Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Startup Innovator DNA

Startup Innovator DNA

Published by DOOMSKY PIM ST, 2020-05-08 14:11:40

Description: Startup Innovator DNA

Search

Read the Text Version

INNOVATOR’S DNA

Innovation…???

นวตั กรรมคอื อะไร

นวัตกรรม (Innovation) เดิมใช้ นวกรรม มาจากคากริยาว่า Innovate มาจากราก ศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Inovare (in (=in)+novare= to renew, to modify) และ novare มาจากคาว่า novus (=new) Innovate = ทาใหม่ เปล่ยี นแปลงโดยนาสง่ิ ใหม่ๆ เขา้ มา Innovation = การทาสิ่งใหม่ๆ หรือส่ิงใหมๆ่ ทที่ าข้ึนมา (International Dictionary)

“นวัตกรรม” มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Innovation” โดยมรี ูปศัพท์ เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว +อตต+กรรม ทั้งนี้ คาว่า นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลวา่ ตัวเอง และกรรมแปลว่าการกระทา เม่ือรวมเป็นคาว่า นวัตกรรม ตาม รากศัพท์หมายถึง การกระทาท่ีใหม่ของตนเอง ซ่ึงสอดคล้องกับคานิยาม ของ สานกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (2549) ไดใ้ ห้ความหมายของนวัตกรรมไว้วา่ นวัตกรรม คือ “ส่ิงใหม่ท่ีเกิดจากการใช้ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ที่มี ประโยชนต์ อ่ เศรษฐกิจและสงั คม”

“นวัตกรรม” หมายถงึ ส่ิงใหม่ท่ีกระทาซึ่งเกิดจากการใช้ความรู้ ใช้ความคิด สร้างสรรค์ สิ่งใหม่ในท่ีน้ีอาจจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ แนวคิด หรือ กระบวนการ ทส่ี ามารถนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการพัฒนา

นวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ Innovation Invention 2 สง่ิ น้ตี า่ งกันอย่างไร...

Super Serum อ.โจ้ • Nano Serum ครัง้ แรกของโลก • กระบวนการสกดั ใช้เทคโนโลยรี ะดับสูง • มีกระบวนการผลิตทสี่ ลับซบั ซอ้ น • ไมเ่ คยมใี ครทามาก่อน • ใชห้ ลักการสกัดพิษเพอ่ื แกพ้ ษิ นามาสร้างภมู คิ มุ้ กนั • เปน็ ผผู้ ลิตรายแรกและรายเดียวในโลก

ถ้าจะเดินทางไปต่างประเทศ จะซ้อื กระเปา๋ เดนิ ทางแบบมลี อ้ หรือไมม่ ลี อ้



“นวตั กรรม (Innovation)” คือการใช้ความคิดสรา้ งสรรค์เพอื่ พฒั นาหรือประดิษฐส์ ิ่งใหม่ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ บรกิ าร หรอื กระบวนการใหมๆ่ (Product, Service, Process) เป็นต้น ที่มีคุณค่า (Value Creation) และ มีประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืน เศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเมอื่ มีคุณค่าและมีประโยชน์แล้วจะสามารถขยายผลต่อได้ในเชิง พาณชิ ย์ หรอื ขายไดน้ ่ันเอง Innovation = Creative + New + Value Creation (ความคิดสรา้ งสรรค์ + สิง่ ใหม่ + มคี ุณค่า)

ขนั้ ตอนของนวัตกรรม 1. การคิดค้น (Invention) เป็นการยกร่างนวัตกรรม ประกอบด้วยการศึกษาเอกสารทฤษฎีที่เก่ียวกับ นวตั กรรม การกาหนดโครงสรา้ งรูปแบบของนวัตกรรม 2. การพัฒนา (Development) เป็นข้ันตอนการลงมือสร้างนวัตกรรมตามท่ียกร่างไว้ การตรวจสอบ คุณภาพของนวตั กรรมและการปรับปรงุ แกไ้ ข 3. ขั้นนาไปใชจ้ ริง (Implement) เป็นข้นั ทมี่ คี วามแตกต่างจากทเี่ คยปฏบิ ตั ิเดิมมา ในขั้นตอนนี้รวมถึงข้ัน การทดลองใช้นวัตกรรม และการประเมินผลการใช้นวตั กรรม 4. ข้ันเผยแพร่ (Promotion) เปน็ ข้ันของการเผยแพร่ การนาเสนอ หรือการจาหนา่ ย

องคป์ ระกอบของนวตั กรรม ประกอบดว้ ย 1. ความใหม่ ใหม่ในที่น้ีคือ ส่ิงใหม่ท่ีไม่เคยมีผู้ใดทามาก่อน เคยทามาแล้วใน อดีตแต่นามารื้อฟ้ืนใหม่ หรือเป็นส่ิงใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าท่ีมีอยู่ เดมิ 2. ใช้ความรู้หรือความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนา นวัตกรรมต้องเกิดจากการ ใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนา ไม่ใช่เกิดจากการ ลอกเลียนแบบ หรอื การทาซ้า 3. มีประโยชน์ สามารถนาไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาในการดาเนินงานได้ ถ้า ในทางธรุ กจิ ต้องมปี ระโยชน์เชงิ เศรษฐกิจ สร้างมูลค่าเพ่ิม 4. นวัตกรรมมีโอกาสในการพฒั นาต่อได้ ข้อมูล : www.gotoknow.org ผศ.นลิ รตั น์ นวกจิ ไพฑูรย์

ขนั้ ตอนของนวตั กรรม 1. การคิดค้น (Invention) เป็นการยกร่างนวัตกรรม ประกอบด้วยการศึกษา เอกสารทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรม การกาหนดโครงสร้างรูปแบบของ นวตั กรรม 2. การพัฒนา (Development) เป็นข้ันตอนการลงมือสร้างนวัตกรรมตามที่ ยกร่างไว้ การตรวจสอบคณุ ภาพของนวตั กรรมและการปรับปรงุ แกไ้ ข 3. ขั้นนาไปใช้จริง (Implement) เป็นขั้นที่มีความแตกต่างจากที่เคยปฏิบัติ เดิมมา ในข้ันตอนน้ีรวมถึงข้ันการทดลองใช้นวัตกรรม และการประเมินผล การใชน้ วัตกรรม 4. ข้ันเผยแพร่ (Promotion) เป็นข้ันของการเผยแพร่ การนาเสนอ หรือการ จาหน่าย

Imagination is more important than knowledge. Knowledge is limited. Imagination encircles the world. จินตนาการสาคญั กว่าความรู้ เพราะความร้นู ้ันมีจากัด แต่จินตนาการมีอยทู่ ุกพนื้ ทบ่ี นโลก

Life is like riding a bicycle. To keep your balance you must keep moving. ชีวิตเหมอื นการปนั่ จกั รยาน คุณจะตอ้ งปั่นมนั อย่างตอ่ เน่ือง มันถึงจะทรงตัวได้

Insanity is doing the same thing over and over again and expecting different results. มีแต่คนบ้าเทา่ น้นั ที่จะทาสง่ิ เดิมซา้ ๆ แตก่ ลบั หวงั ผลลัพธ์ทแ่ี ตกตา่ ง.

Anyone who has never made a mistake has never tried something new. คนที่ไมเ่ คยทาผิดพลาดเลย คือคนท่ีไมเ่ คยลองทาอะไรใหมๆ่

นวตั กรพลกิ โลก

นวัตกรหรือคนท่ีสร้างสรรค์จะคิดต่างและทาต่าง สร้างความแตกต่าง อันนาไปสู่ความคิดในการสร้างผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ และ ธรุ กิจใหม่ๆ นวัตกรต้องมีความเชี่ยวชาญเฉพาะใน 5 ทักษะ คือ การ เชื่อมโยงความคิด ต้ังคาถาม สังเกต ปฏิสัมพันธ์และทดลอง อันเป็น กุญแจสาคัญในการ ผุดความคดิ ใหมๆ่

รปู แบบ(โมเดล)นวัตกรในการผุดความคิดสร้างสรรค์ คือ นวัตกรจะกล้า ทาสง่ิ ใหม่ ไม่พอใจกบั สถานภาพปัจจุบัน กล้าเส่ียงอย่างฉลาดในการทา ให้เกิดการเปล่ียนแปลง มที ักษะเชิงพฤติกรรมคือมีความกระตือรือร้นใน การต้ังคาถาม สังเกต ปฏิสัมพันธ์ และทดลองบ่อยขึ้น มีทักษะในการ รับรู้เพ่ือสังเคราะห์ข้อมูลใหม่คือการเชื่อมโยงความคิดวิทยาการ หลากหลายสาขาเข้าด้วยกัน (การเช่ือมโยงความคิดใหม่ๆ) กลายเป็น ความคดิ ธุรกจิ ใหม่ๆมากขน้ึ “นวัตกรจะต้องทาตา่ งอย่างสม่าเสมอเพ่ือทจ่ี ะคดิ ตา่ ง”

นวัตกรจะสามารถเช่ือมโยงความคิดได้ดีที่สุดเม่ือพวกเขาก้าวออกไป จากพรมแดนของตน (คิดนอกกล่อง) ทักษะการค้นพบ 5 ประการ คือ 1. การต้ังคาถาม 2. สงั เกต “ความคดิ สรา้ งสรรค์คือการเชือ่ มโยงสงิ่ ตา่ งๆ” 3. ปฏสิ ัมพันธ์ 4. ทดลอง 5. การเชอื่ มโยงความคดิ

การตั้งคาถาม คือ วิธีการทางานของนวัตกรมันคือตัวกระตุ้นที่ ก่อให้เกิดพฤติกรรมการค้นพบอ่ืน คือการสังเกต การปฏิสัมพันธ์ และ ทดลองตามมา นวัตกรจะพ่ึงพาการคิดหาคาถามท่ีถูกต้องในการบรรลุ ความสาเร็จ “จงอย่าหยุดสงสยั ”

การสังเกต คือ สังเกตลูกค้า สังเกตบริษัท สังเกตเทคโนโลยี สังเกต กระบวนการ สังเกตธรรมชาติ สงั เกตอะไรกต็ ามทเี่ ขา้ ตา สังเกตด้วยทุก สัมผัสของคุณ และมองหาวิธีการนาไปประยุกต์ใช้ (อาจมีการแก้ไข เล็กน้อย) ในบรบิ ทต่างกัน

ปฏิสัมพันธ์ คือ การคิดนอกกล่องต้องมีการเช่ือมโยงไอเดียต่างๆใน เรื่องท่ีนวัตกรมีความเชี่ยวชาญกับไอเดียของผู้อ่ืนที่อยู่ในกล่องอีกใบ หรือนอกโลกของนวัตกร นวัตกรจะได้ความคิดหรือมุมมองที่แตกต่าง อย่างสุดขั้วเม่ือพวกเขาทุ่มเทเวลาและพลังงานในการค้นหาและ ทดสอบไอเดียด้วยการปฏิสัมพันธ์กับคนหลากหลายประเภท มีการ สร้างเครือข่ายไอเดียโดยการเพ่ิมความหลากหลายให้กับเครือข่ายของ คุณและสร้างสะพานเช่ือมช่วงว่างระหว่างแต่ละเครือข่ายสังคมเพื่อ ไอเดยี ใหม่ๆ

การทดลอง คือ นวัตกรทางธุรกิจจะพยายามทดลองไอเดียใหม่ๆด้วย การสร้างต้นแบบและทาการทดสอบนาร่องเพ่ือดูว่าได้ผลหรือไม่ โลก คือห้องทดลองของพวกเขา (พวกเขาไม่ได้ทางานในหอ้ งทดลองเหมือน นักวิทยาศาสตร์) เขาทดลองประสบการณ์ใหม่ๆ และชาแหละ ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการและไอเดียออกเพื่อหาข้อมูลใหม่ ทดสอบ ไ อ เ ดี ย ด้ ว ย โ ค ร ง ก า ร น า ร่ อ ง แ ล ะ ต้ น แ บ บ ท่ี อ า จ จุ ด ป ร ะ ก า ย ไ อ เ ดี ย สรา้ งสรรค์ใหมข่ น้ึ ดว้ ย “การทดลองเปน็ กญุ แจในการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม”

การเชื่อมโยงความคิดคือการผสมผสานความคิดและเชื่อมโยงความคิด วัตถุ บริการ เทคโนโลยี ความรู้หลากหลายสาขาวิชาเพ่ือสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ท่ีไม่ธรรมดา โดย 1. การนาไอเดียจากสาขาอืน่ เข้ามาผสมผสานกับสาขาท่ีตนเชยี่ วชาญ 2. การนาไอเดียในสาขาที่ตนเช่ียวชาญออกไปสู่สาขาที่เราไม่มีความรู้ มากนักและกาลังศึกษาค้นคว้า

ทาไมผูบ้ ริหารอาวโุ สส่วนใหญ่จงึ ไมค่ ิดต่าง ? ผ้บู ริหารส่วนใหญ่คิดภายในกล่อง (มีทักษะในการส่งมอบ) จะงานหนัก โดยมุ่งกับการส่งมอบผลงานชนิ้ ต่อไป สรุปคือผู้บริหารส่วนใหญ่มคี วาม เป็นเย่ียมในการลงมือปฏิบัติงานตามแผนและ 4 ทกั ษะในการส่งมอบ คือ วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามรายละเอียด และปฏิบัติให้สาเร็จ ลุล่วงตามแผน นวัตกรมที ักษะในการค้นพบมาก ส่วนทกั ษะในการส่ง มอบงานจะเป็นรอง

บริษัทขนาดใหญ่มักล้มเหลวในการสร้างนวัตกรรมพลิกโลก เพราะทีม ผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่คือผู้ที่ได้รับเลือกจากทักษะในการส่งมอบ งานไม่ใช่การค้นพบ ผลก็คือผู้บริหารส่วนมากในองค์กรขนาดใหญ่ไม่รู้ วิธีคิดต่าง และการคิดต่างก็ไม่มีสอนในวิทยาลัยธุรกิจหรือภายใน องค์กรด้วย ส่วนใหญ่วิทยาลัยพวกนี้จะสอนวิธีการส่งมอบงาน (การ ปฏิบัติ) ไม่ใช่การค้นพบ บริษัทหรือองค์กรของคุณเลือกเฟ้นคนที่มี ทักษะในการค้นพบหรือไม่ เราทุกคนสามารถพัฒนาความสามารถใน การสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ คุณสามารถคิดไอเดียใหม่ๆ สาหรับธุรกิจ ของคณุ ได้ “นวตั กรรมจะตอ้ งทาต่างอยา่ งสม่าเสมอเพือ่ ท่ีจะคิดต่าง”

ลงมอื ทาเดย่ี วน้ี

สรุป จากการสัมภาษณ์และสังเกตการณ์ เราพบว่าบริษัทที่มีความ สร้างสรรค์จะถ่ายทอดรหัสของความคิดสร้างสรรค์ลงในกรอบความคิด ทเี่ รียกว่า 3 P คือคน (People) กระบวนการ (Process) และปรัชญา (Philosophy) นาทางของบริษทั อยา่ งชัดเจน

คนการใช้ประโยชนจ์ ากดีเอน็ เอนวตั กร “นวตั กรรมคือสิง่ ที่แบ่งแยกว่าใครเป็นผ้นู าและผู้ตาม” การคิดสร้างสรรค์คือสิ่งสาคัญอย่างแท้จริง สร้างทีมและองค์กรท่ีมี ทักษะที่เสริมกนั และกนั ผู้นาท่ผี ลกั ดันด้วยทกั ษะการค้นพบต้องมีคนทีม่ ี ทักษะในการส่งมอบที่เป็นเลิศในการลงมือปฏิบัติเป็นคอยเป็นทัพเสริม (ผนู้ าทีมทีม่ ีประสิทธิภาพจะเขา้ ใจทกั ษะการค้นพบและส่งมอบของตนดี และพยายามเอาคนเก่งในทักษะทตี่ นด้อยมาเสรมิ ดว้ ย)

ความสมดุลระหว่างทักษะการค้นพบและส่งมอบในทีมงานหรือบริษัท คือสมดลุ ทง้ั 2 ดา้ น ดา้ นที่ 1. ผลักดนั ดว้ ยการค้นพบ 1. เช่ือมโยงความคดิ 2. ถาม 3. สังเกต 4. ปฏิสมั พันธ์เพอื่ หาไอเดยี 5. ทดลอง

ดา้ นท่ี 2. ผลักดันด้วยการส่งมอบ 1. วเิ คราะห์ 2. วางแผน 3. ลงมือปฏิบตั ใิ นรายละเอยี ด 4. มวี นิ ยั

การเสริมกนั และกันของคน เทคโนโลยี และความเช่ยี วชาญด้านธุรกิจ นอกจากทีมงานจะต้องมีทักษะการค้นพบและการส่งมอบเพ่ือเสริมกัน และกันแล้ว ทีมงานท่ีสร้างสรรค์ยังต้องมีความเช่ียวชาญหลากหลาย ด้วย คือมีความเช่ียวชาญอย่างลึกซึ้งหนึ่งสาขาและรอบรู้กว้างๆใน หลายสาขา สรุปบริษัทที่สร้างสรรค์จะต้องเลือกคนท่ีหลากหลายมา ผสมผสานกัน โดยไม่เพียงแต่มีทักษะการค้นพบและการส่งมอบเสริม กันและกันเท่าน้ันแต่ยังต้องมีความเช่ียวชาญท่ีแตกต่างกัน มาจากพ้ืน เพหลากหลายเพ่อื มองปัญหาผ่านเลนสห์ ลายๆองศา

สรุปก็คือ บริษัทที่มีความสร้างสรรค์สูงท่ีสุดในโลกจะมีผู้นาท่ีเข้าใจใน นวัตกรรมอยา่ งลกึ ซง้ึ เปน็ การส่วนตัว (นวัตกรรมทางธุรกิจ คือความคิดสร้างสรรค์ในเรื่องของการผลิต กระจายสินค้า การตลาด ราคา หรือการจัดสรรทรัพยากรให้กับ ผลติ ภัณฑม์ ากขึน้ กว่านี้)

การใช้ประโยชน์จากดีเอ็นเอนวตั กร กระบวนการ ดีเอ็นเอขององค์กรทส่ี ร้างสรรค์คือภาพสะท้อนของดีเอ็นเอของบุคคลท่ี สร้างสรรค์และเช่นเดียวกับคนท่ีสร้างสรรค์จะต้ังคาถาม สังเกต ปฏิสัมพันธ์ และทดลองอย่างเป็นระบบเพ่ือกระตุ้นให้เกิดไอเดียใหม่ๆ องค์กรทีส่ ร้างสรรค์ก็จะพัฒนากระบวนการท่สี นับสนุนทักษะเดียวกันนี้ ใน หมู่พนักงานด้วย นอกจากนี้บริษัทยังต้องพึ่งพา กระบวนการที่เป็น ระบบในการคน้ หาคนท่มี ที ักษะการคน้ พบที่แขง็ แกร่ง

กระบวนการทีส่ ะทอ้ นทกั ษะการคน้ พบของนวตั กรพลกิ โลก กระบวนการค้นพบท่ี 1. ถาม (การตั้งคาถาม) 2. สังเกต 3. ปฏสิ ัมพนั ธ์เพ่ือหาไอเดีย 4. ทดลอง(การสร้างตน้ แบบ)

การใชป้ ระโยชนจ์ ากดเี อ็นเอนวตั กร ปรชั ญา ต่อนีไ้ ปคือ 4 ปรัชญาซง่ึ ซมึ ซาบอยู่ในบรษิ ทั ทสี่ รา้ งสรรคท์ ่สี ุดในโลก

ปรัชญาที่ 1. การสร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นงานของทุกคน ไม่ใช่แค่ฝ่าย วิจัยและพัฒนา (การคดิ สร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นงานของทุกคน การให้ กาลงั ใจเม่อื พวกเขาใชท้ ักษะการค้นพบ)

ปรัชญาที่ 2. นวัตกรรมพลิกโลกเป็นส่วนหนึ่งในแฟ้มผลงานนวัตกรรม ของเรา (ลงทุนด้านเวลาและทรัพยากรอย่างจริงจังในโครงการ นวัตกรรม)

ปรชั ญาท่ี 3. สนบั สนุนทมี ขนาดเลก็ ที่มกี ารจดั การท่ดี ี

ปรชั ญาท่ี 4. เสี่ยงอยา่ ง “ฉลาด” (จงเสยี่ งอย่างฉลาดในการคน้ พบนวตั กร)

ส่ิงสาคัญที่สุดในการคิดสร้างสรรค์คือการไม่กลัวท่ีจะล้มเหลว สาหรับ นวัตกรหรือบริษัทที่มีความคิดสร้างสรรค์ ความผิดพลาดไม่ใช่เร่ืองน่า ละอาย แตเ่ ปน็ ต้นทนุ ท่เี ราคาดไดว้ ่าจะเจอในการทาธุรกิจ “ถ้าคณุ ทาส่งิ ใหม่มากพอ แนใ่ จได้เลยวา่ ตอ้ งมขี ้อผิดพลาด”

บรษิ ัททมี่ ีวัฒนธรรมซึง่ ช่วยให้เขาตอบคาถามทง้ั ส่ดี ังต่อไปนีว้ า่ “ใช่” ไดอ้ ยา่ งม่ันใจ ปรัชญาท่ี 1. ในบรษิ ัทของคุณ การสร้างสรรคค์ อื นวัตกรรมของทุกคน ปรชั ญาท่ี 2. นวตั กรรมพลกิ โลกเปน็ สว่ นหนงึ่ ในแฟม้ ผลงานนวัตกรรม ของคุณหรือไม่ ปรัชญาท่ี 3. ทมี งานขนาดเล็กคอื หวั ใจสาคัญในการนาไอเดยี สร้างสรรคอ์ อกสู่ตลาดหรือไม่ ปรัชญาที่ 4. บรษิ ัทของคณุ ยอมรับความเสี่ยงอย่างฉลาดในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมหรือไม่

สรุป วิธีท่ีคุณจะสามารถพัฒนาทักษะการค้นพบ ได้แก่ การเชื่อมโยง ความคิด การต้ังคาถาม สังเกต ปฏิสัมพันธ์ และทดลองด้วยตัวของคุณ เอง หาครูฝึกหรือโค้ช ผู้ท่ีจะช่วยคุณพัฒนารูปแบบพฤติกรรมใหม่ การ เปลี่ยนแปลงตัวเองเป็นส่ิงที่ยาก ดังน้ันการขอให้คนท่ีคุณนับถือมาช่วย จึงนับเป็นกา้ วสาคัญ ไม่ว่าคุณจะเลือกใครก็ตาม ขอใหแ้ น่ใจว่าคนผ้นู ้ัน จะให้ความเห็นและคาแนะนากับคุณอย่างตรงไปตรงมา ครูหรือโค้ช สร้างความแตกต่างในการชว่ ยพฒั นาทกั ษะในการสร้างสรรค์ของคุณได้ อย่างมากทีเดยี ว บรรณานกุ รม ไดเยอร์,เจฟฟ์และคณะ.(2556).นวตั กรพลิกโลก. สานกั พมิ พป์ ราณ.นนทบรุ ี

การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ใหม่

Assumption Busting “Your assumptions are your blind spots, or lines you've drawn in the sand.”

Objective – คิดพฒั นาแนวคิดใหม่ สาหรับ salad dressing

Assumption Busting: Example Objective – คดิ พฒั นาแนวคิดใหมส่ าหรับ salad dressing Immediate assumptions, based on knowledge and experience: Goes on lettuce and vegetables. Liquid. In a bottle. Keep in refrigerator. Eat from a bowl or plate. Eat with a fork. Assumption Busting: What if that’s not true? ถ้ามนั ไม่เป็นแบบนี้ล่ะ................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook