Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore less3

less3

Published by kanokkhwuon, 2017-03-31 01:16:02

Description: less3

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ ระบบเครือข่าย และเทคโนโลยี LANประเภทของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ตามระยะการเช่ือมต่อในโลกยคุ ปัจจบุ ัน ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ มคี วามสาํ คัญเป็นอยา่ งยง่ิ ได้กลายเปน็ ส่วนหนึง่ ของการพัฒนาระบบภายในองค์กร บรษิ ทั หรอื หนว่ ยงาน และสถาบนั การศึกษา ซงึ่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรก์ ็หมายถงึ การนาํ เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครือ่ งขนึ้ ไป มาทําการเชือ่ มต่อกนั เปน็ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทดงั น้ี คอื1. ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรร์ ะยะใกล้ (Local Area Network หรือ LAN )เป็นระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถิ่น มขี นาดเลก็ ครอบคมุ พ้ืนทีจ่ าํ กัด เช่ือมโยงกันในรศั มใี กล้ ๆ ในเขตพื้นทเี่ ดยี วกัน เชน่ ในอาคารเดยี วกนั ห้องเดียวกนั ภายในตึกเดียวกนั หรือหลาย ๆ ตึกใกล้ ๆ กัน เปน็ต้น โดยไม่ตอ้ งเชื่อมการติดต่อกับองค์การโทรศพั ทห์ รือการสื่อสารแหง่ ประเทศไทย ระบบแลนมีประโยชนต์ รงท่ีสามารถทําให้เคร่อื งคอมพิวเตอรห์ ลาย ๆ เครื่องทเี่ ชือ่ มตอ่ กนั สามารถสง่ ข้อมูลแลกเปลยี่ นกนั ได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ และยังสามารถใชท้ รัพยากรร่วมกนั ได้อีกด้วยเทคโนโลยีของระบบเครอื ข่าย Lan มหี ลายรูปแบบ อย่างเชน่ แลนแบบ Ethernet , Fast Ethernet, Token Ring เปน็ ต้น แต่เทคโนโลยีท่ีได้รบั ความนิยมมากที่สุดในปัจจบุ ันก็คอื Ethernet และ FastEthernet ระบบเครอื ข่ายโดยท่ัวไปที่ใช้กนั อยูน่ ้ี จะเปน็ การนาํ เครอื ขา่ ยระบบแลนมาประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั ระบบงานของตน2. ระบบเครอื ขา่ ยเนต็ เวิรก์ ระยะกลาง (Metropolitan Area Network หรอื MAN)เปน็ ระบบเครอื ข่ายระดบั เมือง คือมีการเชอ่ื มโยงกันในพน้ื ท่ี ท่ีกว้างไกลกวา่ ระบบ LAN คอื อาจจะเชือ่ มโยงกนั ภายในจังหวัด โดยจะตอ้ งมกี ารใช้ระบบเครือข่ายขององค์การโทรศพั ทห์ รอื องค์การสอื่ สารแหง่ ประเทศไทย3. ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network หรอื WAN)เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยระดับไกล คือจะเป็นเครอื ข่ายทเี่ ช่อื มต่อคอมพิวเตอร์หรืออปุ กรณ์ ท่ีอยู่หา่ งไกลกันเขา้ ดว้ ยกัน อาจจะตอ้ งเป็นการติดตอ่ สอ่ื สารกนั ในระดับประเทศ ขา้ มทวีปหรือท่วั โลกกไ็ ด้ ในการเชอื่ มการติดต่อกันนน้ั จะต้องมกี ารต่อเขา้ กับระบบส่ือสารขององค์การโทรศพั ท์ หรือการสือ่ สารแหง่ ประเทศไทยเสยี ก่อน เพราะจะเป็นการสง่ ข้อมลู ผา่ นทางสายโทรศพั ทใ์ นการติดตอ่ ส่ือสารกันสถาปตั ยกรรมเครอื ขา่ ยรปู แบบ OSIในปี ค.ศ.1977 องคก์ ร ISO (International Organization for Standard) ไดจ้ ดั ตั้งคณะกรรมการข้นึ กลุม่ หนงึ่ เพอื่ ทําการศกึ ษาจดั รปู แบบมาตรฐาน และพฒั นาสถาปัตยกรรมเครอื ข่าย และในปี ค.ศ.

1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรปู แบบของสถาปัตยกรรมเครอื ข่ายมาตรฐานในช่อื ของ \"รูปแบบOSI\" (Open Systems Interconnection Model) เพอ่ื ใช้เปน็ รูปแบบมาตรฐานในการเชื่อมตอ่ระบบคอมพิวเตอร์ อักษร \"O\" หรอื \" Open\" กห็ มายถึง การทค่ี อมพิวเตอรห์ รือระบบคอมพิวเตอร์หน่งึ สามารถ \"เปิด\" กวา้ งให้ คอมพวิ เตอร์หรอื ระบบคอมพวิ เตอรอ์ ่ืนท่ีใช้มาตรฐาน OSI เหมอื นกันสามารถตดิ ต่อไปมาหาสูร่ ะหวา่ งกันได้จุดมงุ่ หมายของการกําหนดมาตรฐานรูปแบบ OSIขน้ึ มานนั้ ก็เพือ่ เป็นการกาํ หนดการแบ่งโครงสร้างของสถาปตั ยกรรมเครอื ข่ายออกเปน็ เลเยอร์ ๆ และกาํ หนดหนา้ ทกี่ ารทํางานในแต่ ละ เลเยอร์ รวมถึงกําหนดรูปแบบการอนิ เตอร์เฟซระหวา่ งเลเยอร์ด้วยโดยมีหลกั เกณฑ์ในการกําหนดดังตอ่ ไปนี้ 1. ไม่แบ่งโครงสรา้ งออกเป็นเลเยอร์ ๆ มากจนเกินไป 2. แต่ละเลเยอรจ์ ะตอ้ งมีหนา้ ทก่ี ารทาํ งานแตกต่างกนั ทัง้ ขบวนการและเทคโนโลยี 3. จดั กลุ่มหน้าทกี่ ารทํางานทคี่ ล้ายกันให้อย่ใู นเลเยอร์เดียวกัน 4. เลือกเฉพาะการทํางานทีเ่ คยใชไ้ ดผ้ ลประสบความสําเรจ็ มาแล้ว 5. กําหนดหน้าที่การทาํ งานเฉพาะง่าย ๆ แกเ่ ลเยอร์ เผ่อื วา่ ต่อไป ถา้ มกี าร ออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการเปลีย่ นแปลงโปรโตคอลใหมใ่ นอันที่จะทําให้ สถาปตั ยกรรมมีประสทิ ธิภาพดียิง่ ขน้ึ จะไมม่ ีผลทาํ ใหอ้ ุปกรณฮ์ าร์ดแวร์ และ ซอฟตแ์ วรท์ ี่เคยใชไ้ ด้ผลอยู่เดมิ จะตอ้ งเปล่ยี นแปลงตาม 6. กําหนดอินเตอรเ์ ฟซมาตรฐาน 7. ให้มคี วามยืดหยุ่นในการเปลยี่ นแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์ 8. สาํ หรับเลเยอรย์ ่อยของแตล่ ะเลเยอร์ใหใ้ ช้หลักเกณฑเ์ ดียวกันกับท่ีกลา่ วมา ใน 7 ข้อแรกโครงสรา้ งของสถาปตั ยกรรมรปู แบบ OSIสามารถการแบ่งออกเปน็ 7 เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอรไ์ ดม้ ีการกาํ หนดหนา้ ทกี่ ารทาํ งานไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี1.เลเยอรช์ น้ั Physical เปน็ ชั้นลา่ งสุดของการติดต่อส่อื สาร ทําหนา้ ท่สี ง่ -รับขอ้ มูลจริง ๆ จากช่องทางการส่อื สาร (สอื่ กลาง) ระหว่างคอมพวิ เตอร์เครือ่ งหนึ่งกบั คอมพิวเตอร์เคร่อื งอืน่ ๆ มาตรฐานสําหรับเลเยอรช์ ้ันนจ้ี ะกาํ หนดวา่ แตล่ ะ คอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มกี พ่ี ิน (PIN)แตล่ ะพินทําหนา้ ท่อี ะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกีโ่ วลต์ เทคนคิ การมลั ตเิ พล็กซ์แบบตา่ ง ๆ กจ็ ะถูกกําหนดอยูใ่ นเลเยอร์ชัน้ นี้

2. เลเยอร์ชน้ั Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรอื ควบคุมความผดิ พลาด ในขอ้ มลู โดยจะแบ่งขอ้ มลู ที่จะส่งออก เป็นแพก็ เกจหรือเฟรม ถ้าผูร้ ับไดร้ ับข้อมูลถกู ต้องก็จะส่งสญั ญาณยนื ยนั กลับวา่ไดร้ บั ข้อมลู แลว้ เรียกวา่ สัญญาณ ACK (Acknowledge) ใหก้ ับผสู้ ่ง แตถ่ ้าผูส้ ง่ ไม่ไดร้ ับสญั ญาณ ACKหรือได้รับสัญญาณ NAK (Negative Acknowledge) กลับมา ผู้ส่งกอ็ าจจะทําการสง่ ขอ้ มูลไปใหใ้ หม่อกี หนา้ ท่หี นง่ึ ของเลเยอรช์ ้ันนค้ี ือ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เครือ่ งส่งทาํ การส่งข้อมูลเร็วจนเกิดขีดความสามารถจนเเคร่ืองผู้รบั จะรบั ข้อมูลได้3. เลเยอรช์ ้นั Network เปน็ ชนั้ ที่ออกแบบหรอื กาํ หนดเส้นทางการเดนิ ทางของข้อมูลท่สี ง่ -รับในการส่งผ่าน ขอ้ มูลระหว่างต้นทางและปลายทาง ซงึ่ แนน่ อนวา่ ในการสอ่ื สารข้อมูลผา่ นเครอื ขา่ ยการสือ่ สารจะต้องเสน้ ทางการรับ-ส่งขอ้ มลู มากกวา่ 1 เส้นทาง ดงั นั้นเลเยอร์ช้ัน Network นีจ้ ะมหี นา้ ที่เลือกเส้นทางทใี่ ชเ้ วลาในการส่อื สารนอ้ ยท่ีสดุ และระยะทางสนั้ ท่สี ดุ ดว้ ย ข่าวสารท่ีรับมาจากเลเยอร์ชั้นท่ี 4 จะถูกแบ่งออกเปน็ แพก็ เกจ ๆ ในชน้ั ที่ 3 นี้4. เลเยอร์ชั้น Transport บางครง้ั เรยี กว่า เลเยอร์ชน้ั Host-to-Host หรือเครือ่ งต่อเครื่อง และจากเลเยอร์ช้นั ท่ี 4 ถงึ ชนั้ ท่ี 7 นีร้ วมกนั จะเรียกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอรช์ ้ัน Transport นี้เปน็ การสือ่ สารกนั ระหว่างต้นทางและปลายทาง (คอมพวิ เตอร์กับคอมพวิ เตอร)์ กนั จรงิ ๆ เลเยอรช์ ัน้Transport จะทาํ หน้าท่ีตรวจสอบวา่ ข้อมูลทสี่ ง่ มาจากเลเยอรช์ น้ั Session นัน้ ไปถงึ ปลายทางจริง ๆหรือไม่ ดังน้นั การกําหนดตําแหนง่ ของขอ้ มลู (Address) จงึ เป็นเรื่องสาํ คัญในชั้นน้ี เนอ่ื งจากจะต้องรบั รวู้ า่ ใครคอื ผู้ส่ง และใครคอื ผ้รู ับข้อมูลนน้ั

5. เลเยอรช์ น้ั Session ทําหนา้ ที่เช่อื มโยงระหวา่ งผใู้ ช้งานกบั คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอน่ื ๆ โดยผู้ใชจ้ ะใช้คําสง่ั หรือข้อความที่กาํ หนดไว้ป้อนเขา้ ไปในระบบ ในการสรา้ งการเช่อื มโยงน้ี ผู้ใชจ้ ะต้องกําหนดรหสัตาํ แหนง่ ของจุดหมายปลายทาง ทต่ี ้องการติดตอ่ สื่อสารด้วย เลเยอร์ช้นั Session จะส่งขอ้ มลู ทง้ั หมดให้กบั เลเยอรช์ ้นั Transport เปน็ ผู้จดั การตอ่ ไป ในบางเครอื ข่ายทั้งเลเยอร์ Session และเลเยอร์Transport อาจจะเปน็ เลเยอรช์ ้นั เดียวกัน6. เลเยอร์ช้นั Presentation ทําหน้าท่เี หมอื นบรรณารักษ์ กล่าวคอื คอยรวบรวมขอ้ ความ (Text)และแปลงรหสั หรือแปลงรูปของข้อมลู ใหเ้ ปน็ รปู แบบการส่อื สารเดียวกนั เพ่ือช่วยลดปญั หาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขนึ้ กบั ผ้ใู ช้งานในระบบ7. เลเยอรช์ นั้ Application เป็นเลเยอร์ช้ันบนสดุ ของรปู แบบ OSI ซ่งึ เป็นชน้ั ทใี่ ช้ตดิ ต่อกันระหวา่ งผูใ้ ชโ้ ดยตรง ซง่ึ ได้แก่ โฮสตค์ อมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรอื คอมพิวเตอร์ PC เปน็ ต้น แอปพลิเคชนั ในเลเยอร์ช้นั นสี้ ารมารถนําเขา้ หรือออกจากระบบเครือขา่ ยได้โดยไมจ่ าํ เป็นตอ้ งสนใจวา่ จะมขี ้ันตอนการทํางานอยา่ งไร เพราะจะมเี ลเยอร์ชน้ั Presentation เป็นผู้รับผิดชอบแทนอยู่แลว้ ในรปู แบบ OSI เลเยอร์นน้ั Application จะทําการติดต่อกบั เลเยอรช์ ัน้ Presentation โดยตรงเท่านน้ัโปรโตคอลของในแตล่ ะชัน้ จะแตกต่างกนั ออกไป แต่อยา่ งไรก็ตามการท่ีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หลาย ๆเคร่อื งจะตดิ ต่อสื่อสารกนั ได้ ในแต่ละเลเยอรข์ องแต่ละเคร่อื งจะตอ้ งใช้โปรโตคอลแบบเดยี วกนั หรอืถ้าใช้โปรโตคอลตา่ งกันก็ตอ้ งมอี ุปกรณ์ หรอื ซอฟรแ์ วรท์ ีส่ ามารถแปลงโปรโตคอลท่ตี ่างกนั นัน้ ให้มีรูปแบบเป็นอย่างเดยี วกัน เพื่อเช่อื มโยงให้คอมพวิ เตอรท์ ้งั 2 เคร่อื งสามารถติดต่อกนั ได้รปู แบบของการเชื่อมโยงเครือข่าย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)

โทโปโลยคี ือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครอื ข่าย ซ่งึ หมายถึง ลกั ษณะของการเช่ือมโยงสายสอ่ื สารเข้ากบั อปุ กรณ์ อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ภายในเครอื ข่ายดว้ ยกันนนั่ เอง โทโปโลยขี องเครอื ขา่ ย LAN แต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใชง้ าน แตกต่างกันออกไปการนาํ ไปใช้จึงมีความจําเปน็ ทเ่ี ราจะต้องทาํ การศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ข้อดแี ละขอ้ เสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพอ่ื นําไปใชใ้ นการออกแบบพิจารณาเครือข่าย ให้เหมาะสมกบั การใชง้ าน รปู แบบของโทโปโลยี ของเครอื ข่ายหลัก ๆ มดี ังตอ่ ไปนี้1.โทโปโลยีแบบบสั (BUS)เปน็ รปู แบบที่ เครื่องคอมพวิ เตอร์จะถูกเชือ่ มต่อกนั โดยผา่ ยสายสญั ญาณแกนหลัก ทเี่ รยี กว่า BUSหรอื แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรบั สง่ สญั ญาณข้อมูลหลัก ใชเ้ ป็นทางเดนิ ขอ้ มลู ของทกุ เครอ่ื งภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกยอ่ ยออกไปในแต่ละจดุ เพอื่ เชื่อมตอ่ เขา้ กบั คอมพวิ เตอร์เคร่อื งอน่ื ๆ ซงึ่ เรียกวา่ โหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผสู้ ง่ จะถูกส่งเข้าส่สู ายบสั ในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแตล่ ะแพก็ เกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผ้สู ่ง, ผรู้ ับ และขอ้ มูลทีจ่ ะส่ง การสื่อสารภายในสายบสั จะเป็นแบบ 2 ทศิ ทางแยกไปยงั ปลายทั้ง 2 ดา้ นของ บัส โดยตรงปลายท้ัง 2 ดา้ นของบสั จะมเี ทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทําหน้าท่ีลบลา้ งสญั ญาณทส่ี ่งมาถึง เพอ่ื ป้องกันไม่ให้สญั ญาณข้อมูลน้ันสะทอ้ นกลบั เขา้ มายงั บัสอีก เพ่อื เป็นการป้องกนั การชนกันของข้อมลู อ่นื ๆ ทเ่ี ดินทางอยู่บนบสั ในขณะน้ัน

สัญญาณขอ้ มูลจากโหนดผ้สู ่งเมือ่ เข้าสู่บสั ขอ้ มลู จะไหลผ่านไปยงั ปลายทง้ั 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดท่เี ชือ่ มตอ่ เข้ากบั บสั จะคอยตรวจดูวา่ ตาํ แหน่งปลายทางทม่ี ากบั แพ็กเกจขอ้ มูลนนั้ ตรงกับตาํ แหนง่ของตนหรือไม่ ถา้ ตรง ก็จะรบั ข้อมลู น้ันเขา้ มาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สญั ญาณข้อมลู นน้ัผา่ นไป จะเหน็ ว่าทุก ๆ โหนดภายในเครอื ข่ายแบบ BUS น้นั สามารถรับรสู้ ัญญาณข้อมูลได้ แตจ่ ะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดยี วเทา่ น้ันท่จี ะรบั ข้อมลู นัน้ ไปได้ขอ้ ดี - ไมต่ ้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสยี ค่าใช้จา่ ยนอ้ ย ซงึ่ ถือว่าระบบบัสนเ้ี ป็นแบบโทโปโลยีที่ไดร้ ับความนยิ มใชก้ ันมากทส่ี ุดมา ตัง้ แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ นั เหตุผลอยา่ งหนง่ึ กค็ ือสามารถติดตัง้ ระบบ ดแู ลรกั ษา และติดตั้งอุปกรณ์เพ่มิ เติมไดง้ ่าย ไม่ตอ้ งใชเ้ ทคนคิ ท่ียงุ่ ยากซบั ซ้อนมากนกัข้อเสีย - อาจเกิดข้อผดิ พลาดง่าย เนื่องจากทุกเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ตอ่ ยู่บนสายสัญญาณเพยี งเสน้ เดียวดงั นัน้ หากมี สญั ญาณขาดท่ีตาํ แหน่งใดตาํ แหน่งหนง่ึ กจ็ ะทําให้เครือ่ งบางเคร่ือง หรือทง้ั หมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย - การตรวจหาโหนดเสีย ทาํ ได้ยาก เนือ่ งจากขณะใดขณะหน่งึ จะมีคอมพวิ เตอร์เพียงเครื่องเดียวเทา่ นน้ั ท่สี ามารถส่งขอ้ ความ ออกมาบนสายสญั ญาณ ดังน้ันถ้ามีเครื่องคอมพวิ เตอรจ์ ํานวนมากๆอาจทาํ ใหเ้ กิดการคับค่ังของเนต็ เวิรค์ ซ่ึงจะทําให้ระบบช้าลงได้2.โทโปโลยแี บบวงแหวน (RING)เป็นรูปแบบที่ เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ุกเครือ่ งในระบบเครอื ข่าย ทง้ั เคร่อื งทเ่ี ปน็ ผู้ให้บริการ( Server)และ เคร่ืองที่เปน็ ผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครอื่ งถูกเชอื่ มตอ่ กนั เปน็ วงกลม ข้อมูลขา่ วสารทีส่ ง่ระหวา่ งกัน จะไหลวนอยูใ่ นเครือข่ายไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั โดยไมม่ จี ุดปลายหรือเทอรม์ ิเนเตอร์

เช่นเดียวกับเครอื ขา่ ยแบบ BUS ในแตล่ ะโหนดหรอื แตล่ ะเครอ่ื ง จะมรี ีพตี เตอร์ (Repeater) ประจําแตล่ ะเครอ่ื ง 1 ตัว ซ่ึงจะทาํ หนา้ ทเี่ พิ่มเตมิ ข้อมูลท่ีจําเปน็ ต่อการตดิ ต่อสอ่ื สารเขา้ ในสว่ นหวั ของแพก็ เกจทสี่ ง่ และตรวจสอบข้อมลู จากสว่ นหวั ของ Packet ที่สง่ มาถงึ ว่าเปน็ ขอ้ มูลของตนหรอื ไม่ แต่ถา้ ไม่ใชก่ ็จะปลอ่ ยข้อมลู นั้นไปยงั Repeater ของเครื่องถัดไปขอ้ ดี - ผสู้ ง่ สามารถส่งขอ้ มูลไปยังผ้รู ับได้หลาย ๆ เครอื่ งพรอ้ ม ๆ กัน โดยกาํ หนดตําแหนง่ ปลายทางเหล่านั้นลงในสว่ นหวั ของแพ็กเกจขอ้ มูล Repeaterของแตล่ ะเครอื่ งจะทาํ การตรวจสอบเองว่า ข้อมูลท่สี ่งมาให้น้นั เปน็ ตนเองหรอื ไม่ - การสง่ ผ่านข้อมลู ในเครือขา่ ยแบบ RING จะเปน็ ไปในทิศทางเดียวจากเครอื่ งสูเ่ ครือ่ ง จึงไมม่ ีการชนกันของสัญญาณ ข้อมลู ทส่ี ง่ ออกไป - คอมพวิ เตอรท์ กุ เครื่องในเน็ตเวริ ก์ มโี อกาสทจ่ี ะส่งขอ้ มูลได้อย่างทัดเทียมกันข้อเสีย - ถ้ามีเครอ่ื งใดเครือ่ งหน่ึงในเครอื ข่ายเสยี หาย ข้อมูลจะไมส่ ามารถสง่ ผ่านไปยังเครือ่ งต่อ ๆ ไปได้และจะทาํ ให้เครือข่ายท้งั เครอื ขา่ ย หยดุ ชะงักได้ - ขณะทข่ี อ้ มูลถกู ส่งผา่ นแต่ละเคร่ือง เวลาส่วนหนึง่ จะสูญเสียไปกบั การท่ีทุก ๆ Repeaterจะต้องทาํ การตรวจสอบตาํ แหนง่ ปลายทางของข้อมลู น้ัน ๆ ทุก ข้อมลู ทสี่ ง่ ผา่ นมาถึง3.โทโปโลยแี บบดาว (STAR)เป็นรปู แบบที่ เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ุกเคร่ืองท่เี ชอ่ื มต่อเขา้ ด้วยกนั ในเครือข่าย จะตอ้ งเชือ่ มตอ่ กับอุปกรณ์ตัวกลางตวั หน่ึงทเี่ รียกวา่ ฮบั (HUB) หรือเครื่อง ๆ หน่งึ ซงึ่ ทําหนา้ ทเี่ ปน็ ศนู ย์กลางของการเช่อื มต่อสายสัญญาญท่มี าจากเคร่อื งตา่ ง ๆ ในเครือขา่ ย และควบคุมเสน้ ทางการสอื่ สาร ท้งั หมด เมื่อ

มเี ครื่องทต่ี ้องการสง่ ขอ้ มลู ไปยังเครื่องอ่นื ๆ ทต่ี อ้ งการในเครอื ข่าย เครอื่ งนัน้ ก็จะตอ้ งส่งขอ้ มูลมายังHUB หรือเครื่องศูนย์กลางกอ่ น แลว้ HUB ก็จะทาํ หน้าท่ีกระจายข้อมลู นน้ั ไปในเครือข่ายตอ่ ไปข้อดี - การตดิ ตงั้ เครือขา่ ยและการดแู ลรกั ษาทํา ไดง้ า่ ย หากมีเคร่อื งใดเกิดความเสียหาย กส็ ามารถตรวจสอบไดง้ ่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเคร่อื งท่เี สียหายนน้ั ออกจากการสอ่ื สาร ในเครอื ขา่ ยได้เลย โดยไม่มผี ลกระทบกบั ระบบเครอื ข่ายขอ้ เสยี - เสยี คา่ ใชจ้ ่ายมาก ท้งั ในด้านของเคร่ืองทีจ่ ะใชเ้ ป็น เคร่ืองศนู ยก์ ลาง หรือตัว HUB เอง และคา่ ใช้จ่ายในการตดิ ตัง้ สายเคเบลิ ในเครือ่ งอื่น ๆ ทุกเคร่ือง การขยายระบบใหใ้ หญข่ ึ้นทาํ ไดย้ าก เพราะการขยายแตล่ ะครง้ั จะตอ้ งเกย่ี วเนือ่ งกบั เคร่ืองอน่ื ๆ ทงั้ ระบบ4.โทโปโลยีแบบ Hybridเป็นรปู แบบใหม่ ทเ่ี กิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยแี บบ STAR , BUS , RING เขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ืเปน็ การลดข้อเสยี ของรูปแบบทีก่ ล่าวมา และเพ่มิ ข้อดี ข้นึ มา มกั จะนํามาใช้กบั ระบบ WAN (WideArea Network) มาก ซ่งึ การเช่อื มต่อกนั ของแต่ละรูปแบบนั้น ตอ้ งใช้ตัวเชื่อมสญั ญาญเขา้ มาเปน็ตวั เช่ือม ตัวนั้นกค็ ือ Router เปน็ ตัวเชื่อมการติดตอ่ กัน5.โทโปโลยแี บบ MESHเป็นรูปแบบทีถ่ ือว่า สามารถป้องกันการผดิ พลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนกบั ระบบไดด้ ีท่สี ุด เป็นรูปแบบท่ใี ช้วิธีการเดนิ สายของแต่เคร่ือง ไปเชือ่ มการติดตอ่ กบั ทุกเครื่องในระบบเครอื ขา่ ย คือเคร่อื งทุกเครื่องในระบบเครือขา่ ยน้ี ต้องมีสายไปเชื่อมกบั ทุก ๆ เคร่ือง ระบบน้ยี ากต่อการเดินสายและมรี าคาแพง จึงมีค่อยมผี ูน้ ยิ มมากนัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook