทางมารบั สินค้าหรือบริการดว้ ยตนเอง ซ่ึงอุตสาหกรรม ทอ่ งเทยี่ วน้นั เป็นอตุ สาหกรรมที่สร้างรายไดเ้ ป็นอย่างสูงให้กับประเทศ และในขณะเดียวกันกส็ ่งผลกระทบทัง้ ดา้ นบวกและ ด้านลบให้แกป่ ระเทศเช่นกนั ถา้ ไมม่ ีการบรหิ ารจดั การทดี่ ี สาระที่ 2 ความหมายของธรุ กิจทอ่ งเทยี่ วและลักษณะของธรุ กิจท่องเทีย่ ว (ส.6) พ.ร.บ.ธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ.2535 มาตรา 3 นิยามคำว่า “ ธุรกิจนำเที่ยว ” หมายความว่า “ การ ประกอบธรุ กิจเก่ียวกบั การจัดหรือใหบ้ รกิ าร หรืออำนวยความสะดวกเก่ยี วกับการเดนิ ทาง ที่พกั อาหาร ทศั นาจร และ หรือมคั คเุ ทศก์ให้แก่นกั ทอ่ งเที่ยว ”

ลกั ษณะของธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี ว 1. ธุรกจิ ทอ่ งเทยี่ วในประเทศ ในปจั จุบัน ประเทศไทยมีกจิ การทอ่ งเท่ยี วอยู่ประมาณ 400 แหง่ กจิ การดงั กล่าว สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1.1.1 กิจการนำเท่ียวรับเฉพาะนักทอ่ งเทย่ี วจากต่างประเทศอยา่ งเดยี ว ( In – bound Operator ) 1.1.2. กจิ การนำเที่ยวคนในประเทศไปยังตา่ งประเทศ ( Out – bound Operator ) 1.1.3. กจิ การนำเท่ยี วภายในประเทศอย่างเดียว ( Local operator ) 1.1.4 กิจการนำเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Local & Worldwide Operator ) 1.1.5 กิจการท่ดี ำเนนิ ธุรกิจทัว่ ไปเกย่ี วกบั การท่องเท่ยี ว ( General Travel Agent ) 2. ธุรกิจท่องเที่ยวต่างประเทศ ควรพัฒนาในเรื่องของความรู้ความชำนาญในแหล่งท่องเที่ยว สภาพดินฟ้า อากาศ ภมู ิประเทศ ขนบธรรมเนียมประเพณี คา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ อัตราแลกเปล่ยี นเงนิ ตรา ตอ้ งชแี้ จงให้นักท่องเที่ยวได้รู้ ก่อนทีจ่ ะไป เพื่อมิให้มปี ญั หาเกดิ ขึน้ ในระหว่างการทอ่ งเท่ยี ว เนอื่ งจากความรเู้ ทา่ ไม่ถงึ การณข์ องนักทอ่ งเทย่ี วซึ่งบริษัท นำเท่ยี วต้องชแ้ี จง และดแู ลอยา่ ง ใกลช้ ดิ โดยทวั่ ไปธุรกจิ ประเภทนี้จะจัดตั้งข้ึนในรปู ของบริษัท ซึง่ จะร่วมมือกับบริษัทนำ เที่ยวของต่างประเทศ ให้บริการแก่นักท่องเที่ยวในเรื่องของการทำหนังสือเดินทาง ( Passport ) ติดต่อขอวีซ่า (Vesa ) ขายตว๋ั เครอ่ื งบนิ จัดรายการนำเทยี่ ว และบรกิ ารจดั หาท่พี ัก สาระท่ี 3 ประเภทของธรุ กิจนำเทยี่ ว (ส.7) ประเภทของธุรกจิ นำเท่ยี ว แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. Travel Agent บคุ คลหรอื บรษิ ัทที่มคี วามสามารถจัดการนำเทยี่ ว การขนส่ง ทพี่ ัก อาหาร การรบั -สง่ ท้ัง ขาไปและขากลับ การนำสถานท่แี ละงานอ่ืน ๆ ของการเดนิ ทางซ่ึงเปน็ การบรกิ ารใหแ้ ก่สาธารณชน เชน่ บริษทั นำเทย่ี ว จำกัด มีความชำนาญเบ็ดเสร็จทกุ อยา่ ง สามารถดำเนนิ การเองได้ 2. Tour Operator บรษิ ัทมคี วามชำนาญในการจดั และดำเนนิ การเก่ยี วกับการ ตลาด ทางดา้ นการจดั การ เดินทางไปพกั ผ่อน แบบ Inclusive Tour โดยเกบ็ เงินล่วงหน้าแลว้ มอบให้ Travel Agent เป็นผขู้ าย แต่บางคร้งั ก็ ลงมือขายแกน่ ักท่องเที่ยวโดยตรง เชน่ บริษทั หรือกลุ่มคนในพื้นทท่ี ม่ี ีอปุ กรณเ์ ก่ยี วกบั การดำนำ้ และเรือพรอ้ มใน จงั หวัดพงั งา นำเทย่ี วดำน้ำดปู ะการงั ท่ีหมู่เกาะสิมลิ ัน – หมู่เกาะสุรนิ ทร์ ก็ติดต่อกบั บรษิ ทั นำเทย่ี วจำกัด เปน็ ผู้ขายบัตร เพราะมีลูกค้าท่ีเป็นนักทอ่ งเทีย่ วแพร่หลายอยู่แล้ว ส่วนตนก็เปน็ ผูจ้ ัดรายการรับทัวรช์ ดุ นต้ี ่ออย่ทู พ่ี ังงา

3. Wholesaler บรษิ ทั มคี วามชำนาญงานในงานเดินทาง คิดและเสนอโปรแกรมที่ จัดไวแ้ บบเหมาหรือจดั ข้นึ ตามแตจ่ ะรับคำส่ังมาจากลกู ค้าแลว้ มอบให้ Travel Agent รับไปขายตอ่ Wholesaler ตา่ งๆ กับ Tour Operator คอื Wholesaler มักไมเ่ สนอรายการเดนิ ทางต่อบรษิ ัทนำเท่ียว บ่อยๆ แต่ Tour Operator จะเสนอขายใหแ้ ก่ Retailer ดว้ ย เช่น เป็นบริษัทหรอื กล่มุ คนท่ีชอบการผจญภัยชุด บุกเบกิ ไปเทย่ี วน้ำตกทลี อแล(น้ำตกที่เลยน้ำตกทีลอซเู ขา้ ไปในเขตพมา่ มาแลว้ มคี นทเ่ี คยไปดว้ ยแนะวา่ ควรจัดทวั ร์แบบ นี้ (ลยุ สมบกุ สมบัน) จึงคิดรายการขึน้ แล้วเสนอตอ่ บริษทั นำ เทยี่ วจำกัด ขาย ซง่ึ จะจัดไมบ่ ่อย และถ้าคนไปนำ้ ตกน้ี กันมาก ทวั ร์ท่ีไปนำ้ ตกทีลอแลลักษณะน้ีก็จะงดไป แลว้ ไปบุกเบิกที่แหง่ ใหม่ตอ่ ไป มักเป็นบริษัทในทอ้ งถนิ่ สาระท่ี 4 ธรุ กิจท่เี ก่ียวข้องกบั การทอ่ งเท่ียว (ส.8) ธรุ กจิ การทอ่ งเท่ยี วทเ่ี ปน็ องค์ประกอบสำคัญในอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ยี วมีดว้ ยกันหลายประเภท ซ่งึ พอจำแนกออกได้ เปน็ 6 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจทีพ่ ักแรม ธุรกจิ การขนส่ง ธรุ กจิ จำหนา่ ยสินคา้ ของทีร่ ะลกึ ธุรกจิ อาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจ นำเท่ยี ว และธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี วประเภทอืน่ ๆ ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ธุรกจิ ท่พี ักโรงแรม ธุรกิจที่พักโรงแรม (Accommodation Business) เป็นส่วนประกอบทีส่ ำคัญสว่ นหนึ่งของธุรกิจทอ่ งเที่ยว ธุรกิจท่ี พักแรมหรือธุรกิจโรงแรม (Accommodation or Hotel Business) หมายถึง ธุรกิจที่ให้บริการด้านที่พักอาศัยแก่ นักทอ่ งเท่ยี ว รวมทัง้ บรกิ ารอาหารและเครื่องด่ืมตามความต้องการของนักทอ่ งเทย่ี ว โดยคดิ ค่าตอบแทนเพ่ือผลกำไรของ ธรุ กจิ น้นั ๆ ปจั จุบันนยิ มใช้คำว่า ธุรกจิ โรงแรมมากกว่า “ธรุ กจิ ท่พี ักแรม ประเภทของท่ีพักแรม การแบ่งประเภทของที่พักแรมมีความแตกต่างกันออกไปตามเกณฑ์การจัดแบ่งแล้วแต่จะเป็นการจัดจำพวกเพื่อ วัตถุประสงคใ์ ด เชน่ เพ่อื นโยบายในการลงทนุ เพื่อเก็บรวบรวมสถิติ เพอื่ ส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ วบางประเภท เป็นต้น เกณฑ์ ตา่ งๆ เหลา่ น้ีพอสรปุ ได้คอื - จัดตามเกณฑค์ วามสะดวกสบาย โดยใช้คุณภาพของอุปกรณเ์ ครือ่ งใช้ขนาดของการบริการและราคา เป็นตัวกำหนด การเรยี กชื่อนจี้ ะต่างกันในบางประเทศ เชน่ ในสวติ เซอรแ์ ลนด์ ฝรั่งเศส นิยมเรยี กเป็น โรงแรมระดบั 5 ดาว หรอื 4 ดาว มากกว่าทจี่ ะเรียกว่า โรงแรมหรหู รา (Deluxe Hotel) หรือโรงแรม ชนั้ หน่งึ (First Class Hotel) - จดั ตามเกณฑ์ช่วงระยะเวลาท่เี ปิดดำเนินการ เชน่ ยึดฤดูกาลเป็นเกณฑ์ หรอื โรงแรมประเภท ชวั่ คราว อพารต์ เมนต์ เป็นต้น

- จัดตามเกณฑว์ ตั ถปุ ระสงคข์ องการทอ่ งเทย่ี วเปน็ ตวั กำหนด เชน่ ที่พักบนเขาในประเทศเมอื งหนาว ทีพ่ ักตามชายทะเล ทะเลสาบ ที่พกั ในป่า สวนสาธารณะใหญๆ่ - จดั ตามเกณฑ์ราคา ซ่ึงคดิ คำนวณจากจำนวนเงนิ ลงทนุ และจำนวนห้องท่โี รงแรมนัน้ ๆ มีอยู่ การ ทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ไดจ้ ัดแบง่ เป็น 3 ประเภทคอื o ระดับท่ี 1 ราคาหอ้ งพกั ตอ่ ห้อง / คืน 2,500 บาทข้นึ ไป o ระดับที่ 2 ราคาหอ้ งพักต่อห้อง / คืน 1,500 – 2,000 บาทขึน้ ไป o ระดบั ท่ี 3 ราคาหอ้ งพกั ตอ่ หอ้ ง / คืน ต่ำกว่า 1,500 บาท - จดั ตามเกณฑ์ความสำคญั ทางเศรษฐกิจ o สถานประกอบการดงั้ เดมิ และทน่ี ยิ มกนั จนถงึ ปจั จบุ นั (คอื โรงแรม) o สถานประกอบการเติมเต็ม ไดแ้ ก่ หอพกั เยาวชน ทีพ่ ักสำหรับหลกี หนคี วามสับสนวุน่ วาย หรอื เพื่อเปลย่ี นบรรยากาศ เชน่ ทีพ่ ักในรถ (Trailer Guest House) 2.ธรุ กจิ การขนส่ง ธุรกิจการขนส่ง (Transportation Business) เปน็ ธรุ กจิ ท่ีสำคัญในการเคลอื่ นย้ายนกั ทอ่ งเท่ยี วจากจุดเร่ิมต้นจนถึง ปลายทาง การขนส่งจึงเป็นปัจจยั ที่สำคญั สำหรับอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียว จากผลของการพัฒนาการคมนาคมขนสง่ ทำให้ นักท่องเที่ยวสามารถมีเวลามากขึ้นในการท่องเที่ยวและพักผ่อน รวมทั้งหาความสนกุ เพลิดเพลิน ณ จุดหมายปลายทาง โดยเสียเวลาเดินทางสั้นลง นอกจากนี้ยังมสี ว่ นส่งเสรมิ ให้เกดิ การเดนิ ทางท่องเทีย่ วมากข้นึ มีจำนวนนักทอ่ งเที่ยวเพ่ิมมาก ขนึ้ โดยเฉพาะกลุ่มนกั ทอ่ งเทยี่ วระดบั กลางและระดับล่าง เน่อื งจากมีการขนสง่ เพ่ือมวลชน เช่น รถไฟ รถเมล์ รถบัส เป็น ต้น รปู แบบของการคมนาคมขนสง่ ในอุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว การบริการขนส่งในเชิงพาณิชย์นั้น ส่วนใหญ่จะเกย่ี วข้องกับการขนย้ายผู้โดยสารและสนิ ค้าจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุด หนึ่ง แต่การขนส่งนี้นับว่าอิทธิพลกับการท่องเที่ยวโดยตรง ก็คือ การขนส่งผู้โดยสาร นักท่องเที่ยว ซึ่งอาจแบ่งออกตาม รูปแบบการขนสง่ ได้ 3 ประเภท คอื การขนส่งทางบก การขนสง่ ทางนำ้ และการขนสง่ ทางอากาศ ดงั มรี ายละเอียดต่อไปนี้ 1) การขนสง่ ทางบก (Land Transportation) การขนสง่ ผู้โดยสารทางบก ในปจั จุบนั อาจทำได้ 2 ทาง คือ การ ขนส่งทางบก (Car Transportation) กบั การขนส่งทางรถไฟ (Rail Transportation) ดังนี้ 1.1 การขนส่งทางรถ (Car Transportation) การขนส่งทางรถ เปน็ การขนสง่ ทีม่ บี ทบาทสำคญั ตอ่ การทอ่ งเที่ยว เสน้ ทางถนนพัฒนามาจาก

เสน้ ทางเดินเท้าในสมยั โบราณกอ่ นประวัตศิ าสตร์ นกั โบราณคดไี ดพ้ บรอ่ งรอยเส้นทางท่คี นโบราณใช้เดนิ ทางเทา้ ซ้ำซากใน หลายดนิ แดน จนกระทงั่ พัฒนาเป็นถนนหนทางในปัจจบุ ัน และพัฒนาพาหนะในการเดนิ ทางขนสง่ ควบค่กู นั ไป ประเภทของการขนส่งทางรถ 1.1 รถโดยสารประจำเสน้ ทาง (Scheduled Buses) ปจั จุบันรถโดยสารประจำเสน้ ทางหรือรถบสั โดยสาร เป็น พาหนะหลกั ในการเดนิ ทางระยะไกลๆ บนภาคพืน้ ดิน และเป็นพาหนะเดนิ ทางท่ีมรี าคาถูกที่สุดเมือ่ เปรยี บเทียบกับรถยนต์ หรอื รถไฟในระยะทางไกลทเ่ี ท่ากัน 1.2 รถยนต์สำราญหรือบา้ นรถยนต์ (Recreational Vehicles) นบั เปน็ สิ่งประดษิ ฐ์ใหม่ท่ไี ด้รับความนิยมเปน็ อย่าง มากจากนักทอ่ งเทย่ี วในปัจจุบนั นี้ เพราะจะชว่ ยให้ประหยัดคา่ ใช้จ่ายใหก้ บั นกั ทอ่ งเทยี่ วท่ีเดินทางเปน็ ครอบครวั และมี กิจกรรมบริการตนเอง 1.3 การขนสง่ ทางรถไฟ (Rail Transportation) เปน็ การขนสง่ ที่ตอ้ งลงทนุ สงู มาก เพราะต้องมีสถานบี ริการ (Terminal) เส้นทางว่ิง (Track) และยานพาหนะ (Train) ดังน้นั จึงเปน็ รูปแบบการขนสง่ ทม่ี คี วามเสี่ยงสูง อาจจะประสบ กบั การขาดทนุ มากกวา่ กจิ กรรมการขนสง่ แบบอ่ืน 3. ธุรกจิ จำหนา่ ยสนิ ค้าของท่ีระลึก (Souvenir Business) จากประวตั ศิ าสตร์การท่องเท่ียวของมนษุ ย์ต้ังแตส่ มัยหลายพันปมี าแลว้ จนถึงปัจจบุ ัน จะพบว่ามนษุ ย์มีการเดินทาง ท่องเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เดินทางท่องเที่ยวเพื่อการค้า เพื่อการเจริญสัมพันธไมตรที างการเมือง เพื่อศาสนา เป็นต้น และกจิ กรรมทเ่ี กดิ ข้นึ ในระหว่างการเดินทางท่องเท่ยี วมหี ลายกิจกรรมได้แก่ การศกึ ษาหาความรู้ การพกั ผ่อน การ หาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อประทังชีวิตรวมไปถึงการหาซื้อสินค้าที่มีจำหน่ายในถิ่นที่ไปเยือน และกิจกรรมอื่นๆ อีก มากมาย ซง่ึ เป็นท้ังกจิ กรรมที่ทำให้เกดิ การทอ่ งเที่ยว หรอื เปน็ กิจกรรมทีเ่ กิดจากการทอ่ งเที่ยว ความหมายของสินคา้ ทร่ี ะลกึ (Souvenir) หมายถงึ สิ่งของตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องเมอื งของประเทศต่างๆ และมีความ ดึงดดู ใจนกั ท่องเที่ยวในการซ้ือ และนำผลติ ผลนั้นๆ กลับไปยังภมู ลิ ำเนาของตนเพื่อวัตถปุ ระสงค์ต่างๆ อาจจะเพอ่ื เป็นของ ทร่ี ะลกึ เพอ่ื เปน็ ของฝากหรือเพื่อใช้สอย ลกั ษณะของสินค้าที่ระลึก - เปน็ สนิ ค้าทมี่ ีลักษณะเฉพาะเปน็ เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถ่ินนั้น - เปน็ สนิ ค้าหายาก ราคาแพง มกี ารผลิตและมวี ตั ถุดิบในท้องถ่ินนน้ั - เปน็ สนิ ค้าราคาถกู

- มีความดงึ ดดู ใจในการออกแบบผลิตภณั ฑ์ การตกแต่งลวดลายสีสนั - เปน็ สินค้าทห่ี าซื้อไดง้ า่ ยสะดวกซือ้ มีวางขายตามจุดต่างๆ อยา่ งเหมาะสม - มีรูปร่างและน้ำหนกั ไมเ่ ป็นอุปสรรคต่อการขนส่ง - เปน็ สนิ ค้าที่ใช้วัสดุ แรงงานในท้องถนิ่ นนั้ - มกี ารแสดงข้ันตอนวธิ ีการทำให้นักท่องเท่ียวได้ชมหรือได้ทดลองทำเปน็ การสร้างความประทบั ใจและเห็นคุณคา่ ของสินค้าน้นั ๆ 4. ธุรกจิ อาหารและเครื่องดืม่ (Food & Beverage Business) ธรุ กิจดา้ นอาหารและเครอื่ งดมื่ เป็นตวั การสำคญั ไม่น้อยในการชกั จูงให้นกั ทอ่ งเทีย่ วไปเที่ยว ณ ตำบลน้นั ๆ ส่งิ ชักจูง ใจอาจจะเป็นความหรูหราโอ่โถง รสชาติของอาหาร ความแปลกพิเศษของอาหารซึ่งมกั จะไม่มขี าย ณ ที่อื่นๆ บริษัทการ บินหลายบรษิ ทั จะชักจูงผู้โดยสารให้ใชบ้ รกิ ารของตน โดยการโฆษณาเรอื่ งอาหารโดยเฉพาะ 5. ธรุ กิจนำเท่ยี ว (Tourism Business) “ธุรกิจนำเที่ยว” ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบญั ญตั ิธรุ กิจนำเทีย่ วและมคั คเุ ทศก์ พ.ศ. 2535 นนั้ มุง่ หมายถงึ “การ นำเที่ยว” เป็นสำคัญ โดยต้องมีการติดต่อโดยตรงกับนักท่องเที่ยว ณ ที่ต่างๆ ส่วนจะมีการจัดบริการด้านการเดินทาง สถานทพ่ี ักแรม อาหาร หรือมัคคุเทศก์หรอื ไม่ หรือมีมากนอ้ ยเพียงใด เปน็ เพียงส่วนหนึง่ ของ “การนำเทีย่ ว” เทา่ น้ัน 6. ธุรกิจทอ่ งเที่ยวประเภทอื่นๆ (Others Tourism Business) นอกจากธุรกิจที่พักแรม ธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มฯลฯ ในองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ ทอ่ งเทีย่ วท่เี ปน็ ปัจจัยสำคัญทำให้การท่องเท่ียวเพมิ่ ปรมิ าณมากข้ึนแล้วยังมธี รุ กิจประเภทอ่นื ๆ อีกหลากหลายประเภทซ่ึง เป็นธุรกิจที่เป็นผลมาจากการพัฒนาทางนวัตกรรม (Innovation) และเทคโนโลยีใหม่ๆ ของมนุษย์ ทำให้รูปแบบการ ท่องเทีย่ วเปลี่ยนไป และปัจจุบันธุรกิจดงั กล่าวเปน็ ธุรกิจทีน่ ักท่องเท่ียวนิยมใช้บรกิ ารและมีส่วนสง่ เสริมดึงนักท่องเที่ยวให้ เดินทางท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น สามารถจัดแบ่งได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ ธุรกิจจัดการประชุมสัมมนา ธุรกิจการจัดแสดง นทิ รรศการและสนิ ค้า ธรุ กิจเชา่ ซอ้ื ลขิ สทิ ธิ์ และธุรกจิ การบันเทงิ และนนั ทนาการ

รหัสวชิ า 30700-100๑ ช่ือวชิ า อตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยวและการบรกิ าร หนว่ ยท่ี ๓ ช่ือหนว่ ย วธิ กี ารจดั การธุรกจิ ท่องเทย่ี ว สอนครั้งท่ี ๙-๑๑ เวลา ๙ ชั่วโมง สาระสำคัญ สาระท่ี 1 การจัดการการทอ่ งเที่ยว (ส.9) นักจัดบริการท่องเที่ยวที่ดี คือบุคคลที่ไม่อยู่นิ่ง ต้องเป็นผู้ทีม่ คี วามคดิ ในการสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เกิดการขายการ ท่องเที่ยวให้มากที่สุด และต้องเป็นผู้มองสังคมกว้าง รู้จักสังเกต เพราะในธุรกิจทุกชนิดย่อมมีการแข่งขันกัน เพื่อให้ ธุรกิจของตนนั้นเป็นที่รู้จักและสนใจของลูกค้า ดังนั้น ผู้จัดการบริการท่องเที่ยวจะต้องสังเกตการเคลื่อนไหวของ ตลาด พจิ ารณาคแู่ ข่งในตลาด และหาวธิ กี ารที่จะโฆษณาและประชาสัมพันธ์ให้นกั ทอ่ งเทย่ี วหรือลูกค้ารู้จักและสนใจใน บริษทั ของตน เพ่ือให้ธุรกจิ ประสบความสำเรจ็ ตอ่ ไป สง่ิ ทผี่ ้ดู ำเนินการจัดการทอ่ งเท่ียวจะตอ้ งคำนึงถงึ ในการแข่งขนั ในตลาด คือ 1.การส่งเสริมการขาย หมายถึง การทำให้เกิดการขายให้มากที่สุด การส่งเสริมการขาย อาจทำโดยมีบริการ พิเศษเรื่อง ทพ่ี กั อาหาร ของแถม เพื่อให้นักท่องเทย่ี วเกิดความ ประทบั ใจ จูงใจนักทอ่ งเทย่ี ว และมีการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ใหท้ ราบโดยทั่วกนั 2. การบริการ หมายถึง การสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยว และให้เขากล่าวถึงและชักชวนให้ นักท่องเท่ยี วอ่นื ๆ มาใชบ้ รกิ าร หรือตวั เขาเองกลับมาใช้บริการอีก 3. การพิจารณาราคา หมายถึง ธุรกิจการท่องเที่ยวเป็นธุรกิจด้านการบริการ ซึ่งก็ต้องมีการแข่งขัน กัน นักท่องเที่ยวสามารถเปรียบเทียบราคาได้จากการบริการและคุณภาพที่เหมาะสมการกำหนดราคาจึงต้องคำนึงถึง คุณภาพดา้ นการบรกิ ารและคู่แข่งขนั ด้วย การจัดการขายบริการธุรกิจการทอ่ งเท่ียวกระทำไดห้ ลายวิธี อีกทั้งเป็นเรื่องที่ทั้งท้องถิ่น รัฐบาล หน่วยงานของ รัฐ ที่เกี่ยวข้องและเอกชนต้องร่วมมือกัน เพื่อเผยแพร่ให้นักท่องเที่ยวได้ข้อมูลการท่องเที่ยวที่ถูกต้อง การโฆษณา ประชาสมั พนั ธจ์ ึงเปน็ สง่ิ สำคญั ในการทีจ่ ะสร้างเผยแพรข่ า่ วสารที่ถกู ต้องใหเ้ ข้าใจตรงกนั การโฆษณา หมายถึง การเผยแพร่สินค้าหรือบริการ เพื่อมุ่งส่วนยึดครองทางการตลาด คือ ลูกค้าสนใจและซื้อ บริการ การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การเผยแพร่ข่าวสารให้ประชาชนรับรู้โดยมิได้มุ่งหวังจะจำหน่ายสินค้าหรือ บริการ แต่มุ่งจะยดึ ครองจติ ใจ ความนิยมชมชอบจากประชาชนการโฆษณาประชาสมั พันธเ์ ปน็ เครือ่ งมอื ให้นักท่องเที่ยว ตัดสินใจเลอื กเดนิ ทางไปพักผ่อนศกึ ษาหาความร้ไู ด้ทนั ตามความพอใจและตามสภาพฐานะท่จี ะอำนวยของแตล่ ะบุคคล สาระที่ 2 โครงสร้างทางการทอ่ งเที่ยว, รูปแบบของการจดั ธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ ว(ส.10) โครงสร้างทางการทอ่ งเทยี่ ว ทีถ่ ือเปน็ การประชาสัมพันธแ์ หลง่ ท่องเทีย่ วทอ้ งถิ่น คือ

1. โครงสรา้ งพืน้ ฐาน ทเี่ ป็นการก่อสร้างหลัก ๆ เชน่ ถนน สะพาน สนามบิน สถานรี ถโดยสารหรือสถานรี ถไฟ ระบบ การสื่อสารคมนาคม เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ แก่นักท่องเที่ยว ในการเดินทางไปสู่จุดหมายอย่างสะดวกและ ปลอดภยั ส่งิ เหล่านเ้ี ปน็ หน้าทข่ี องรฐั บาลในการจดั สรรงบประมาณจากภาษที ป่ี ระชาชนเป็นผู้เสีย 2. โครงสร้างระดับสูง ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่าง ๆ แก่นักท่องเที่ยว เช่น สถานที่พักแรม ภตั ตาคาร และร้านอาหาร บริการต่าง ๆ แหล่งจบั จ่ายซื้อสินค้า ศนู ย์การค้า สถานบันเทิง โดยปกติเอกชนเปน็ ผู้สร้าง เป็น ผจู้ ดั หาในรูปของธุรกิจ ซงึ่ บางแหง่ อาจมีหนว่ ยงานของรัฐเขา้ ไปดแู ลหรอื สนบั สนุน World Economic Forum (WEF) ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการเดนิ ทางและการท่องเท่ียว ของประเทศต่าง ๆ พิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ ใน 4 เสาหลกั โดยมีองค์ประกอบในแตล่ ะเสา ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมท่ีเอื้ออำนวย 1) สภาพแวดลอ้ มทางธุรกจิ (Business Environment) 2) ความมัน่ คงปลอดภัย (Safety and Security) 3) สุขภาพและอนามยั (Health and Hygiene) 4) ทรพั ยากรมนษุ ย์และตลาดแรงงาน (Human Resources and Labour Market) 5) ความพรอ้ มทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT Readiness) 2. นโยบายและเงอ่ื นไขทีส่ ำคัญ 1) การใหค้ วามสำคญั กับการเดนิ ทางและท่องเที่ยว (Prioritization of Travel and Tourism) 2) การเปิดรับนานาชาติ (International Openness) 3) การแข่งขนั ด้านราคา (Price Competitiveness) 4) ความย่งั ยืนของสิง่ แวดลอ้ ม (Environmental Sustainability) 3. โครงสรา้ งพ้ืนฐาน 1) โครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นการขนสง่ ทางอากาศ (Air Transport Infrastructure) 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านการขนสง่ ทางบกและทางน้ำ (Ground and Port Infrastructure) 3) โครงสรา้ งพื้นฐานบรกิ ารด้านการทอ่ งเทยี่ ว (Tourist Service Infrastructure) 4. ธรรมชาตแิ ละทรัพยากรทางวัฒนธรรม 1) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) 2) ทรัพยากรทางวฒั นธรรมและการท่องเทย่ี วเพอื่ ธรุ กิจ (Cultural Resources and Business Travel) การที่ไทยจะมีโอกาสได้รับรายได้จากการท่องเที่ยวมากน้อยเพียงใดในอนาคต นอกจากขึ้นอยู่กับจำนวน นักทอ่ งเทย่ี วที่จะเดินทางเข้ามาในอาเซียนแล้ว การวเิ คราะหจ์ ดุ แข็งและจดุ ออ่ นของประเทศไทยย่อมเป็นหนทางหน่ึงที่จะ

ช่วยให้การกำหนดกลยุทธ์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันที่ดีขึ้นได้ โดยจากข้อมูลในตารางอาจจะตั้งข้อสังเกต เกยี่ วกับความสามารถในการแข่งขันของไทยกับประเทศตา่ ง ๆ ในประชาคมอาเซียนได้ ดงั นี้ 1. จุดแข็งของไทย เมื่อเทียบกับสิงคโปร์ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ การแข่งขันดา้ นราคา และโครงสร้างพื้นฐาน บรกิ ารด้านการท่องเทย่ี วตามลำดับ 2. จุดแข็งของไทย เมื่อเทียบกับมาเลเซีย ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานบริการด้านการท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติ การให้ความสำคัญกับการเดินทางและการท่องเที่ยวของภาครัฐ โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางอากาศ และความ ยง่ั ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ มตามลำดบั 3. จุดอ่อนของไทย ได้แก่ ความม่นั คงปลอดภัย (ต่ำท่ีสุดในกลุ่มอาเซียน) และโครงสร้างพ้นื ฐานด้านการขนส่งทาง บกและทางน้ำ (ต่ำกว่าค่าเฉล่ียของอาเซยี น) 4. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทเี่ อ้ืออำนวยตอ่ การทอ่ งเที่ยว ยงั เป็นรองสงิ คโปร์และมาเลเซีย 5. ด้านสุขภาพและอนามัย ยังเปน็ รองสงิ คโปร์ มาเลเซยี และเวียดนาม ตามลำดบั 6. ทรพั ยากรมนุษย์และตลาดแรงงาน เป็นรองเพียงสงิ คโปร์เทา่ นัน้ (มีคะแนนเท่ากับมาเลเซีย) 7. ความพร้อมทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ยงั เป็นรองสงิ คโปรแ์ ละมาเลเซยี 8. การใหค้ วามสำคัญกับการเดินทางและการท่องเที่ยว ยังเป็นรองจากสิงคโปร์ อินโดนีเซยี ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา ตามลำดับ 9. การเปดิ รบั นานาชาติ ยังเปน็ รองสงิ คโปรแ์ ละมาเลเซยี 10. การแข่งขนั ด้านราคา ยงั เป็นรองอนิ โดนีเซยี เวยี ดนามและฟิลิปปินส์ ตามลำดบั 11. ความยงั่ ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม ยงั เป็นรองสงิ คโปร์ เมียนมาและลาว ตามลำดบั 12. โครงสรา้ งพนื้ ฐานด้านการขนสง่ ทางอากาศ เป็นรองเพยี งสิงคโปรเ์ ทา่ นั้น 13. โครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นการขนสง่ ทางบกและทางนำ้ ยังเปน็ รองสงิ คโปร์และมาเลเซีย 14. โครงสร้างพน้ื ฐานบริการดา้ นการท่องเท่ยี ว เปน็ อนั ดับหนึ่งของอาเซยี น 15. ทรัพยากรธรรมชาติ เปน็ อันดับหน่ึงของอาเซยี น 16. ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและการท่องเทย่ี วเพื่อธุรกจิ เป็นรองสิงคโปร์ อนิ โดนเี ซียและมาเลเซยี ตามลำดบั จากขอ้ สงั เกตข้างตน้ จะเห็นว่า สิ่งทป่ี ระเทศไทยควรให้ความสำคัญเปน็ อยา่ งย่ิง คือ ด้านความมั่นคงปลอดภัยของ นักท่องเที่ยวเนื่องจากเป็นด้านที่มีคะแนนต่ำสุดในประชาคมอาเซียน นอกจากปัญหาด้านความมั่นคงปลอดภัยของ นักท่องเที่ยวแล้ว ควรให้ความสนใจกับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกและทางน้ำ ตามลำดบั

ในส่วนที่เป็นจุดแข็งอยู่แล้ว ประเทศไทยจะต้องพยายามรักษาการมีทรัพยากรธรรมชาติที่ดีที่สุดในประชาคม อาเซยี น การมีโครงสรา้ งพ้ืนฐานบรกิ ารด้านการท่องเท่ียวทด่ี ีที่สดุ ในประชาคมอาเซียน รวมถงึ การพฒั นาศักยภาพในบาง ด้านที่เปน็ จุดเด่นอยู่แลว้ เช่น ด้านทรัพยากรมนษุ ย์และตลาดแรงงานควบคกู่ ันไปดว้ ย นอกจากนี้ เพื่อสร้างความสามารถในการแขง่ ขันด้านการเดินทางและท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซยี นให้สูงขึ้น ประเทศ ไทยอาจจะให้ความสำคัญกับการปรบั ปรุงพัฒนาดา้ นที่เป็นรองประเทศอื่น ๆ ไม่มากนกั เช่น โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการ ขนส่งทางอากาศให้ทัดเทียมกับสิงคโปร์ รวมถึงสร้างจุดแข็งใหม่ ๆ เช่น พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการ ท่องเท่ียวเพื่อธรุ กิจให้ดีข้นึ เนอื่ งจากยงั มอี กี หลายประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียนยังมีคะแนนในด้านน้ีค่อนข้างต่ำและ ยังไม่สามารถเข้ามาเปน็ คแู่ ขง่ กบั ไทยในระยะเวลาอนั ใกล้ ๆ นี้ได้ รปู แบบของการจัดธรุ กจิ ท่องเทีย่ ว บญั ญัตธิ รุ กจิ นาํ เทีย่ วและมัคคเุ ทศก์ พ.ศ.2535 ได้แบ่งธุรกจิ นําเทีย่ วออกเป็น 3 ประเภทดงั น้ี 1. ธุรกิจนำเที่ยวเฉพาะพื้นที่ คือ การประกอบธุรกิจนําเท่ียวไปยังสถานที่หนึ่งสถานที่ใด ในจังหวัดหนึ่งจงั หวัดใด และจงั หวดั ทีม่ ีเขตพื้นทตี่ ิดตอ่ กับจงั หวดั นนั้ 2. ธุรกิจนำเท่ยี วในประเทศ คอื การประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ วไปยงั สถานท่หี น่ึงสถานทใี่ ด ภายในราชอาณาจักรไทย 3. ธุรกิจนำเที่ยวต่างประเทศ คือ การประกอบธุรกิจนาํ เที่ยวไปยังสถานที่หนึ่งสถานที่ใด ในต่างประเทศ หรือนํา เทีย่ วให้กับนกั ทอ่ งเทีย่ วจากตา่ งประเทศ ไปยงั สถานท่หี นึง่ สถานทีใ่ ด ภายในประเทศ อนึง่ ผปู้ ระกอบการท่ีจดทะเบียนเป็น ธุรกจิ นําเทย่ี วตา่ งประเทศ จะประกอบธุรกจิ นําเทย่ี วใน ประเทศด้วยกไ็ ด้ โดยไมต่ ้องขออนุญาตตามขอ้ 1.1 และ 1.2 อีก นอกจากประเภทของบริษัทนําเท่ียวในกฎกระทรวงปี พ .ศ.2536 แล้ว เรายังสามารถแบ่ง ประเภทของธุรกิจบริษัทนาํ เท่ยี ว ท่พี บอย่มู ากในลักษณะตา่ งๆ ดังน้ี 1) บรษิ ัทนำเทยี่ วทีเ่ น้นบริการนำเท่ยี วแบบเหมาจ่าย(Package Tours) เปน็ บริษทั ท่ีมักมี บริการเกยี่ วกบั การ ท่องเที่ยวทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการรับจองที่พัก ร้านอาหาร ตั๋วเครื่องบิน สถานที่ เข้าชม ยานพาหนะ ฯลฯ บริษัทนาํ เที่ยวแบบเหมาจ่ายจะนําบริการเหล่านี้มาคิดรวมเป็นราคาเบ็ดเสร็จ เพื่อเสนอขาย 2) บริษัทนำเที่ยวที่มีความชำนาญ พิเศษเฉพาะด้าน จะมีขอบเขตการจัดนําเที่ยวแคบ กว่าประเภทแรก โดยมากจะจัดนําเที่ยวในประเทศ และอาจจัดนํา เที่ยวเป็นครั้งคราว หรือตามความตอ้ งการของลูกค้า เช่น การจัดทัวร์ผจญภยั ในรูปแบบต่างๆ ตัวอย่างเช่น การล่องแกง่ การเดินปา่ การดาํ นา้ํ ลกึ การปีนหนา้ ผา เปน็ ตน้ ในบางกรณอี าจจัดนําเทย่ี วไปยงั ต่างประเทศ เชน่ การจดั นําเที่ยว ไปชม การแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ หรือจัดนําเที่ยวไปตามเทศกาลสําคัญๆ ในต่างประเทศ เช่น เทศกาลดอกซากุระบานท่ี ประเทศญ่ปี ุ่น เปน็ ต้น 3) บริษัทนำเท่ยี วภายในประเทศ จะดําเนินการจดั นาํ เทยี่ ว ไปในสถานท่ที ่องเท่ยี วต่างๆ ในประเทศ โดยการขายบรกิ ารนําเทีย่ วจะเป็นการขายตรง หรืออาจขายผ่านบริษัทตัวแทนก็ได้ 4) บริษัทนำเที่ยวท่ีให้บริการเฉพาะ ชาวต่างประเทศ ซึ่งเดินทางเข้ามา บริษัทเหล่านี้ มักจะต้องอาศัยตัวแทนของบริษัทนำเที่ยวในต่างประเทศ เพื่อให้ นักทอ่ งเท่ียวเดนิ ทางเข้ามาแลว้ กจ็ ะทำหน้าทร่ี ับช่วงต่อในการให้บริการแกน่ กั ท่องเทย่ี วระหวา่ งพักอยู่ในประเทศ โดยมาก เป็นบริษัทซึ่งมีที่ตั้ง สำนักงานสาขาในประเทศต่าง ๆ หรือเป็นบริษัทใหญ่ ๆ ในประเทศไทย ที่ดำเนินการรับช่วงต่อ โดย รับ ดำเนินการบรกิ ารนกั ท่องเทย่ี วจากหลายๆ บรษิ ทั ทัวร์ใหญ่ในต่างประเทศท่ีมีการทำสัญญากัน เชน่ บริษัททูริสโม่ไทย ทเ่ี ป็นตวั แทนบรกิ ารนักทอ่ งเที่ยวของบริษทั เจท็ ทัวร์จากฝรัง่ เศส (Jet Tour) เป็นต้น

สาระท่ี 3 ทรพั ยากรการทอ่ งเท่ยี ว (ส.11) ทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็นองค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพราะเป็นสิ่งดึงดูดใจให้นกั ท่องเทีย่ ว ไปสู่จุดหมายปลายทาง ทรัพยากรการท่องเทีย่ วเปน็ สิ่งที่จับต้องไม่ได้โดยแบ่งออกเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวสว่ นท่เี ปน็ ธรรมชาติ และทรัพยากรการทอ่ งเที่ยวที่มนุษยส์ ร้างขึ้น ประเทศไทยมที รัพยากรการทอ่ งเที่ยวกระจายอยู่ในทกุ ภาคของ ประเทศ การอนรุ ักษท์ รัพยากรการท่องเที่ยวเป็นสิ่งท่มี ีความจาเปน็ อยา่ งยิ่งในอนั ที่จะทาให้อุตสาหกรรมท่องเท่ียวมีความ ยง่ั ยนื ทรัพยากรท่องเท่ยี วแบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะทว่ั ไป คอื 1 . ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ สภาพภูมิอากาศ รวมท้ั งอากาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำตก ภูเขา ทะเล ป่าไม้ ฯลฯ ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีลักษณะ เฉพาะที่แตกต่างจากทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น คือ เป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่ต้องสูญเสียต้นทุนในการผลิต แต่ ทรัพยากรทงั้ สองลักษณะต่างก็ต้องมีตน้ ทุนในการดูแลรกั ษาเหมือนกนั คณุ ภาพของทรพั ยากรการท่องเที่ยวท่ีเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติจักต้องไดร้ ับการดูแลรักษาในรปู แบบของการทอ่ งเที่ยวที่ยั่งยนื การวางแผนการท่องเที่ยว รวมทั้งการวาง มาตรฐานการดูแลรกั ษาทรัพยากรดงั กลา่ วจงึ เป็นสิ่งจำเปน็ เนื่องจากกจิ กรรมการท่องเทีย่ วสามารถส่งผลกระทบทางลบ ตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มซง่ึ เป็นสงิ่ เปราะบางได้ ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเป็นสิ่งดึงดูดความต้องการพื้นฐานของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น ผู้คนที่อยู่ในพื้นที่หุบเขาที่มีอากาศหนาว ย่อมไม่มีโอกาสที่จะได้สัมผัสอากาศอันอบอุ่น หรือได้เห็น ชายทะเล ความต้องการนี้เองที่ทำให้แหล่งท่องเที่ยวชายทะเลเป็นทีน่ ยิ มของนักท่องเที่ยวหลายประเทศ โดยเฉพาะชาว ยโุ รป ดงั จะเห็นไดจ้ ากความหนาแนน่ ของนกั ท่องเท่ียวท่ีชายหาดเมอื งนีซ (Nice) ของประเทศฝรง่ั เศสในช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นเดอื นแหง่ การพักผ่อนของนกั ทอ่ งเท่ียวฝรั่งเศส นอกจากนีช้ าวยุโรปยังนิยมทอ่ งเทีย่ วไปยงั ชายหาดหลายแห่งของ สเปน หรือหม่เู กาะแครบิ เบียนในอเมริกา รวมท้งั ภเู กต็ ของประเทศไทยด้วยเชน่ กัน จากตวั อยา่ งดังกลา่ ว ทำให้เหน็ วา่ นอกจากชายทะเลจะเป็นทรัพยากรการท่องเทีย่ วที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติท่ี เหน็ ไดเ้ ดน่ ชดั และสามารถดงึ ดูดนักทอ่ งเทย่ี วได้แลว้ ในอกี ส่วนหนึง่ “อากาศ” ซงึ่ เป็นทรัพยากรทมี่ องไม่เห็น ต้องอาศัย การสัมผสั ทางกาย กย็ ังเปน็ ทรัพยากรธรรมชาตอิ กี รูปแบบหนงึ่ ท่เี ปน็ ตัวดงึ ดูดนกั ท่องเทยี่ วไดเ้ ชน่ กนั 2 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ ทรัพยากรการ ทอ่ งเท่ียวดา้ นวฒั นธรรมและสังคม และทรัพยากรการทอ่ งเท่ยี วด้านบนั เทงิ และเพลดิ เพลิน · ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คือ วัฒนธรรม วิถีชีวิต หรือเหตุการณ์ที่สืบสานกันมา ตั้งแต่อดีต โดยส่วนใหญ่การนำเสนอประวัติศาสตร์ในรูปของทรัพยากรการท่องเที่ยวจะอยู่ในรูปของโบราณสถาน โบราณวตั ถุ และสถานทส่ี ำคัญทางประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ มีส่วนเก่ยี วข้องกบั ส่งิ เหล่าน้ี คือ 1) สงคราม เช่น กำแพงเบอร์ลินทีก่ น้ั ระหวา่ งเบอรล์ ินตะวนั ออกและเบอร์ลนิ ตะวันตก ในเยอรมนี และสะพาน ข้ามแมน่ ้ำแคว จ.กาญจนบรุ ี เปน็ ตน้

2) ศาสนา เช่น บโู รบูโด ในอินโดนีเซีย, พุทธคยา ในอนิ เดยี , นครวดั นครธม ในกัมพูชา เป็นตน้ 3) ผู้คนที่อาศัยในท้องถิน่ เช่น บ้านวิลเลี่ยม เช็คสเปียร์ ในอังกฤษ, อนุสาวรีย์ทา้ วสุรนารี จ.นครราชสมี า เป็น ตน้ 4) ชนชั้นการปกครอง (รัฐบาลหรือพระมหากษัตริย์) เช่น อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน ดี ซ,ี พระราชวงั บัคกิ้งแฮม ในองั กฤษ, พระราชวังบางปะอิน ในจ.พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ ต้น · ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมและสังคม แต่ละประเทศต่างก็มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทางสังคมที่เป็น เอกลักษณ์เฉพาะ ท้งั ทเี่ ป็นรูปธรรม ทแี่ สดงออกทางดา้ นลกั ษณะความเปน็ อยขู่ องผคู้ น ภาษา เทศกาล ประเพณี พิธีกรรม ทางศาสนา ศิลปหัตถกรรม การแต่งกาย การละเล่นและการบันเทิงตา่ งๆ สภาพบ้านเรือน ฯลฯ และที่เป็นนามธรรม ท่ี แสดงออกทางด้านความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ฯลฯ สิ่งเหล่านี้คือทรัพยากรการท่องเที่ยวทั้งสิ้น เนอื่ งจากสามารถตอบสนองความอยากรู้อยากเหน็ สิง่ ท่ีแปลกแตกตา่ งของนักท่องเที่ยวได้ · ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมและสงั คม ยังหมายรวมถึง “อธั ยาศัยไมตรแี ละการตอ้ นรับ” ของผู้คนในท้องถิ่น ด้วย นับเป็นทรพั ยากรท่ีสำคัญอย่างย่ิงของการทอ่ งเที่ยว ทั้งนีห้ ากนักท่องเทีย่ วเกิดความรูส้ ึกวา่ ไม่ได้รับการต้อนรบั จาก คนในทอ้ งถ่ินแล้ว ส่งิ อำนวยความสะดวกอืน่ ๆ หรือทิวทัศนใ์ ดๆ กไ็ มส่ ามารถดึงดูดใหน้ กั ท่องเทย่ี วอยใู่ นพน้ื ท่นี ั้นต่อไปหรือ กลับมาเยอื นซำ้ ได้ การแสดงออกซง่ึ การต้อนรับนกั ท่องเทยี่ วสามารถทำไดห้ ลายรูปแบบ รปู แบบหน่งึ ทเี่ ป็นรปู ธรรมชัดเจน คือการติดตั้งป้ายต้อนรับนักท่องเที่ยว เช่น ป้าย “Aloha” ซึ่งเป็นภาษาของชาวฮาวาย แปลว่า “สวัสดี” หรือการ จัดบริการนำเที่ยวที่มีหลายภาษา เช่น รถนำเที่ยวในกรุงลอนดอน มีการแนะนำแหล่งท่องเที่ยวหลายภาษาสำหรับ นักทอ่ งเท่ียวท่ีเปน็ ตลาดหลกั ไมว่ า่ จะเป็นภาษาอติ าเลียน ฝรงั่ เศส เยอรมัน หรอื ญ่ปี ่นุ สำหรับประเทศไทยก็ประสบความสำเร็จในการใช้ “อธั ยาศัยไมตรแี ละการตอ้ นรับของผู้คนในทอ้ งถ่นิ ” ซ่ึงเป็น ทรัพยากรการท่องเที่ยวหลักที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ไม่ว่าจะเป็น “ยิ้มสยาม” หรือ “ความเอื้ออาทรในการช่วยเหลือ นกั ท่องเทยี่ ว” ที่สามารถดึงดูดนกั ทอ่ งเท่ียวชาวต่างประเทศไดเ้ ป็นจำนวนมาก สง่ ผลใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวท่ีเคยมาประเทศไทย แลว้ กลบั มาเยอื นซำ้ อกี หลายคร้ัง · ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านบันเทิงและความเพลิดเพลิน ทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทนี้ หมายถึง สถานที่หรือ กิจกรรมที่สร้างความบันเทิงและความเพลิดเพลินให้แก่นักท่องเที่ยวทุกประเภท อาทิ สวนสาธารณะ สวนสนุก แหล่ง บันเทิงยามคำ่ คนื โรงละคร โรงภาพยนตร์ เปน็ ต้น สถานที่เหล่าน้ีส่วนใหญ่ตอ้ งใช้เงนิ ทนุ ในการสร้างสงู โดยส่วนใหญ่เป็น การลงทนุ ของภาคเอกชน มเี พยี งส่วนน้อย เชน่ สวนสาธารณะ สวนสตั ว์ ทเ่ี ป็นการลงทุนของภาครฐั ตวั อยา่ ง ของทรัพยากรการทอ่ งเที่ยวประเภทน้ี เชน่ ดีสนยี เ์ วิล์ด สวนสยาม ซาฟารีเวลิ ด์ สวนสัตวเ์ ปิดเขาเขียว สวนสัตว์ ดุสิต คลบั ดิสโกเ้ ธค การแสดงโชวท์ ิฟฟานี ฯลฯ ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่นี้มีการเสื่อมสลายได้ตามกาลเวลา สภาพดินฟ้าอากาศ การทำลายของมนุษย์ และการ ขาดการดแู ลเอาใจใส่ จึงตอ้ งการการอนุรักษ์ ส่งเสริม และพฒั นา ตลอดจนการดูแลรักษาจากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ซง่ึ จะส่งผลใหก้ ารทอ่ งเท่ียวเจริญกา้ วหนา้ ต่อไป

สาระที่ 4 การแบง่ สว่ นบรหิ ารงานในบรษิ ทั นำเท่ยี ว (ส.12) การแบ่งส่วนบริหารงานในบริษัทนำเที่ยวโดยทั่วไปบริษัทนำเที่ยวจะแบ่งส่วนบริหารงานออกเป็น 3 ฝ่ายใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ 1.ฝ่ายขาย 2.ฝา่ ยจดั การท่องเท่ยี ว 3.ฝา่ ยการเงนิ ในแตล่ ะฝ่ายกแ็ บง่ ยอ่ ยออกเป็นแผนก ๆ ตามความรับผดิ ชอบ ดังนี้ 1. ฝา่ ยขาย 1.1 แผนกส่งเสริมการขาย หรอื ประชาสมั พันธ์ มหี นา้ ที่ 1.1.1หาตลาดใหม่ ๆ 1.1.2วเิ คราะหต์ ลอดท้องถน่ิ ในระดบั ภมู ภิ าค และตลาดตา่ งประเทศ 1.1.3วางแผนกำหนดราคา 1.1.4ประชาสัมพนั ธ์รายการท่องเทีย่ ว 1.2แผนกเผยแพรโ่ ฆษณา มหี นา้ ท่ี 1.2.1ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น แผ่นเย็บ แผ่นพับ และหนังสือเล่มเล็ก ๆ ตลอดจนสิ่งอื่น ๆ เช่น วีดีโอ หรอื ภาพยนตร์เพ่อื ส่งเสริมการขาย 1.2.2ประสานงานกับแผนกส่งเสรมิ การขายเพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรมของบริษัท 2. ฝ่ายจดั การท่องเทีย่ ว 2.1 แผนกธุรการ มีหนา้ ที่ 2.1.1 ดแู ลด้านเอกสารของสำนักงาน 2.1.2 ดแู ลดา้ นข้อมลู ขา่ วสาร 2.1.3 โต้ตอบจดหมายสิ่งพิมพ์ 2.1.4 จัดสง่ เอกสาร 2.2 แผนกทอ่ งเที่ยวภายในประเทศ 2.3 แผนกท่องเท่ียวต่างประเทศ 2.4 แผนกท่องเท่ยี วจากตา่ งประเทศ

2.5 แผนกท่องเทย่ี วเปน็ กลมุ่ เลก็ และท่องเท่ยี วแบบอสิ ระ 2.6 แผนกท่องเท่ียวโดยเรือเดนิ ทะเล และทอ่ งเทย่ี วโดยการเชา่ เหมาลำ 2.7 แผนกทอ่ งเทยี่ วเพอ่ื เปน็ รางวลั และจดั การประชมุ 2.8 แผนกทอ่ งเที่ยวเหมาจา่ ย 2.5 – 2.8 มีหน้าที่ 1. จดั การเดนิ ทางให้แก่ลกู คา้ ทง้ั เปน็ รายบคุ คลและเปน็ กลุ่ม 2. จดั ทำกำหนดการ 3. กำหนดราคา 4. ประสานงานกับหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง 5. จดั ทำแฟม้ ขอ้ มูลนักทอ่ งเทย่ี ว 2.9 แผนกยานพาหนะ มีหน้าทจ่ี ัดหายานพาหนะในการขนส่งนกั ทอ่ งเท่ยี ว 2.10 แผนกบริหารงานบุคคล มีหน้าท่ี 2.10.1 สรรหาและบรรจุพนกั งาน 2.10.2 ฝึกอบรมพนักงาน 2.11 แผนกรบั จอง มหี นา้ ท่ี 2.11.1 รบั จองทพ่ี ัก 2.11.2 จำหน่ายบัตรโดยสารรถยนต์ รถไฟ และเครือ่ งบิน 2.11.3 จำหน่ายบัตรเข้าชมการแสดงต่าง ๆ 2.11.4 สำรองท่ีพัก และทีน่ ง่ั โดยสารตลอดจนท่ีน่ังชมการแสดง 3. ฝา่ ยการเงิน มหี นา้ ทด่ี ้านการเงนิ และบญั ชีรบั – จ่ายทุกประเภทของบรษิ ัท

รหัสวิชา 30700-100๑ ชอื่ วิชา อตุ สาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ หน่วยท่ี ๔ ชื่อหน่วย ชนิดและรปู แบบของการท่องเที่ยว สอนคร้งั ที่ ๑๒-๑๕ เวลา ๑๒ ชั่วโมง สาระสำคญั สาระที่ 1 ชนดิ ของการท่องเทีย่ วและลักษณะของการทอ่ งเทยี่ ว (ส.13) ลักษณะของการทอ่ งเท่ียว 1.การทอ่ งเทย่ี วส่วนบคุ คล ได้แก่ การท่องเทย่ี วทน่ี ักท่องเท่ียวจดั ข้นึ สำหรบั ตัวเองกบั ครอบครัว หรือลา่ หรับ ตัวเองกับกลุ่มเพื่อน โดยใช้รถส่วนตัว หรือเช่ารถบัส ซึ่งสามารถ กำหนดสถานที่ท่องเที่ยว เวลาเดินทางที่จะ เดนิ ทางไปได้ด้วยตัวเอง หรอื เปลย่ี นแปลงอย่างไรก็ สามารถทำได้ตามทป่ี รารถนา 2.การท่องเที่ยวแบบทัวร์ หรือบรษิ ัทนำเที่ยว ได้แก่ การท่องเที่ยวของคนหนึ่ง คน หรือกี่คนก็ตาม ซึ่งไมไ่ ด้ นัดกนั ไปเสียเงินจำนวนหนง่ึ ให้แก’ผจู้ ัดบรษิ ัทนำเที่ยว ผู้จัดนำเท่ยี ว จะจัดการเรอ่ งยานพาหนะ ท่ีพัก และบริการ อื่นๆ โดยกำหนดไว้เป็นรายการแน่นอน การ ท่องเที่ยวแบบนี้นักท่องเที่ยวมักเสียเงินนอ้ ยกว่า แด่ขาดเสรีในการ เดินทางท่องเที่ยว การท่องเท่ยี วตามคาบเวลาการท่องเที่ยว แบ่งเป็น 3 อย่าง คอื 1.การทอ่ งเทยี่ วคาบเวลายาว ถ้าเป็นการท่องเที่ยวเพอื่ วฒั นธรรมหรือ การศึกษา จะหมายถึงการพักอยู่ ณ ที่หนึ่งที่ใดเป็นคาบเวลายาวนับเป็นสัปดาห์หรือเดือน ถ้าเป็น การท่องเที่ยวเพื่อความสนุกสนานคาบเวลาอาจ ยาวนานเหมอื นกันแต่สถานที่อาจเปลี่ยนไป 2.การท่องเที่ยวคาบเวลาสั้น เป็นการท่องเที่ยวที่จะกินเวลา 2-12 วัน เป็น ระยะเวลาท่องเที่ยวของผู้ท่ี ทำงานไม่มีโอกาสทีจ่ ะพกั ผอ่ นไดน้ านๆ 3.การท่องเที่ยวแบบทัศนาจร เป็นการท่องเที่ยวที่ใช้เวลาไม่เกิน 24 ชั่วโมง และไม่มีการพักด้างคืน การ ทศั นาจรมคี วามสำคัญพิเศษล่าหรบั ผ้มู ถี น่ิ ทีอ่ ยใู่ กล้ พรมแดน จะมีทศั นาจรข้ามพรมแดนเพอ่ื ซอื้ แพค็ เกจทวั ร์ล่าหรับ ใช้ส่วนตวั 4.การทอ่ งเทยี่ วจัดจำพวกตามพาหนะที่ใช้ทอ่ งเทยี่ ว เปน็ การท่องเทยี่ วแบบใช้ อากาศยาน เรือ รถไฟ เรอื เพ สินทาง (Cruise) รถนั่งส่วนบุคคล และรถยนต่โดยสารสาธารณะใน ประเทศยุโรป การเดินทางท่องเที่ยวข้าม ประเทศทใ่ี กล้ๆ กบั ประเทศของนักทอ่ งเที่ยวกก็ ระทำกนั ไม่น้อย

สาระที่ 2 ประเภทของนักทอ่ งเท่ยี ว (ส.14) › นักท่องเที่ยว หมายถึง ผู้เดินทางมาเยือนช่ัวคราวและพำนักอยู่ครั้งหนึ่ง ๆ ไม่น้อย กว่า 24 ชั่วโมง และไม่เกิน 60 วัน โดยมีวัตถุประสงค์มิใช่เพือ่ การประกอบอาชีพ หรือมีรายได้จากท้องถ่ิน นนั้ ๆ 1. Transit คอื ผูท้ อี่ ยใู่ นระหวา่ งเดนิ ทางยงั ไมถ่ ึงจดุ หมาย ในระหวา่ งทางไดแ้ วะหยุดพักกลางทาง 2. Visitor คอื ผมู้ าเยือน การไปสถานที่แหง่ นั้นดว้ ยเหตผุ ลที่มิใชก่ ารค้าหารายได้ และเปน็ สถานที่ที่มิได้อาศัยอยู่ เป็นประจำ 3. Tourist คอื ผเู้ ดนิ ทางมาเยอื นชัว่ คราวหรือผู้เยี่ยมเยือนที่ค้างคืนสถานท่ีแหง่ น้ันไม่ ต่ำกวา่ 24 ช่ัวโมง แต่ไม่ เกิน 60 วนั เพ่อื พกั ผอ่ น พกั ฟนื้ ทัศนศกึ ษา ประกอบศาสนกจิ แขง่ กฬี า ติดตอ่ ธุรกจิ รว่ มประชุม สัมมนา 4. Excursionist คอื นักทัศนาจร หรอื ผ้เู ดินทางมาเยอื นชั่วคราวไม่เกิน 24 ชวั่ โมง การไปเท่ียวแบบวัน เดยี วกลับ ไมพ่ กั ค้างคืน สาระท่ี 3 รูปแบบของการท่องเท่ียวในประเทศไทย (ส.15) การท่องเที่ยวในประเทศไทยได้มีพัฒนาการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2467 สมัยพระเจาบรมวงศ์เธอกรมพระ กำแพงเพชรอัครโยธนิ ครั้งทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการรถไฟ ซึ่งในครั้งนั้นการท่องเท่ียวในประเทศไทย ยังเป็น การท่องเทย่ี วเพ่ือชมธรรมชาตแิ ละสถานทร่ี าชการ หรือสถานท่สี าํ คญั ท่ที างชาวต่างประเทศที่เขามาในประเทศไทย สรา้ งข้ึน แต่เมอื่ ประมาณ 10 ปี ทผ่ี ่านมาทางองค์การท่องเที่ยวโลก (www.unwto.org) ไดม้ ีการกำหนดรูปแบบ การท่องเที่ยวได้ 3 รูปแบบหลัก ได้แก่ 1) รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ (natural based tourism) 2) รปู แบบการท่องเท่ียวในแหล่งวฒั นธรรม (cultural based tourism) และ3) รปู แบบการท่องเที่ยว ในความสนใจพเิ ศษ (special interest tourism) ซ่ึงแต่ละรปู แบบสามารถสรปุ ได้ดงั นี้ 1. รปู แบบการท่องเที่ยวในแหลง่ ธรรมชาติ (natural based tourism) ประกอบดว้ ย 1.1 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (ecotourism) หมายถึงการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะถ่นิ และแหลง่ วฒั นธรรมที่เกี่ยวเน่ืองกบั ระบบนิเวศ โดยมกี ระบวนการเรียนรรู้ ว่ มกนั ของผู้ท่ีเก่ียวของภายใต้ การจัดการสิ่งแวดลอ้ มและการท่องเที่ยวอยา่ งมีสว่ นร่วมของท้องถิน่ เพ่ือมุ่งเน้นให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบ นเิ วศอยา่ งยั่งยนื 1.2 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (marine ecotourism) หมายถึงการท่อง เที่ยว อย่างมีความ รบั ผิดชอบในแหล่งธรรมชาติทางทะเลท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ิน และแหล่งทอ่ งเทย่ี วที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศทาง

ทะเล โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวของภายใต ้ การจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างมี สว่ นรว่ มของทอ้ งถนิ่ เพอื่ มงุ่ ใหเ้ กิดจิตสำนึกตอ่ การรักษาระบบนิเวศอยางย้ังยืน 1.3 การทอ่ งเทีย่ วเชิงธรณีวทิ ยา (geo-tourism) หมายถึงการท่องเที่ยวในแหลง่ ธรรมชาติท่ีเปน็ หินผา ลานหินทราย อุโมงค์โพรง ถ้ำน้ำลอด ถ้ำหินงอกหินย้อย เพื่อดูความงามของภูมิทัศน์ที่มีความแปลกของการ เปล่ียนแปลงของพื้นที่โลก ศกึ ษาธรรมชาติของหิน ดิน แร่ตา่ งๆ และฟอสซิล ไดค้ วามรไู้ ด้มีประสบการณ์ใหม่ บน พื้นฐานการท่องเที่ยวอยา่ งรบั ผิดชอบ มีจิตสำนึกต่อการรักษาสภาพแวดลอ้ ม โดยประชาชนในท้องถิน่ มสี ่วนร่วม ต่อการจดั การการท่องเท่ยี ว 1.4 การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (agro tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวไปยังพื้นที่เกษตรกรรมสวน เกษตร วนเกษตร สวนสมนุ ไพร ฟารม์ ปศสุ ตั ว์และเลี้ยงสตั ว์เพื่อชน่ื ชมความสวยงาม ความสำเรจ็ และเพลิดเพลินใน สวนเกษตร ได้ความรู้มีประสบการณ์ใหม่บนพื้นฐานความรบั ผิดชอบ มีจิตสำนึกต่อการรักษาสภาพแวดลอมของ สถานที่แห่งนั้น 1.5 การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ (astrological tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อการไปชม ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตรท์ ี่เกิดขึ้นในแต่ละวาระ เช่น สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา และการดูดาวจัก ราศีที่ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละเดือน เพื่อการเรยี นรู้ระบบสุริยจักรวาล มีความรูค้ วามประทับใจ ความทรงจำและ ประสบการณ์เพิ่มขึ้น บนพื้นฐานการท่องเทีย่ วอย่างมีความรับผิดชอบมีจิตสำนึกต่อการรกั ษาสภาพแวดล้อมและ วฒั นธรรมทอ้ งถิน่ โดยประชาชนในท้องถ่ินมสี ่วนรว่ มตอ่ การจัดการร่วมกันอย่างย่งั ยืน 2. รปู แบบการท่องเที่ยวในแหล่งวฒั นธรรม (cultural based tourism)ประกอบดว้ ย 2.1 การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (historical tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวไปยังแหล่ง ท่องเที่ยวทางโบราณคดี และประวัตศิ าสตร์ เพื่อชืน่ ชมและเพลดิ เพลินในสถานท่ีทอ่ งเที่ยวได้ความรูม้ ีความเข้าใจ ต่อประวัติศาสตร์และโบราณคดี ในท้องถิ่นพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึกต่อการรักษามรดกทาง วัฒนธรรมและคณุ คา่ ของสภาพแวดลอมโดยท่ีประชาชนในท้องถิ่น มีส่วนรว่ มตอ่ การจดั การการทอ่ งเทย่ี ว 2.2 การท่องเที่ยวงานชมวัฒนธรรมและประเพณี (cultural and traditional tourism) หมายถึงการ เดนิ ทางท่องเทีย่ ว เพอ่ื ชมงานประเพณีต่างๆ ที่ชาวบ้านในทอ้ งถ่ินน้ันๆ จัดข้นึ ได้รบั ความเพลิดเพลินตื่นตาตื่นใจ ในสุนทรียะศิลปเ์ พื่อศึกษาความเชื่อ การยอมรับนับถือ การเคารพพิธีกรรมต่างๆ และได้รับความรู้มีความเข้าใจ ต่อสภาพสงั คมและวัฒนธรรม มปี ระสบการณ์ใหมๆ่ เพิม่ ขึน้ บนพืน้ ฐานของความรบั ผดิ ชอบและมีจิตสํานึกต่อการ รักษาสภาพแวดลอมและมรดกทางวฒั นธรรม โดยประชาชนในทอ้ งถิน่ มสี ่วนร่วมตอการจัดการท่องเทย่ี ว 2.3 การท่องเทย่ี วชมวิถชี ีวิตในชนบท (rural tourism / village tourism) หมายถงึ การเดนิ ทางทอ่ งเท่ียว ในหมู่บ้าน ชนบทที่มีลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสร้างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์พิเศษมีความโดดเด่นเพื่อความ เพลิดเพลินได้ความรู้ดูผลงานสร้างสรรคแ์ ละภมู ิปัญญาพนื้ บา้ น มีความเขา้ ใจในวัฒนธรรมท้องถิ่น บนพื้นฐานของ

ความรับผิดชอบและมีจิตสำนึกต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรมและคุณค่าของสภาพแวดล้อม โดยประชาชนใน ทอ้ งถนิ่ มีส่วนรว่ มต่อการจัดการการทอ่ งเท่ยี ว 3. รูปแบบการท่องเทยี่ วในความสนใจพิเศษ (special interest tourism) ประกอบด้วย 3.1 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (health tourism) หมายถึงการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติและแหล่ง วฒั นธรรมเพอ่ื การพักผอ่ นและเรยี นร้วู ิธีการรักษาสุขภาพกายใจได้รับความเพลดิ เพลนิ และสุนทรียภาพ มีความรู้ ตอ่ การรกั ษาคุณคา่ และคุณภาพชีวิตท่ีดี มีจิตสำนกึ ต่อการรกั ษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ โดยประชาชนใน ท้องถิ่นมีสว่ นร่วมต่อการจัดการท่องเท่ียวที่ยัง่ ยนื อนึ่ง การท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพนีบ้ างแห่งอาจจดั รูปแบบเป็นการ ท่องเทย่ี วเพือ่ สุขภาพและความงาม (health beauty and spa) 3.2 การท่องเท่ียวเชงิ ทัศนศกึ ษาและศาสนา (edu-meditation tourism) หมายถึง การเดนิ ทางเพื่อทศั น ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูจ้ ากปรัชญาทางศาสนา หาความรู้ สัจธรรมแห่งชวี ิตมีการฝกึ ทำสมาธิเพือ่ มีประสบการณ์ และความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น มีคุณค่าและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสำนึกต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ทอ้ งถน่ิ โดยประชาชนในทอ้ งถ่นิ มีส่วนร่วมตอ่ การจัดการการท่องเท่ยี วที่ยงั่ ยนื นอกจากน้ัน นักท่องเที่ยวบางกลุ่ม มุ่งการเรยี นรู้วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย เช่น การทาํ อาหารไทยการนวดแผนไทย ราํ ไทย มวยไทย การช่างและ งานศลิ ปหตั ถกรรมไทย รวมถึงการบงั คับชา้ งและเป็นควาญชา้ ง เปน็ ต้น 3.3 การท่องเที่ยวเพื่อศึกษากลุ่มชาติพันธุ์หรือวัฒนธรรมกลุ่มน้อย (ethnic tourism) หมายถึง การ เดนิ ทางท่องเท่ียวเพ่ือเรยี นรู้วถิ ีชีวิตความเป็นอยวู่ ัฒนธรรมของชาวบ้านวัฒนธรรมของชนกล่มุ น้อยหรือชนเผาต่าง ๆ เช่น หมู่บา้ นชาวไทยโซง่ หมูบ่ ้านผ้ไู ทย หม่บู า้ นชาวกยู หมูบ่ ้านชาวกะเหรีย่ ง หมบู่ า้ นชาวจนี ฮ่อ เป็นต้น เพ่ือมี ประสบการณ์และความรู้ใหม่เพิ่มขึ้นมีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสำนึกต่อการรักษาสิ่งแวดลอมและ วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน โดยประชาชนในทอ้ งถิ่นมสี ว่ นร่วมต่อการจัดการการทอ่ งเท่ียวท่ีย่งั ยืน 3.4 การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (sports tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจ ในประเภทกีฬา เช่น กอล์ฟ ดําน้ำ ตกปลา สนุกเกอร์ กระดานโตคลื่น สกีนํ้า เป็นต้น ให้ได้รับความ เพลิดเพลนิ ความสนกุ สนานตน่ื เต้น ไดร้ ับประสบการณแ์ ละความรใู้ หม่เพิม่ ข้นึ มคี ุณคา่ และคุณภาพชีวิตที่ดีเพ่ิมขึ้น มีจิตสำนึกต่อการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการ ทอ่ งเทย่ี วท่ียัง่ ยืน 3.5 การท่องเท่ียวแบบผจญภัย (adventure travel) หมายถงึ การเดนิ ทางท่อง เทย่ี วไปยงแหล่งทอ่ งเทีย่ ว ทางธรรมชาตทิ ่ีมลี กั ษณะพเิ ศษ ท่ีนกั ท่องเที่ยวเขาไปเทีย่ วแลว้ ได้รับความสนุกสนานต่นื เต้น หวาดเสยี ว ผจญภัย มี ความทรงจาํ ความปลอดภัย และไดป้ ระสบการณ์ใหม่ 3.6 การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์และฟารม์ สเตย์ (home stay & farm stay) หมายถึง นกั ทอ่ งเท่ียวกลุ่ม ที่ต้องการใช้ชีวิตใกล้ชิดกับครอบครัวในท้องถิ่นที่ไปเยือนเพื่อการเรียนรู้ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินและวัฒนธรรมท้องถ่ิน

ได้รับประสบการณ์ในชีวิตเพิ่มขึ้น โดยมีจิตสำนึกต่อการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นการจัดการ ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในท้องถิ่นทยี่ งั่ ยืน 3.7 การท่องเที่ยวพำนักระยะยาว (longstay) หมายถึง กลุ่มผู้ใช้ชีวิตในบั้นปลายหลังเกษียณอายุจาก การทำงานที่ต้องการมาใช้ชีวิตต่างแดนเป็นหลัก เพื่อเพิ่มปัจจัยที่ห้าของชีวิตคือ การท่องเที่ยว โดยเดินทาง ทอ่ งเทีย่ วตา่ งประเทศเฉลีย่ 3 – 4 ครั้งตอ่ ปี คราวละนาน ๆ อยา่ งน้อย 1 เดอื น 3.8 การทอ่ งเท่ียวแบบใหร้ างวัล (incentive travel) หมายถงึ การจดั นำเท่ียวใหแ้ กก่ ลุ่มลกู คา้ ของบริษัทที่ ประสบความสำเร็จ (มีความเป็นเลิศ) ในการขายสินค้านั้นๆ ตามเป้าหมายหรือเกินเป้าหมาย เช่น กลุ่มผู้แทน บรษิ ทั จำหนา่ ยรถยนต์ ผูแ้ ทนบรษิ ทั จำหน่ายเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ผู้แทนบรษิ ัทจาหน่ายเครื่องสำอาง จากภูมิภาคหรือ จงั หวดั ต่างๆ ท่สี ามารถขายสนิ ค้าประเภทนัน้ ได้มากตามท่ีบริษัทผู้แทนจำหน่ายในประเทศตงั้ เป้าหมายไว้เป็นการ ใหร้ างวลั และจดั นำเท่ยี ว โดยออกค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง คา่ พกั แรมและคา่ อาหารระหว่างการเดินทางให้กับผู้ร่วม เดินทาง เป็นการจัดรายการพักแรมตั้งแต่ 2 – 7 วัน เป็นรายการนำเที่ยวชมสถานท่องที่ต่างๆ อาจเป็นรายการ นำเที่ยวแบบผสมผสาน หรือรายการนำเที่ยวในรูปแบบใดรปู แบบหน่งึ 3.9 การท่องเที่ยวเพื่อการประชุม (MICE หมายถึง M=meeting/I= incentive/ C=conference / E=exhibition) เปน็ การจดั นำเทยี่ วใหแ้ ก่กลุ่มลูกค้าของผ้ทู ี่จัดประชมุ มรี ายการจดั นำเที่ยวก่อนการประชุม (pre- tour) และการจัดรายการนำเทยี่ วหลงั การประชมุ (post-tour) โดยการจัดรายการท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ ไป ทัว่ ประเทศ เพอ่ื บรกิ ารใหก้ บั ผเู้ ข้าร่วมประชมุ โดยตรง หรือสำหรบั ผู้ท่รี ว่ มเดินทางกบั ผู้ประชุม (สามีหรือภรรยา) อาจเป็นรายการท่องเทีย่ ววนั เดียว หรือรายการเท่ียวพักค้างแรม 2 – 4 วัน โดยคิดราคาแบบเหมารวมค่าอาหาร และบริการทอ่ งเท่ียว 3.10 การท่องเที่ยวแบบผสมผสานเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้จัดการการท่อง เที่ยวคัดสรรรูปแบบการ ท่องเที่ยวที่กล่าวมาแล้วข้างต้น นำมาจัดรายการนำเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความแตกต่างระหว่างการ เดินทางท่องเทีย่ วในระยะยาวนานตง้ั แต่ 2 – 7 วันหรอื มากกว่าน้ันเชน่ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นิเวศและเกษตร (eco– agro tourism) การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและประวัติศาสตร์ (agro-historical tourism) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และผจญภัย (eco-adventure travel) การท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยาและประวัติศาสตร์ (geo- historical tourism) การท่องเทีย่ วเชิงเกษตรและวฒั นธรรม (agro-cultural tourism) เปน็ ต้น นอกจากนี้ในปจั จบุ นั การท่องเที่ยวได้พจิ ารณาจากความต้องการหรือพฤติกรรมนกั ทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ เติมทําให้มี รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีแนวคิดใหม่ ขึ้นมาเช่น Green tourism ที่คนมาท่องเที่ยวจะต้องการอนุรักษ์ธรรมชาติ หรือช่วยลดภาวะโลกร้อน เช่น การท่องเที่ยวในเกาะสมุย หรือ War tourism ที่นักท่องเที่ยวต้องการสัมผัสกับ อดีตในสมัยสงคราม เช่น การท่องเที่ยวสะพานข้ามแม่นํ้าแคว จังหวัดกาญจนบุรีหรือ Volunteer tourism ท่ี นักทอ่ งเทยี่ วเปน็ อาสาสมัครมาชว่ ยทำกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ ในสถานทแ่ี ละเดินทางท่องเท่ียวตอ่ เช่น การที่มี อาสาสมคั รมาช่วยงานสนึ ามใิ นประเทศไทย เป็นต้น

รหสั วิชา 30700-100๑ ชื่อวชิ า อตุ สาหกรรมท่องเท่ยี วและการบริการ หนว่ ยท่ี ๕ ชื่อหน่วย บทบาททเี่ ก่ียวขอ้ งกับธรุ กิจทอ่ งเทยี่ ว สอนครง้ั ท่ี ๑๖-๑๘ เวลา ๙ ชั่วโมง สาระสำคญั สาระที่ 1 บทบาทที่เก่ียวข้องกับธรุ กิจท่องเทยี่ ว (ส.16) 1. บทบาทของนักทอ่ งเท่ยี ว ถ้ามกี ารถามวา่ นักทอ่ งเทย่ี วไดอ้ ะไรจากการไปเทีย่ วแต่ละครงั้ คำตอบสว่ นใหญก่ ็จะบอกว่า ไดป้ ระสบการณ์ ใหม่ ได้เห็นความสวยงาม ได้สมั ผัสวิถชี วี ติ ท่ีผิดไปจากที่เคย พกั ผอ่ นคลายเครียด หายเหนื่อย ได้ความรู้ความเข้าใจ ในขนบธรรมเนียมประเพณีศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ไดเ้ พื่อนใหม่ ไดร้ วู้ ่าเมืองไทยก็มีส่งิ ท่ีสวยงามไมแ่ พ้ทใ่ี ด ๆ ใน โลก ได้ตระหนกั วา่ ถึงเวลาแลว้ ที่จะต่ืนตวั ในการอนรุ กั ษใ์ หค้ งอยไู่ วใ้ หล้ ูกหลาน ขยะในมอื ท่านลงถังเถอะครบั นกั ทอ่ งเท่ยี วที่ดคี วรปฏิบัติดังนี้ 1. นกั ทอ่ งเทยี่ วตอ้ งเรียนรกู้ ฎพ้ืนฐานของการทอ่ งเที่ยว ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ และขอ้ บังคับ ของแหลง่ ท่องเทยี่ ว นน้ั ๆ เช่น ห้ามถ่ายรปู ในพระที่นงั่ วิมานเมฆ แต่งกายสุภาพเวลาเข้าชมวัดพระแกว้ หา้ มเด็ดดอกไมใ้ นอุทยาน แหง่ ชาติ ห้ามสวมรองเทา้ เข้าไปในวัด หา้ มพกอาวธุ เรยี นร้ขู นบธรรมเนยี มประเพณี อีกทงั้ ข้อมูลของสถานที่จะไป ล่วงหน้า รวู้ ัตถุประสงค์ในการไปเพือ่ จะได้เตรียมตวั ให้พรอ้ ม เหมาะสม ปลอดภัย 2. การใหค้ วามร่วมมอื ในการอนุรกั ษท์ างธรรมชาติและวัฒนธรรม เชน่ ไปเทย่ี วทะเลไมเ่ กบ็ หอย หนิ ทราย ปะการัง ไมส่ นับสนุนซอ้ื สตั วท์ ะเลทห่ี ายากท่ชี าวบ้านเอามาขายหรอื ไปเท่ยี วป่า ก็ไม่ตัดไม้ ไมเ่ ดด็ ดอกไม้ ไม่ล่าสัตว์ ไม่เกบ็ เอาของมาเป็นที่ระลกึ ไมท่ ิง้ ขยะหรอื ทำความสกปรกในป่า เชน่ ขวดน้ำพลาสตกิ ควรนำ ภาชนะท่ไี มก่ ่อใหเ้ กดิ ขยะเข้าไปในป่า ถ้าจำเปน็ ต้องนำไป กค็ วรนำกลับออกมาด้วย (ถ้าเปน็ ภาชนะทไี่ มส่ ามารถทำลาย หรอื ยอ่ ยสลายเองไดต้ ามธรรมชาติ) ไมท่ ำใหส้ ัตว์ตกใจเชน่ ขับรถเข้าไปหรอื เลน่ ดนตรีทีม่ เี สยี งดงั ระวังเร่ืองไฟฟนื ใน การประกอบอาหารตอ้ งดับให้สนทิ 3. การปฏิบัติตามระเบียบของกล่มุ ทวั ร์ เชื่อฟังคำแนะนำของมัคคเุ ทศก์ เช่น ใสร่ ม่ ชชู ีพเวลาไปเท่ยี วทาง นำ้ แต่งกายให้รดั กุม ไมด่ ื่มสุราส่งิ เสพติดขณะเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ ว ตรงเวลา และดูแลตัวเองไม่เป็นภาระหรอื รบกวน กลมุ่ เพราะการเดินทางทม่ี ีหมู่คนจำนวนมากต้องรักษาความสงบ ปลอดภยั รกั ษาเวลา และเชื่อฟงั รักษากฎของกลุม่ ทัวรท์ ่องเทย่ี วท่ัวไทย ไปอย่างมสี ำนึก

2. บทบาทของเจา้ ของทอ้ งถ่ิน วฒั นธรรมของไทย คือ เป็นธรรมเนียมไทยแทแ้ ต่โบราณ ใครมาถึงเรอื นชานตอ้ งตอ้ นรบั แสดงวา่ คนไทยมี การแสดงออกถงึ ความเป็นคนเมตตา เป็นมิตร ให้การตอ้ นรบั ดว้ ยรอยยม้ิ อันอบอ่นุ สมคำกลา่ วทว่ี า่ สยามเมอื ง ย้มิ เช่น ให้ทีพ่ กั เล้ียงขา้ วปลาอาหาร แสดงการเป็นเจ้าบา้ นที่ดี 1. ให้ความชว่ ยเหลือ เมอ่ื ประสบอุบัตเิ หตุ ประสบภัย แสดงนำ้ ใจ เชน่ ช่วยเหลอื เบ้อื งต้น แจง้ ความกับ ตำรวจหรอื หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มิใช่ ขโมยของจากผู้บาดเจบ็ เชน่ ท่ีสุพรรณบุรี กรณีเครอ่ื งบนิ เลาดา้ แอร์ ตก หรือ จปี้ ล้นฆ่าขม่ ขืนนกั ท่องเทย่ี ว หลอกลวงใหซ้ ือ้ ของท่ีระลกึ ทีไ่ ม่มคี ณุ ภาพ ทำตวั เปน็ เจ้าบ้านที่ดี เลกิ ปล้น ฆา่ จ้ี นกั ท่องเทย่ี ว 2. ชว่ ยอนุรกั ษม์ รดกศิลปวฒั นธรรม การขายแหลง่ ทอ่ งเท่ียวโดยท่ีไม่มีการทำนุบำรุง ไมน่ าน กก็ ลายเป็น แหล่งเสื่อมโทรม นักทอ่ งเทย่ี วกไ็ มม่ า ไปทอ่ี ่นื ต้องทำนบุ ำรงุ อนรุ ักษ์ใหค้ งอยู่ตราบนานเทา่ นาน เช่น น้ำตกแห่งหนึ่งไม่ มีการรณรงค์เรื่องการท้ิงขยะ ปรากฎวา่ ขยะจากนกั ทอ่ งเทีย่ ว และประชาชนทอ้ งถ่นิ ท้ิงกนั เตม็ หน่วยราชการไม่มาเกบ็ ขยะ ทำให้นำ้ สกปรก ตน้ ไมใ้ หญ่ตัดทำเปน็ ร้านค้า ร้านอาหารล้ำเขา้ ไปในแนวเสน้ ทางนำ้ ตก มีการต้งั ร้านขายของเตม็ ข้างทางไมม่ ีระเบียบ ร้านขายอาหารขายแพง ไมอ่ ร่อย สกปรก สินคา้ ของท่ีระลกึ คุณภาพไมด่ ี ห้องน้ำสกปรก มกี าร กอ่ สรา้ งเชน่ ทางเดนิ ท่ีนัง่ พัก บดบังธรรมชาติ ต้นน้ำลำธารมีการตัดไมท้ ำลายปา่ ทำใหใ้ นเดือนธนั วาคมถึง เมษายน น้ำตกไมม่ นี ำ้ ผลเสยี ท่ตี ามมาประชาชนในทอ้ งถิ่นขาดอาชีพเสรมิ ขาดรายได้ ธุรกจิ ท่องเท่ียว ล้มเหลว ปลกู จติ สำนึกในการรกั ษ์เห็นความสำคัญและหวงแหนทรัพยากรในท้องถ่ินรกั ษช์ ้าง รกั ษป์ ่า สาระที่ 2 ประโยชนข์ องการท่องเทีย่ วและปัจจยั สนับสนนุ การท่องเทีย่ ว(ส.14) ในชว่ งศตวรรษทผ่ี า่ นมา ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมจี ำนวนประชากรเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ รายได้ของประชากรดี ข้ึน จงึ มีเงินออมเหลอื เพอื่ การจบั จ่ายใช้สอยหาความสขุ ทางด้านอนื่ ๆ ได้ การคมนาคมสะดวกทั้งทางบก ทางนำ้ และ ทางอากาศ จงึ ทำใหป้ ระชากรที่ว่างจากธรุ กจิ การงานหาโอกาสเดินทางไปทอ่ งเที่ยวยงั สถานท่ีต่าง ๆ ตามทตี่ อ้ งการ ซึง่ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้

1.ประโยชนต์ ่อบคุ คล ข้อดี การท่องเที่ยวเปน็ กจิ กรรมพ้นื ฐานทม่ี นุษยต์ ้องการท่ีสุด รัฐบาลทุกประเทศและมนุษย์ทุกคนควร สง่ เสริมสนบั สนุน เป็นการเปิดโลกทัศน์ ที่ทำใหม้ นษุ ยม์ ที ศั นคตกิ วา้ งไกล ผอ่ นคลายความเครยี ด เกดิ ความ สนกุ สนาน เปน็ การพักผอ่ น อีกทงั้ ยังสรา้ งความเขา้ ใจอันดแี ละสัมพนั ธภาพระหว่างมนุษยชาติ มีการแลกเปลยี่ น วฒั นธรรมระหว่างชนในชาติ และนานาชาติ ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอนั ดรี ะหว่างกนั ขอ้ เสีย การท่องเทย่ี วทำใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นวัฒนธรรม มีผลใหเ้ กดิ ความสูญเสียวฒั นธรรมประจำชาติและการรบั วัฒนธรรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ เช่น วฒั นธรรมการแต่งกาย การกนิ อยู่ การดำรงชีวติ ฯลฯ นอกจากนี้ วัฒนธรรมและประเพณีบางอยา่ งท่สี ูญหายไปอาจไดร้ ับการฟ้ืนฟูข้ึน และพฒั นาอยา่ งฉาบฉวย เพอื่ ดงึ ดูด นกั ท่องเทย่ี วเป็นสำคัญ ทำให้ขาดเอกลักษณ์และความสมจริง กลายเปน็ การแสดงหรอื สาธติ ดังคำกลา่ วของ เซซลิ รา เชนารา กวีนิพนธ์ชาวมาเลเซยี ว่า “ เมอื่ นักทอ่ งเทยี่ วบินเข้ามา ผู้ชายของเราก็ทง้ิ แหจับปลาไปเป็นพนกั งานรบั ใชต้ าม โต๊ะขายอาหาร และผหู้ ญงิ ของเราก็ไปเปน็ โสเภณี เม่ือนักท่องเทยี่ วบินเข้ามา วัฒนธรรมใดที่เรามีอยกู่ ็บินออกไปทาง หนา้ ตา่ ง เราเอาขนบธรรมเนยี มประเพณขี องเราไปแลกกบั แว่นตากนั แดดและนำ้ อัดลม เราแปลงประเพณีอนั ศกั ด์สิ ิทธ์ิ ให้กลายเป็นถำ้ มอง ค่าดสู บิ เซน็ ต์ ” 2.เศรษฐกจิ ขอ้ ดี รายได้ท่ีเกิดจากกิจการทอ่ งเทย่ี วแม้ว่าจะออกมาในรปู ของเมด็ เงินไมเ่ ดน่ ชดั นัก แต่เปน็ ท่ียอมรบั กันวา่ เมอ่ื นักท่องเท่ียว เดนิ ทางเขา้ ไปเยือนสถานทีแ่ หง่ ใด ๆ กต็ าม จะต้องมกี ารใช้จ่ายเพอ่ื เป็นค่าบริการ อาหาร ท่พี กั อาศยั และ อนื่ ๆ ซึ่งรายได้ ดงั กลา่ วในทางเศรษฐกจิ เรียกวา่ “ รายได้จำบงั ” ประโยชน์ทางดา้ นเศรษฐกจิ ทเ่ี กิดข้นึ จาการท่องเทย่ี ว จะช่วยให้ลดภาวะการขาดดุลในการชำระเงนิ เนื่องจากการลงทนุ ทางด้านกิจการทอ่ งเท่ียวจะใช้เงนิ ไม่มากนัก แต่จะได้ ผลตอบแทนออกมาอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ประเทศที่กำลงั พัฒนาหรอื ดอ้ ยพัฒนา จะมีวัตถดุ ิบเพ่อื การทอ่ งเทยี่ ว ท้ังทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมอยูม่ าก เมอื่ มกี ารจัดการทด่ี ีจะมีนักท่องเทยี่ วทงั้ ต่างถิ่นและต่างแดน เดนิ ทางเขา้ มาใช้ บริการมากขน้ึ นน่ั หมายถึงรายได้ทเี่ ข้าสู่ประเทศในรูปแบบหน่ึง ในขณะเดยี วกนั ประเทศเหลา่ นี้ จำเป็นต้องส่งั ซ้อื สินค้า

อุตสาหกรรมเขา้ มาเพ่ือพฒั นาประเทศ จึงทำให้เกิดภาวะขาดดลุ การชำระเงินอยู่ในระดับสงู รายไดท้ ไ่ี ด้รับจการท่องเทย่ี ว จงึ ช่วยผ่อนปรนและลดภาวะการขาดดุลการชำระเงินไดใ้ นระดับหนงึ่ - สร้างงานใหมใ่ หแ้ ก่บคุ คลในทอ้ งถิ่น เมื่อกจิ กรรมการท่องเทย่ี วขยายตัวขนึ้ ธรุ กิจทเ่ี กีย่ วขอ้ งไมว่ ่าจะเป็นที่พัก อาศัย ซ่ึงได้แก่ โรงแรม บงั กะโล ภตั ตาคาร ร้านขายของท่ีระลึก การบริการขนสง่ และอาชีพมคั คเุ ทศก์ จะต้องมกี าร ปรบั ตวั เพื่อรองรับนักทอ่ งเท่ยี วที่จะเดินทางเขา้ มาใชบ้ ริการ ซึง่ จำเป็นที่จะตอ้ งใช้แรงงานระดับต่าง ๆ มากมาย กล่าวคือ จะเรม่ิ ตงั้ แต่คนงานกอ่ สร้าง คนงานผลติ สนิ คา้ พน้ื เมอื ง พนักงานบริการทงั้ ฝ่ายตอ้ นรบั อาหาร ทำความสะอาด รักษา ความปลอดภัย พนกั งานขบั รถ และมัคคเุ ทศก์ เพอื่ นำแขกเขา้ ไปเยี่ยมสถานท่ตี า่ ง ๆ เปน็ ต้น ซง่ึ จำเป็นทจ่ี ะตอ้ งใช้แรงงาน เปน็ จำนวนมาก จึงเปดิ โอกาสและให้ประชาชนในท้องถิ่นมงี านทำเพิม่ ข้นึ ทั้งเป็นแบบประจำและชว่ั คราว - สนิ คา้ พื้นเมืองและสินค้าเกษตรกรรมขายได้ราคาดี ตามปกตแิ ลว้ ประชากรไทยเกือบ 80% จะประกอบอาชีพ การเกษตร ยามว่างจากการทำนาก็จะผลติ สนิ คา้ พน้ื เมืองเพือ่ ใชภ้ ายในครอบครวั และจะมบี างสว่ นเหลือสง่ ออก จำหนา่ ย ในรูปของท่ีระลึกบา้ ง ถา้ หากมีการพฒั นาสถานท่ีทอ่ งเท่ยี วเกดิ ขึน้ ในยา่ นใกล้เคียง จะทำให้สินค้าการเกษตรไม่วา่ จะเปน็ ผักสด ผลไม้ เน้อื สัตว์ และสนิ คา้ พ้ืนเมือง ขายได้ราคาดี ขอ้ เสยี จากการท่นี กั ท่องเทย่ี วเดนิ ทางเขา้ ไปใช้สถานท่บี รกิ ารเกี่ยวกับการท่องเทีย่ วมาก จะส่งผลทำใหค้ า่ ใชจ้ ่ายในการ ให้บริการสงู ขน้ึ ดังน้นั เมืองตากอากาศ หรือเมืองท่องเท่ยี วทีส่ ำคญั จะมีค่าครองชพี สูงกวา่ ในบริเวณใกล้เคียงมาก ตวั อย่าง เชน่ ค่าครองชีพของเมอื งพัทยา หรือภเู ก็ต ซ่งึ หลังจากมกี ารพัฒนาให้เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวระดับนานาชาติ จะทำให้สนิ ค้า และบรกิ ารในสถานท่ดี งั กล่าวสงู กวา่ เดมิ หลายเท่าตวั ซ่ึงจะทำให้ประชาชนท่ีมรี ายได้ปานกลางหรือตำ่ ดำเนินชวี ิตอยใู่ น เมอื งพัทยาและภเู ก็ตเป็นไปดว้ ยความยากลำบาก เปน็ ต้น 3.การเมอื ง ขอ้ ดี การไปมาหาสู่กนั หรอื การมีโอกาสเดินทางไปเย่ยี มเยอื นกันอยเู่ สมอ จะส่งผลทำให้กลมุ่ ชนต่าง ๆ เกิดความเขา้ ใจดี ตอ่ กนั ถา้ หากผู้ท่เี ขา้ มาเยอื นนั้นไม่แสดงอาการดถู กู เหยยี ดหยามกลุ่มชนหรือประเทศทีม่ ีความเจริญทางดา้ นวัตถุต่ำกวา่ ดงั น้นั การขยายกจิ การท่องเทยี่ วเข้าไปสู่ภูมภิ าคหรอื ประเทศต่าง ๆ มากเทา่ ไร และเม่ือมีชาวต่างถิ่นหรอื ตา่ งแดนเดิน ทางเข้ามาท่องเทยี่ วมากข้ึน นอกจากเป็นลดสภาพการอยอู่ ย่างโดดเด่ียวแล้ว เมื่อกลุม่ ชนเหลา่ นน้ั มีโอกาสพบปะสงั สรรค์

กัน อยูต่ ลอดเวลา จะทำใหค้ วามเปน็ มติ รกระชับมน่ั ย่งิ ขน้ึ ซง่ึ จะส่งผลต่อความมั่นคงทางด้านการเมืองในท้องถิ่น ใน ประเทศ หรอื ระหว่างประเทศได้เช่นกนั ข้อเสยี การเดินทางของกลุม่ ชนเขา้ ไปท่องเท่ยี วต่างแดนที่เหน็ ความเจริญกา้ วหน้าทางด้านการเมอื ง ประชากรของเขามี ความเป็นอิสระและเสรีภาพสงู จึงทำให้นักทอ่ งเที่ยวเหล่าน้นั นำกลบั มาเปรยี บเทยี บกับประเทศของตนและในทส่ี ดุ จะ กลายเป็นชนวนนำไปสู่การต่อตา้ นรัฐบาลท่ปี กครองประเทศต่อไป นอกจากน้ีการเดนิ ทางเขา้ ไปทอ่ งเทยี่ วในกลุ่มชนท่ีมี พ้นื ฐานทกุ ดา้ นแตกต่างกนั แมจ้ ะอยใู่ นประเทศเดียวกันก็ไม่เกดิ ผลดแี ต่อย่างไร กล่าวคืออาจจะนำไปสู่ความเข้าใจผดิ และ เกดิ ความไม่ไวว้ างใจซึ่งกันและกนั ได้ 4.สงั คม ข้อดี - ชว่ ยให้ประชาชนไดเ้ ห็นถึงความสำคัญของศิลปวฒั นธรรมประเพณขี องแต่ละทอ้ งถ่นิ ทีเ่ ดินทางไปถึง ซึ่ง เปรยี บเสมือนการทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจกนั ระหว่างประชาชน การทอ่ งเท่ยี วทำใหไ้ ด้รับทราบถงึ อารยธรรมท่ีแตกต่างกนั ออกไป ซึง่ เปรียบเสมือนการเรยี นรู้ด้วยตนเองท่ีผดิ แผกแตกต่างไปจากชีวติ ประจำวัน และสถานท่ีท่ีตนเองเคยพบเห็นอยู่ เป็นประจำ นอกจากนผี้ ทู้ อี่ ยใู่ นท้องถน่ิ กท็ ราบถึงส่ิงแปลก ๆ ใหม่ ๆ ทีค่ นเดินทางไป ถึงมพี ฤติกรรม หรืออารยธรรมเป็น เช่นไร เพอื่ นำเอาส่วนทด่ี ีมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้ดยี ่ิงขนึ้ ต่อไป ฉะน้นั จงึ สรุปไดว้ ่าการท่องเทยี่ วทำประโยชน์ให้แก่ผเู้ ดนิ ทาง และผู้ท่ีอยู่ในท้องถ่ิน - ช่วยให้สภาพแวดล้อมของท้องถนิ่ ดียง่ิ ขึ้น เพราะเปน็ ท่ที ราบดวี า่ หากสถานทใ่ี ดมปี ญั หาในเรือ่ งเกย่ี วกับความ เส่อื มโทรม ความสกปรกหรอื ความไมป่ ลอดภยั ก็จะไมเ่ ป็นท่ปี ระสงคท์ ีน่ กั ทอ่ งเทีย่ วจะเดนิ ทางไปเพราะ นกั ทอ่ งเที่ยว ประสงคท์ จ่ี ะไดพ้ บเหน็ หรือสมั ผัสกบั สภาพธรรมชาติของทอ้ งถ่นิ ประชาชนมีอัธยาศยั ไมตรี ความสะดวกสบายท่ีพอควร และมคี วามปลอดภัย - เปน็ การสร้างความม่นั คงใหก้ ับประเทศ เพราะในสถานทท่ี ่ีนกั ท่องเท่ียวเดนิ ทางไปถึงจะมีการสร้างปัจจัยต่าง ๆ เชน่ ถนน ไฟฟ้า ประปา โรงแรม ทีพ่ ักต่าง ๆ ตามมาเพือ่ สนองความตอ้ งการและการสรา้ งวตั ถุสิ่งของเหล่าน้ี จะช่วยขจัด ปัญหา หรือภัยทีเ่ กิดจากการแทรกซมึ หรือบอ่ นทำลายต่าง ๆ ไดอ้ ย่างดี นอกจากน้ี ยงั เปน็ การสรา้ งความเจริญ ใหแ้ ก่ทอ้ งถิ่นได้อย่างมากอีกดว้ ยฉะนนั้ จงึ กล่าวไดว้ า่ ในยามที่ประเทศกำลังประสบปัญหาต่าง ๆ อย่างมากมาย จึงควรท่ี จะระดมทรพั ยากรเท่าทมี่ ีอยู่ พรอ้ มทัง้ กำลงั ความสามารถและสติปัญญาเพื่อสรา้ งความผาสกุ ใหก้ ับประชาชนโดยการ

หาทางสรา้ งงานหรอื อาชพี และกระจายรายได้สู่ประชากรในทอ้ งถิ่น ตลอดจนการสร้งฐานะความมั่นคงทงั้ ทางการเมือง และสงั คมโดยใช้มาตรการส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวเข้าไปแกไ้ ข เพราะการทอ่ งเท่ยี วยังมีอนาคตที่จะก้าวหน้าไปไดอ้ ีก และมี ช่องทางทจี่ ะส่งเสริมให้บรรลผุ ลตามเปา้ หมายได้โดยง่าย และรวดเรว็ ตามความต้องการทกุ ประการ ขอ้ เสีย - ด้านศลี ธรรม จากความแตกต่างของนักท่องเท่ียวกบั ชาวพื้นเมือง จงึ ทำใหน้ ักท่องเที่ยวเหล่านนั้ สรา้ งปัญหา สงั คมเกดิ ขน้ึ ไมว่ ่าทางด้านอาชญากรรม โสเภณี ยาเสพติด และการประพฤตผิ ดิ ทางดา้ นศีลธรรมอนื่ ๆ ก็ตาม อาจจะ กลา่ วไดว้ า่ กจิ การท่องเท่ยี วจะเปน็ ตัวเร่งทท่ี ำใหเ้ กิดความเขม้ ของปัญหาสงั คมดังกล่าว - ความรสู้ กึ ท่ีไมด่ ตี อ่ นักท่องเทยี่ วจากความแตกต่างทางด้านเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และระดับการศึกษา จะ ทำให้ชาวพ้ืนเมืองหรือชาวชนบทมคี วามรู้สึกว่าตวั เองต่ำต้อย และด้อยโอกาสกว่าชาวเมือง แมว้ า่ ชาวพื้นเมืองเหล่านั้นจะ พยายามยกฐานะตัวเองขึ้นมา แต่โอกาสต่าง ๆ ไม่เอื้ออำนวยจึงส่งผลทำใหช้ าวพน้ื เมืองมีความรสู้ ึกไม่ดีต่อนักท่องเทย่ี ว เหลา่ นน้ั 6.สภาพแวดล้อม ขอ้ ดี ไดร้ บั ความสนใจจากหน่วยงานของรัฐบาลและผูเ้ ก่ียวขอ้ งมากยิง่ ข้ึน มีการปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมหรือ มกี ารเขา้ ควบคุมเพอ่ื ให้คงสภาพทีด่ ีเหมือนเดิมให้มากที่สดุ หรอื อยา่ งนอ้ ยกใ็ ห้เกดิ ความเสียหายน้อยที่สุด ขอ้ เสีย จากการที่ประชากรเดนิ ทางเข้าไปทอ่ งเท่ยี วในสถานทต่ี า่ ง ๆ มากเกินกวา่ ท่ีสถานทท่ี อ่ งเท่ยี วแห่งน้ัน จะรองรับได้ จะส่งทำให้สถานท่ีท่องเทีย่ วเสอื่ มโทรมหรอื ถูกทำลายมากเกินกวา่ ที่จะบูรณะให้คนื สูส่ ภาพเดมิ ได้ ยิ่งไปกวา่ นน้ั การที่ นักทอ่ งเที่ยวนำสิ่งปฏกิ ลู ต่าง ๆ ท่ีเกิดจากเศษอาหารและวัสดุที่ใชใ้ นสถานที่ท่องเทยี่ วหรอื แหลง่ นำ้ ในบรเิ วณใกล้เคยี ง จะ ทำใหเ้ กิดมลพิษ ซงึ่ จะทำให้ทศั นียภาพท่ีสวยงาม โดยท่ัวไปถกู ทำลาย อยา่ งไรกต็ ามการป้องกันมิให้สิง่ แวดลอ้ มของ สถานท่ที อ่ งเที่ยวถกู ทำลาย อาจจะกระทำไดโ้ ดย - มกี ารวางแผนการจัดการและการควบคุมที่ดี - นำเอาหลักการอนรุ กั ษ์สถานที่ท่องเทยี่ วมาใช้

- ต้องได้รบั ความรว่ มมอื จากนกั ท่องเท่ยี วอยา่ งแท้จริง จากทกี่ ล่าวแลว้ ข้างต้นจะเหน็ วา่ กจิ การท่องเทีย่ วมไิ ด้ก่อให้เกิดผลดเี ทา่ น้นั แตจ่ ะทำให้เกดิ ผลเสียได้เชน่ กนั การวางแผนเก่ียวกบั การทอ่ งเทย่ี วท่ดี ี และใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับขนบธรรมเนียมประเพณที ่ีถกู ตอ้ ง จะช่วยลดผลกระทบทีเ่ กดิ จากการท่องเที่ยวได้มาก อยา่ งไรกด็ ี ประเทศต่าง ๆ ทว่ั โลกไดเ้ ล็งเห็นว่า กจิ กรรมการท่องเท่ยี วสามารถทำรายได้ให้ ประเทศหรอื ทอ้ งถ่ินเปน็ จำนวนมากจงึ พยายามพฒั นาและสง่ เสริมกิจการท่องเทยี่ วเพอื่ ดึงดูดใหน้ ักท่องเทีย่ วต่างชาติ หรือ ต่างถน่ิ เดนิ ทางเข้ามาใชบ้ ริการมากย่ิงข้ึน เพอ่ื เกบ็ เกยี่ วผลประโยชน์ทพ่ี งึ ได้รับจากนกั ทอ่ งเท่ยี วตอ่ ไป นอกจากนย้ี งั ชว่ ยใน การประชาสมั พนั ธป์ ระเทศหรือท้องถิ่นของตนใหเ้ ปน็ ทีร่ จู้ ักของคนทัว่ ไปอีกดว้ ยแม้ว่ากจิ การทอ่ งเที่ยวจะสง่ ผลกระทบ ในทางลบเกิดขึ้นบ้างก็ตาม ประโยชนท์ างตรง 1. เมอื่ มกี ารลงทุนในทอ้ งถ่นิ เป็นการสร้างความเจริญใหแ้ กท่ อ้ งถิน่ เชน่ โรงแรม ภัตตาคาร รสี อรท์ สิ่งอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ ทำใหม้ กี ารจา้ งงาน สร้างอาชีพใหม่ ๆ นอกเหนอื จากการทเี กษตรกรรม เช่น มัคคเุ ทศก์ท้องถน่ิ รับจา้ งขนส่ง และให้เช่าตำแหนง่ งานในสถานประกอบการโรงแรม ภตั ตาคาร รา้ นอาหาร โรงงาน เป็นตน้ 2. การไม่มีขีดจำกดั ในเร่ืองของการจำหน่าย เน่อื งจากนักทอ่ งเทยี่ วเพมิ่ ขนึ้ ทกุ ปี มที ุกระดบั ไม่เฉพาะผู้มรี ายไดส้ งู เทา่ นนั้ สง่ เสรมิ ให้อาชพี ท้องถน่ิ มรี ายได้ทมี่ นั่ คง มีการนำทรพั ยากรในท้องถิน่ มาใชป้ ระโยชน์อย่างสูงสดุ เชน่ การทอผ้า พ้ืนเมอื ง การทำของที่ระลกึ ผกั ผลไมท้ างด้านการเกษตรมีการนำมาจำหนา่ ยทั้งสดและแปรรูป 3. ศิลปวฒั นธรรมประเพณี นาฏศิลป์ การละเล่น ฯลฯ ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่นิ ได้รบั การฟืน้ ฟแู ละอนุรักษ์ ให้เปน็ มรดกตกทอดสมกับเป็นสังคมไทยทีเ่ ก่าแก่มานบั พันปี ใหเ้ ป็นสง่ิ ดงึ ดดู ความสนใจของนกั ทอ่ งเทยี่ ว 4. รักษท์ อ้ งถ่ินของตน ไมอ่ พยพทิง้ ถนิ่ ฐานไปหางานทำทอ่ี ่นื และชว่ ยกนั ดูแลรกั ษา เพราะถ่ินนี้คือแหลง่ ทำมา หากนิ 5. ประชาชนมีรายไดเ้ พิ่มและแน่นอน ในความไม่มขี ดี จำกดั ของผลผลิตการท่องเทีย่ วทเี่ สนอขายความสวยงามของ ธรรมชาติ หาดทราย ชายทะเล ปา่ ไม้ ภเู ขา สภาพอากาศและสงิ่ ที่มนุษย์สรา้ งขึน้ ตลอดจนวถิ ชี วี ติ แบบไทย ๆ ซง่ึ ไมต่ อ้ ง ลงทนุ เพ่ิม ไม่ตอ้ งพ่งึ พาดินฟ้าอากาศ เหมือนอาชีพเกษตรกรรม ซึง่ ประชาชนสามารถหนั มาหาประโยชน์เพ่ิมเติมจาก อาชีพเกษตรกรรมทีม่ อี ยูเ่ ดิม ทำใหม้ สี ุขภาพจติ ดี เพราะฐานะความเปน็ อยู่ดีขน้ึ

ประโยชนท์ างออ้ ม 1. มหี น่วยงานราชการที่เกีย่ วกบั การท่องเที่ยวเข้ามาดูแล เชน่ กรมปา่ ไม้ดูแลอุทยานแห่งชาติ กรมประมง กรม ทรัพยากรธรณี ตำรวจนำ้ ทหารเรอื เขา้ มาดแู ลในเร่ืองของถำ้ ทะเล พรอ้ มทง้ั เข้ามาให้ความรแู้ ก่ประชาชน ในเร่ือง การชว่ ยกนั อนุรกั ษ์ดูแลรักษาใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วที่งดงาม สะอาดโดยถูกวธิ ี เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจว่านักท่องเที่ยวตอ้ งการมาชม สง่ิ ใด ตอ้ งการสิ่งใด ถา้ ไมม่ ีสิ่งเหลา่ นี้ นกั ท่องเท่ียวก็จะไม่มา และประชาชนเองก็จะไมม่ ีรายได้และอาชีพอีกต่อไป 2. การท่มี นี กั ทอ่ งเทย่ี วต่างถ่ินเขา้ มา เปน็ การสร้างมิตรไมตรี แลกเปลยี่ นวฒั นธรรม สร้างความเข้าใจอันดซี ึ่งกัน และกัน มีการปรบั ตวั เข้าหากัน ซึง่ เปน็ พน้ื ฐานของการอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ขุ 3. ความเป็นอยู่ดีขน้ึ ในเร่อื งของสาธารณปู โภค ความปลอดภัย มีหน่วยงานของรัฐเขา้ มาดูแล เชน่ มกี ารสรา้ ง ถนน มีน้ำ ไฟ โทรศพั ท์ มตี ำรวจ หรอื ทหารเข้ามาดแู ล 4. การมีมาตรการสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และความมนั่ คงแก่พน้ื ทีท่ ่ไี ด้รับการพฒั นาเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี ว เพ่อื ให้ นกั ท่องเที่ยวมัน่ ใจในเรอื่ งความปลอดภยั แก่ชีวิตและทรัพยส์ นิ ทำให้ทอ้ งถ่ินมีความปลอดภยั ไปด้วย

สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน https://servicearts.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%1. A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/ 2. ระบบการสอนออนไลน์ กิจกรรมเสนอแนะ / งานทีม่ อบหมาย ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายความสำคัญของการบอกแนวทางในการพฒั นางานบริการให้เกดิ ผลสำเร็จมากขน้ึ ได้ตาม ขนั้ ตอนและสามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าตามสภาพจรงิ คนละ 1 แบบ เอกสารอ้างอิง 1. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน หนังสือ การจัดการการบรกิ ารของธุรกจิ การท่องเท่ยี วและบรกิ าร ผ้เู ขียน ผศ.ดร.เจรญิ ชยั เอกมาไพศาล 2. ระบบการสอนออนไลน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook