Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย-1-การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วย-1-การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

Published by มัทนะ ธิหล้า, 2019-08-05 12:00:32

Description: หน่วย-1-การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

Search

Read the Text Version

ชดุ การเรียน หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี หนว่ ยที่ ๑ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ชุดการเรียนโดยใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาไทยระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ในการศึกษาเรียนรู้รายวิชา ๓๐๐๐-๑๑๐๑ ภาษาไทยเพื่อส่ือสารในงาน อาชพี หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สงู พุทธศักราช ๒๕๕๗ และรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะ ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓-๐-๓ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยมี จุดประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วเกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ หลักการใช้ภาษาไทย สามารถนาภาษาไทยไปใช้เป็นเคร่ืองมือสื่อสารในงานอาชีพ โดยชุดการเรียนน้ี ประกอบด้วย ๗ หน่วยการเรียน และแต่ละหน่วยประกอบด้วยแบบประเมินตนเองก่อนและหลังเรียน แผนการเรียนประจาหน่วย เน้ือหาสาระและกิจกรรม ซึ่งผู้เรียนอาชีวศึกษาทั้งในระบบปกติและระบบ ทวิภาคีสามารถศึกษาเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติและทบทวนความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ตลอดจนสามารถดาวนโ์ หลด (Download) ชุดการเรียน น้ีเพ่ือศึกษาเรียนรู้ในระบบออฟไลน์ (Offline) ได้ด้วย นอกจากนี้ ครูผู้สอนรายวิชาดังกล่าวยังสามารถ นาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษาได้ เปน็ การสนองตอบนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ และการ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ แก่ผู้เรียนอาชีวศึกษาด้วย ทั้งน้ี ชุดการเรียนนี้จะนาไปใช้ใน สถานศึกษานาร่อง ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ เพื่อพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึนและขยายผลแก่สถานศึกษา อาชวี ศึกษาทุกแหง่ ตอ่ ไป สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขอขอบคณุ ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี ศูนยส์ ่งเสริมและ พัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอน คณะกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ท่าน ที่มีส่วนช่วยให้การดาเนินการจัดทาชุดการเรียนโดยใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะการสื่อสาร ภาษาไทยครั้งน้ีบรรลุผลสาเร็จตามท่ีมุ่งหวัง และหวังว่าผู้เรียนจะได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ พฒั นาตนเองและประยกุ ต์ใชใ้ นงานอาชพี ได้เปน็ อยา่ งดี ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคี พฤษภาคม ๒๕๖๒

สารบญั ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี หน้า รายละเอยี ดรายวิชา (ก) วิธีการศึกษา (ข) • ขนั้ ตอนการเรียนชุดการเรยี น (จ) • ขั้นตอนการเรยี นระดับหนว่ ย (ฉ) หน่วยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยในการส่ือสารอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๑ • แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรียน หน่วยที่ ๑ ๑ • แผนการเรียน หนว่ ยท่ี ๑ การใช้ภาษาไทยในการสอ่ื สารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒ - แผนการเรียน มอดูลที่ ๑.๑ การใชค้ าในการสอ่ื สารใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ๔ - แผนการเรยี น มอดลู ที่ ๑.๒ การใชส้ านวนโวหารในการส่อื สารให้เกิดประสทิ ธิภาพ ๒๔ • แบบประเมนิ ตนเองหลังเรียน หน่วยท่ี ๑ ๓๖ • ภาคผนวก ๓๗ • เฉลยแบบฝกึ หดั ๓๙

รายละเอยี ดรายวชิ า ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๓-๐-๓ (Occupational Thai Language Skills) จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้ ๑. เข้าใจหลกั การใช้ภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๒. สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่าสารและใช้ภาษาไทยเปน็ เคร่ืองมอื สอ่ื สารใน วชิ าชพี ตามหลักภาษา เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคลและสถานการณ์ ๓. เหน็ คุณค่าและความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยในวชิ าชีพอยา่ งมจี รรยาบรรณ สมรรถนะรายวชิ า ๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์และการประเมินคา่ สารภาษาไทยเชิงวิชาชีพอย่างมีจรรยาบรรณ ๒. วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารท่ีได้จากการฟัง การดูและการอ่านส่ือประเภท ต่าง ๆ ๓. พดู นาเสนอขอ้ มูลเพือ่ สือ่ สารในงานอาชพี และในโอกาสตา่ ง ๆ ตามหลักภาษา กาลเทศะ บคุ คลและสถานการณ์ ๔. เขียนเพ่ือติดต่อกิจธุระ บันทึกข้อมูลและรายงานการปฏิบตั ิงานเชิงวชิ าชพี ตามหลักการ ใช้ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียนภาษาไทย การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารในงานอาชีพจากส่ือประเภทต่าง ๆ การพูด นาเสนอข้อมูลเพื่อส่ือสารในงานอาชีพและในโอกาสต่าง ๆ การเขียนเพ่ือกิจธุระ การจดบันทึก ขอ้ มลู และเขยี นรายงานการปฏบิ ตั ิงานเชงิ วิชาชีพ และจรรยาบรรณในการใชภ้ าษาไทยเชิงวชิ าชีพ (ก)

วธิ กี ารศกึ ษา ชดุ การเรยี น ปวส. ๒๕๖๒ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ในการศึกษาชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ผู้เรยี นจะต้องทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ๑. โครงสรา้ งเน้อื หาสาระ ๒. โครงสรา้ งสื่อการเรียนรู้ ๓. วิธกี ารเรียน โครงสร้างเนือ้ หาสาระ ชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพได้แบ่ง โครงสรา้ งเน้ือหาสาระ ดงั น้ี หนว่ ยท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในการสอื่ สารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ หน่วยท่ี ๒ การวเิ คราะห์สารจาการฟงั การดู การอา่ น หนว่ ยท่ี ๓ การพดู ในงานอาชีพ หนว่ ยที่ ๔ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม หนว่ ยท่ี ๕ การเขยี นเพ่ือตดิ ตอ่ ธรุ ะ หน่วยท่ี ๖ การเขียนในงานอาชพี หนว่ ยท่ี ๗ การเขยี นรายงานการวจิ ยั โครงสร้างสอ่ื การเรยี นรู้ ชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ประกอบด้วย ส่ือ ๒ ประเภท คือ (๑) สือ่ ส่งิ พิมพ์ ได้แก่ แผนการเรยี นและใบกิจกรรม และ (๒) ส่ือออนไลน์ วิธีการเรยี น เพ่ือให้การเรียนในชุดการเรียนรายวิชาน้ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผล ตามจดุ ประสงค์รายวิชาและสมรรถนะรายวชิ า ผเู้ รยี นควรดาเนินการตามข้ันตอน ดงั น้ี ๑. เตรียมตัวเพื่อการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องจัดตัวเองให้อยู่ในสภาพการณ์ ที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ ๔ ประการ คือ ๑.๑ มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างกระฉับกระเฉง โดยการคิด เขียนและ ทากิจกรรมการเรียนรู้ทก่ี าหนดอย่างสม่าเสมอตลอดเวลา ๑.๒ ติดตาม ตรวจสอบผลการเรยี นรูห้ ลงั ทากิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมจากแนวการ ตอบหรอื เฉลย ๑.๓ ซือ่ สตั ย์ต่อตนเอง โดยไม่ดูแนวการตอบหรอื เฉลยกอ่ น (ข)

๑.๔ ศึกษาเรยี นรู้ไปตามลาดับขน้ั ตอน เพ่อื ให้ไดค้ วามรู้ครบถว้ นตามท่กี าหนด ๒. ประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ๒.๑ ก่อนท่ีจะเรียนหน่วยการเรียนใด ผู้เรียนควรจะตรวจสอบความรู้ด้วยการ ประเมินผลตนเองก่อนเรียนจากแบบประเมินของหน่วยนั้น ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวม คะแนนไว้ หากทาไดค้ ะแนนเกนิ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ผเู้ รยี นอาจจะไม่ต้องศกึ ษาหน่วยนั้น ๒.๒ เม่ือศึกษาหน่วยนนั้ เสร็จแล้ว ขอให้ผู้เรียนประเมินผลตนเองหลังเรียน โดย ทาแบบประเมินทก่ี าหนดไวต้ อนท้าย ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวมคะแนนไว้ หากทาได้ต่ากว่า รอ้ ยละ ๘๕ ผ้เู รยี นควรศกึ ษาทบทวนหนว่ ยนั้นแล้วประเมินซา้ อกี จนกว่าจะได้คะแนนเพม่ิ ข้ึนตาม เกณฑท์ ก่ี าหนด ๓. ศึกษาเอกสารชดุ การเรียนและส่ือท่ีกาหนด โดย ๓.๑ ศกึ ษารายละเอยี ดชุดวิชา ๓.๒ ศึกษาแผนหนว่ ยการเรยี นทุกหนว่ ย ๓.๓ ศกึ ษารายละเอียดของแต่ละหนว่ ยการเรียน ดงั นี้ ๓.๓.๑ แผนการเรียนประจาหน่วย ๓.๓.๒ แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน ๓.๓.๓ แนวคดิ ๓.๓.๔ เนอื้ หาสาระในแตล่ ะหน่วย และแต่ละมอดูล ๓.๓.๕ กจิ กรรมและแนวการปฏบิ ตั หิ รอื แนวการตอบ ๓.๓.๗ แบบประเมินตนเองหลงั เรียน ๔. ทากจิ กรรมตามทีก่ าหนดในหน่วยการเรยี น “กิจกรรม” เป็นส่วนที่ผู้เรียนจะต้องบันทึกสาระสาคัญและทากิจกรรมทุกอย่าง ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ใหเ้ ขียนกิจกรรมลงในแบบฝึกปฏบิ ัติที่กาหนด บางกจิ กรรมอาจให้ผู้เรียน ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและเขียนรายงาน ขอให้ผู้เรียนจัดทาและจัดส่งครูผู้สอนหรือครูเจ้าของ วิชาตามวนั เวลาและสถานทท่ี ก่ี าหนด (ค)

๕. การศึกษาสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ บางหน่วยการเรียน อาจกาหนดให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อท่ีกาหนดหรือ ศึกษาส่ือควบคู่ไปกับการอ่านเอกสารชุดการเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ ขอให้ผู้เรียนศึกษา รายละเอียดตา่ ง ๆ ตามทกี่ าหนด และจดบนั ทึกสาระสาคัญของสิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้ไว้ในกจิ กรรมปฏิบัติ ด้วย ๖. การเข้ารับการสอนเสรมิ หรือรบั บรกิ าร ณ สถานศกึ ษา ผู้เรียนต้องนาบัตรประจาตัวนักศึกษาและบัตรลงทะเบียนเรียนรายวิชาไปแสดง ดว้ ย และเมอ่ื เขา้ รับการสอนเสรมิ รับฟังและรบั ชมส่อื ต่าง ๆ ใหบ้ ันทกึ รายละเอยี ดการเขา้ รับการ สอนเสรมิ หรือรบั บริการในแบบฝกึ ปฏบิ ัตติ อนทา้ ยหน่วยดว้ ย ๗. การร่วมกจิ กรรมภาคปฏิบตั เิ สริมประสบการณ์ ผู้เรียนชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ อาจจะตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหน่ึงตอ่ ไปนี้ ๗.๑ เข้าห้องปฏิบัติการในสถานศึกษา เพื่อฝึกทักษะปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ใน แตล่ ะหน่วยการเรียน ๗.๒ เข้าสงั เกตการณ์การสอนในหนว่ ยการเรียนทก่ี าหนด ๗.๓ เข้าฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ๗.๔ ประดิษฐค์ ิดคน้ หรอื ศึกษาสารวจข้อมูลตามท่กี าหนด หลังจากทากิจกรรมข้างต้นแล้ว ให้มีการสรุปรายงานให้แก่ครูผู้สอนหรือครู เจ้าของวิชาทราบเพ่ือตรวจสอบผลการปฏิบัติ และเก็บผลการประเมินเป็นคะแนนเก็บของ รายวิชา ๘. เขา้ รบั การสอบ เม่ือส้ินภาคการศึกษา ผู้เรียนต้องเข้ารับการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาหรือ สอบไล่ ตามวนั เวลาและสถานทท่ี ีส่ ถานศกึ ษากาหนด เพอื่ การตัดสินผลการเรยี น (ง)

(จ)

(ฉ)

แผนการเรยี น หน่วยท่ี ๑ การใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ มอดูลท่ี ๑.๑ การใช้คาในการสอื่ สารให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ ๑.๒ การใช้สานวนโวหารในการสอื่ สารให้เกิดประสทิ ธภิ าพ แนวคิด การสอื่ สารดว้ ยภาษาไทยอย่างมีประสทิ ธภิ าพนัน้ ผสู้ ื่อสารตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในเร่ืองของการ ใช้คาให้ถูกต้องตามความหมาย สร้างประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้สานวนโวหารได้ถูกต้อง ตามสถานการณ์และวัตถปุ ระสงค์ เรยี บเรยี งถอ้ ยคาเพอ่ื ส่อื สารได้อยา่ งสละสลวย มีศลิ ปะ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น ๑. เมอ่ื ศึกษามอดูลที่ ๑.๑ แลว้ ผ้เู รยี นสามารถใช้คาได้ถูกตอ้ งตามความหมาย ๒. เมื่อศึกษามอดูลท่ี ๑.๑ แล้ว ผู้เรียนสามารถเรียบเรียงประโยคได้ถูกต้องตามเจตนาของ การสือ่ สาร ๓. เม่ือศกึ ษามอดูลที่ ๑.๒ แล้ว ผเู้ รียนสามารถใช้สานวนไดถ้ กู ตอ้ งตามสถานการณ์ ๔. เม่ือศึกษามอดูลที่ ๑.๒ แล้ว ผู้เรียนสามารถใช้โวหารได้ถูกต้องตามจุดประสงค์ของการ สอ่ื สาร กจิ กรรมการเรยี น ๑. ทาแบบประเมนิ ตนเองก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี ๑ ๒. อ่านแผนการเรยี นประจาหนว่ ยท่ี ๑ ๓. อ่านสาระสงั เขปประจามอดลู ที่ ๑.๑ - ๑.๒ ๔. ดาเนนิ กจิ กรรมท่กี าหนดของแต่ละมอดูลหรือหวั ข้อเรื่อง ๕. ตรวจสอบคาตอบจากแนวตอบของแต่ละกิจกรรม ท่กี าหนดไวท้ า้ ยหน่วยที่ ๑ ๒ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๖. ทากิจกรรมภาคปฏบิ ตั ิเสริมประสบการณ์เพื่อเก็บคะแนน (ถ้าม)ี ๗. เข้ารบั การสอนเสริม ๘. ทาแบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน สอื่ และแหลง่ การเรียน ๑. เอกสารชดุ การเรียน หน่วยท่ี ๑ ๒. ใบงาน การประเมนิ ผลการเรยี น ๑. ประเมินความกา้ วหนา้ ระหว่างเรยี น การประเมินตนเองก่อนและหลังเรียน ๒. ประเมนิ กจิ กรรมภาคปฏิบัติ (……..คะแนน) ๓. คุณธรรม จรยิ ธรรม (๒๐ คะแนน) ๔. การสอบปลายภาค (…….คะแนน) ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๓

แผนการเรยี น มอดลู ท่ี ๑.๑ การใชค้ าในการส่ือสารให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ มอดลู ที่ ๑.๑ โปรดอ่านหัวขอ้ เรือ่ ง แนวคดิ และจดุ ประสงคก์ ารเรียนของมอดลู ท่ี ๑.๑ แล้วจงึ ศกึ ษา รายละเอยี ดต่อไป หัวข้อเรอื่ ง ๑.๑.๑ คาในภาษาไทย ๑) คาที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ๒) คาทม่ี คี วามหมายตามตวั และความหมายนัยประหวดั ๓) คาที่มีความหมายกวา้ งและความหมายแคบ ๔) คาทม่ี คี วามหมายเหมอื นกนั หรือคลา้ ยกัน ๕) คาพ้องรูปและพอ้ งเสียง ๖) คาท่มี ีความหมายตรงขา้ ม ๑.๑.๒ ประโยคในภาษาไทย ๑) ลกั ษณะของประโยค ๒) ชนดิ ของประโยค ๑.๑.๓ การใช้ถ้อยคาในการสอื่ สาร ๑) การใชภ้ าษาให้เหมาะแก่บคุ คลและโอกาส ๒) การเลอื กใช้ถอ้ ยคาในการสือ่ สาร ๓) การใชถ้ ้อยคาให้สละสลวย ๔ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

แนวคดิ การใช้ภาษาไทยในการสือ่ สารอย่างมศี ิลปะและมปี ระสิทธิภาพน้ัน ผสู้ ่ือสารจาเปน็ ต้อง เข้าใจความหมายของคา นาไปใชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ ง และสามารถเรียบเรยี งประโยคเพอ่ื สื่อสารให้ เหมาะสมแกบ่ ุคคลและโอกาสบรรลุจุดมุ่งหมาย จดุ ประสงคก์ ารเรยี น เม่อื ศึกษามอดลู ที่ ๑.๑ แลว้ ผเู้ รียนสามารถ ๑. เขา้ ใจความหมายของคาในภาษาไทยและนาไปใช้ได้อยา่ งถกู ต้อง ๒. เรียบเรยี งถอ้ ยคาเปน็ ประโยคเพ่ือสื่อสารได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมแกบ่ คุ คลและโอกาส กิจกรรมการเรยี นการสอน ๑. ทาแบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น ๒. ทากิจกรรมที่ ๑.๑ ทบทวนวรรณยุกต์ และกจิ กรรมที่ ๑.๒ เรียงวรรณยกุ ต์ ๓. ศึกษาเอกสารมอดลู ท่ี ๑.๑ ๔. ปฏิบัตกิ ิจกรรมทไ่ี ด้รบั มอบหมายในเอกสารการสอน ๔.๑ ทากจิ กรรมที่ ๑.๓ – ๑.๗ จากสอ่ื ดิจิทัล ๔.๒ ทากจิ กรรมตามใบงานท่ี ๑๒ การใช้ประโยค กอ่ นศึกษาเน้อื หาเรามาประเมนิ ตนเองในแบบทดสอบกอ่ นเรียน แลว้ ทบทวนเรอ่ื งการใช้วรรณยุกต์ ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๕

เนื้อหา ๑. คาในภาษาไทย เสยี งทเ่ี ปลง่ ออกมาครั้ง ๆ หนึง่ เรยี กวา่ พยางค์ ถา้ เปน็ พยางคท์ ม่ี ีความหมาย เรยี กวา่ คา คาทกุ คาจึงต้องมคี วามหมาย แต่อาจจะมพี ยางค์เดยี วหรือหลายพยางค์ก็ได้ การจะใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสม และสื่อความหมายไดต้ ามต้องการ ผใู้ ช้ภาษา จาเป็นตอ้ งรคู้ วามหมายของคา คาส่วนใหญใ่ นภาษาไทยมีหลายความหมาย บางคาเมอ่ื อยู่ตาม ลาพังจะมีความหมายอยา่ งหนง่ึ แต่เม่ือนาไปเขา้ ประโยค ความหมายของคาอาจเปล่ยี นไป ความหมายของคามีหลายลกั ษณะ ได้แก่ ๑.๑ คาทม่ี ีความหมายโดยตรง (ความหมายตามตัว) และความหมายโดยนยั คาแต่ละคาเมื่อฟังแล้ว ผู้ฟังมักไม่ได้นึกถึงเฉพาะความหมายของคาน้ัน แต่จะนึก ถึงคาอ่ืนหรือสิ่งอ่ืนที่เก่ียวข้องกับความหมายของคาน้ันด้วย ท้ังนี้แล้วแต่ทรรศนะ นิสัยและ ประสบการณ์ของแตล่ ะคน ซง่ึ ความหมายของคาโดยทวั่ ไปมดี ังน้ี ๑) ความหมายโดยตรง หรือความหมายตามตัว คือความหมายตามปกติของคา เนื้อความเป็นอยา่ งไร ความหมายก็เปน็ อย่างนน้ั เป็นความหมายทป่ี รากฏในพจนานุกรม คาหนึ่งอาจ มีหลายความหมาย เชน่ ดวงดาว : สิง่ ที่เหน็ เปน็ ดวงมีแสงระยบิ ระยับในท้องฟ้า เชน่ คืนนี้มดี าวเต็มท้องฟ้า หลงั บ้าน : ดา้ นหลังของบา้ น เช่น เขาผูกสุนัขไวห้ ลงั บ้าน ตา : พ่อของแม่, ส่วนหน่ึงของร่างกายคนและสัตว์ ทาหน้าที่ดู, ส่วนหนึ่งของต้นไม้ตรงที่ แตกก่ิง, รอยของต้นไม้ตรงที่เคยแตกก่ิง, ช่องท่ีเกิดจากการถัก สาน หรือลากเส้นผ่านกัน เช่น ตารา่ งแห ตาตะแกรง ตาตาราง, คราว เชน่ ตาน้ี ๒) ความหมายโดยนัย หรือความหมายเชิงอุปมา คือความหมายที่กลายไปจาก ความหมายเดิมของคา เป็นความหมายทเ่ี กดิ จากการเปรยี บเทียบกับความหมายตามตวั ของคาน้ันใน บริบทอื่นเพื่อบอกลักษณะอาการ รูปพรรณสัณฐาน หรือคุณภาพอย่างใดอย่างหนึ่งให้ชัดเจนข้ึน ตัวอย่าง ดวงดาว : ความสุข ความสดใส เช่น ใตผ้ ืนฟา้ นี้ คณุ มีสทิ ธ์เิ กบ็ ดวงดาวได้เสมอ ตามนา้ : พลอยร่วมฉอ้ ราษฎร์บังหลวงไปดว้ ย เช่น นายสมชายกินตามน้ากบั เพอื่ นด้วย ๖ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

เปรียบเทียบความหมาย ความหมายตามตวั ความหมายเชงิ อุปมา ดาว - ดาวที่อยบู่ นท้องฟ้า ผมู้ คี วามงามหรอื ความสามารถเดน่ เปน็ ที่สนใจ ลูกหมอ้ - ปลากัดทผี่ สมข้นึ ในหมอ้ ผู้ มี วิ ช า ชี พ โด ย สืบ เช้ือส าย กั น มา หรื อท าง านใ น สังกัด นั้น ๆ มาแตเ่ ดมิ เสอื - สัตว์ชนดิ หนึ่ง ผู้มีกาลัง กลา้ หาญ อันธพาล โจร เต่าหวั หด - เตา่ ท่ีหดหัวในกระดอง คนที่ขี้ขลาดไม่กลา้ เผชิญหน้า ๑.๒ คาทมี่ ีความหมายนยั ตรงและความหมายนยั ประหวดั ๑) ความหมายนัยตรง หมายถึงความหมายที่ปรากฏตามพจนานุกรม ซ่ึงรวมท้ัง ความหมายตามตัวและความหมายเชงิ อุปมา อาจมีมากกวา่ หนง่ึ ความหมาย ผู้ใช้ภาษามีความเข้าใจ ตรงกัน เช่น เสือ : ชื่อสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม เป็นสัตว์กินเน้ือ นิสัยดุร้าย มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง เสือ ดาวหรือเสอื ดา, โดยปริยายใช้เรียกคนเกง่ คนดุร้าย ๒) ความหมายนัยประหวัด เป็นความหมายแฝงที่เกิดจากการแปลความซึ่ง เกีย่ วข้องกบั อารมณ์ ความรสู้ ึกที่จะผันแปรไปตามประสบการณ์ ทัศนคติ ความรสู้ กึ พ้ืนฐานหรอื ภูมิ หลงั ของแตล่ ะคน ซง่ึ อาจเขา้ ใจไมต่ รงกัน เชน่ เลือด อาจนกึ ถึง ความตาย การตอ่ สู้ ความรุนแรง สีดา อาจนกึ ถงึ ความชั่ว ความทกุ ข์ ความมดื มน ดอกหญา้ อาจนึกถึง สิง่ ท่ีต่าตอ้ ย เปรียบเทยี บความหมาย คา ความหมายนัยตรง ความหมายนัยประหวดั คอแข็ง อาการคอเคล็ด หันศรี ษะไม่ถนัด อาการที่นิ่งเพราะเถียงไม่ขึ้น หรือทนต่อรส หันไมไ่ ด้ อันเข้มขน้ รนุ แรงได้ หัวแข็ง ศีรษะแข็ง กระด้าง ว่ายาก มืออ่อน มอื ทีด่ ดั ได้มาก นอบนอ้ ม มีความสามารถนอ้ ย ชุดการเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๗

๑.๓ คาทมี่ ีความหมายกวา้ งและความหมายแคบ คาแต่ละคามีความหมายกว้างแคบต่างกัน บางคาบอกความหมายเฉพาะเจาะจง ว่าหมายถึงบุคคลใด บุคคลหน่ึง วัตถุช้ินใดชิ้นหนึ่ง สัตว์ตัวใดตัวหน่ึง แต่บางคาบอกความหมาย โดยรวมของส่งิ ทอ่ี ยู่ในประเภทเดยี วกัน เชน่ นก มีความหมายกว้าง หมายถึง สัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่งที่บินได้ ขนสีดาหรือขาว ปากยาวหรอื สนั้ (นกแก้ว นกขนุ ทอง นกกระจอก นกสดี า ฯลฯ ) สตั ว์ มคี วามหมายกว้าง หมายถงึ สตั ว์ท่อี าจมขี นาดเล็กหรอื ใหญ่ อาจเป็นสัตวบ์ ก สตั วน์ า้ สัตวป์ กี แมลง ฯลฯ (ชา้ ง สุนัข แมว ผึ้ง ยุง ปลา หนอน ฯลฯ) ๑.๔ คาท่มี คี วามหมายเหมอื นกันหรอื คล้ายกนั มีคาเป็นจานวนมากที่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกัน บางคร้ังใช้แทนกนั ได้ แต่บางคร้ังใช้แทนกันไม่ได้ จึงเป็นเหตุให้ผ้ทู ่ียังเข้าใจความหมายไม่ดีพอ ใช้ผิดได้งา่ ย คาเหล่านี้เรียก อีกอย่างวา่ คาไวพจน์ ข้อสงั เกตในการใช้คาทมี่ ีความหมายเหมอื นกันหรอื คล้ายกัน มดี งั น้ี ๑. ใชใ้ นภาษาเขยี น และภาษาพดู เช่น ภาพยนตร์-หนงั , รับประทาน-ทาน ๒. ใช้ในภาษาทางการ และไม่เป็นทางการ เช่น เรียน – บอก, ใบอนุญาตขับ รถยนต์ - ใบขบั ขี่ ๓. ใชใ้ นภาษาร้อยแกว้ และภาษารอ้ ยกรอง เชน่ นา้ – วารี – ชล – นท,ี ปา่ – ไพรสาณฑ์ ไพรสณฑ์ ไพรสัณฑ์ ๔. ใช้สาหรับบุคคลสามัญ สาหรับภิกษุ หรือเจ้านาย เช่น ป่วย – อาพาธ – ประชวร, กนิ - ฉัน – เสวย ๑.๕ คาท่มี คี วามหมายตรงขา้ ม คาเปน็ จานวนมากเม่ือนามาเทียบกนั แล้วมีความหมาย ตรงข้ามกัน เช่น สกปรก – สะอาด, ขีข้ ลาด – กล้าหาญ, อ้วน – ผอม, เชอ่ื งช้า - วอ่ งไว ๑.๖ คาพอ้ งรปู และพอ้ งเสยี ง คือคาท่มี ีความหมายหลายความหมายทาหนา้ ทไ่ี ด้หลาย หน้าท่ี จึงถือว่าเป็นคาคนละคากัน เช่น ขัน - นาม ภาชนะ, กัน – ใช้เรียกผู้ชาย, แสดงการแยก สว่ น, แสดงสว่ นร่วม, กัน หรอื กน้ั ในการพูด บางครั้งคาพ้องเสียงอาจทาให้ความหมายกากวม ไม่ทราบแน่วา่ ผู้พดู กล่าวถึงคาใด เช่น กล่าวว่า จนั อาจหมายถึง จนั จนั ทร์ จันทน์ จรรย์ หรอื จัณฑ์ ก็ได้ แตใ่ นการ เขียนความกากวมนจี้ ะหมดไป เพราะคาพอ้ งเสยี งเหลา่ นสี้ ะกดตา่ ง ๆ กัน ส่วนคาพ้องรูปเขียนได้อย่างเดียว แต่มีหลายความหมายและออกเสียงได้หลาย แบบ ในการพูดคาพ้องรูปความหมายจะไม่กากวม แต่ถ้าเป็นการเขียนอาจเกิดความกากวม เช่น ๘ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

เมื่อเขียนคาว่า “แหน” ผู้อ่านไม่แน่ใจว่าคานี้หมายถึง “พืชชนิดหน่ึงที่ใบด้านบนสีเขียว ด้านล่าง สีม่วงลอยอยนู่ า้ นิ่ง ๆ” หรือหมายถึง “เฝ้ารักษา”, เพลา (เพลารถ - เพลาเย็น), ขัน (ขันน้า -ไก่ขนั ตอนเช้า – ขบขนั ) ฯลฯ คาพ้องรูปจึงตอ้ งพิจารณาความหมายจากบริบทของคาในประโยค เมื่อศกึ ษาเนื้อหาแลว้ มาทบทวนความเขา้ ใจเรอ่ื งคากัน ๑. ทากิจกรรมท่ี ๑.๓ - ๑.๔ ความหมายของคา https://h5p.org/node/454887 และ https://h5p.org/node/454888 ๒. ทากจิ กรรมใบงานที่ ๑.๑.๑ เรื่องความหมายของคา ๓. ทากิจกรรมที่ ๑.๕ จบั คู่คาที่มคี วามหมายเหมือนกนั https://h5p.org/node/454889 และกจิ กรรมที่ ๑.๖ จับคคู่ าตรงกันขา้ มกัน https://h5p.org/node/453820 เรยี งรอ้ ยถ้อยคาเพื่อสื่อสาร เรยี นรูห้ ลักการสร้างประโยค ๒. ประโยคในภาษาไทย ประโยค หมายถึง กลุ่มคาที่สื่อความหมายได้ชัดเจน สมบูรณ์ โครงสร้างประโยคของ ภาษาไทยประกอบด้วย ภาคประธานและภาคแสดง หากมีส่วนขยาย ส่วนขยายมักอยู่หลังคา ทีถ่ กู ขยาย ดงั น้ี ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน ขยายประธาน สิงโต - กรยิ า กรรม ขยายกรรม ขยายกรยิ า ครู - คาราม - วชิ ัย เพอ่ื นของผม สอน -- - สนุ ขั ข้างบ้าน ถูก - นกั ศึกษา ห้องน้ี กดั หนังสือ - - นา้ ของฉนั ทา ปกั ลอตเตอรี่ - อย่างตงั้ ใจ เกง่ ชาวบา้ น ท่ีเดนิ ไปมา ข้อสอบ วิชาภาษาไทย ผ้า - ชุดการเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๙

อย่างไรก็ตาม แม้ประโยคในภาษาไทยส่วนใหญ่จะมีโครงสร้างแบบ ประธาน-กริยา-กรรม แต่รูปประโยคก็มิได้เรียงลาดับส่วนของประโยคเช่นนี้เสมอไป บางประโยคอาจนากริยา หรือ กรรม มาไว้ต้นประโยค หรือ บางประโยคอาจนากริยามาทาหนา้ ท่ีประธาน ประโยคในภาษาไทย จาแนกออกเปน็ ๔ ประเภท ดงั น้ี ๑. ประโยคประธาน หมายถึง ประโยคทมี่ ีประธานอยตู่ น้ ประโยค เชน่ ⚫ ผู้ส่อื ขา่ วรายงานขา่ ว ๒. ประโยคกริยา หมายถึง ประโยคท่ีมีกริยาอยู่ตน้ ประโยค เช่น ⚫ มีการทาร้ายรา่ งกายนกั โทษในเรอื นจา ๓. ประโยคกรรม หมายถึง ประโยคท่มี ีกรรมอยูต่ ้นประโยค เช่น ⚫ ผู้รา้ ยถกู ตารวจจับ ๔. ประโยคการติ หมายถงึ ประโยคท่ีมีผ้รู ับใชแ้ ทรกเข้ามาในประโยค เช่น ⚫ หวั หน้าใหล้ ูกนอ้ งแก้ไขรายงาน ชนิดของประโยค มี ๓ ชนดิ คือ ๑. ประโยคความเดียว คือประโยคท่ีมีประธานตัวเดียว กริยาตัวเดียว และถ้ากริยา ตอ้ งการกรรม ก็มีกรรมตัวเดียว เช่น ⚫ แดงเตะสนุ ขั ๒. ประโยคความรวม คือ ประโยคท่ีเกิดจากการรวมประโยคความเดียวต้ังแต่ ๒ ประโยคขึ้นไป โดยใช้สนั ธานเชื่อม ได้แก่ จงึ เพราะ ดงั นัน้ เพราะ...จึง ดงั ตัวอยา่ ง ⚫ พอภรรยาโกรธเขาก็เงยี บทกุ ครงั้ ⚫ เด็กกนิ อาหารที่มสี ารพษิ จึงเกดิ อาการท้องรว่ ง ประโยคความรวม ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว สนั ธาน ฉนั อ่านหนงั สือแต่ ฉนั อา่ นหนงั สอื น้องเล่นตกุ๊ ตา แต่ นอ้ งเล่นตุ๊กตา ชัยชาญและเชิงชาย ชยั ชาญเรียนชา่ งไฟฟา้ เชิงชายเรียนช่าง และ เรยี นชา่ งไฟเหมือนกนั ไฟฟ้า เพราะเธอเป็นคน เธอเป็นคนข้ีเกียจ เธอสอบตก เพราะ...จึง ข้เี กยี จจึงสอบตก (ประโยคเหต)ุ (ประโยคผล) ๑๐ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๓. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคท่ีมีใจความหลักประโยคหน่ึงแล้ว มีประโยคย่อย อกี ประโยคหน่ึงซ้อนอยู่จงึ มีคากริยามากกว่าหน่งึ คา ซง่ึ ประโยคยอ่ ยนั้นอาจทาหนา้ ท่เี ป็น นาม ขยาย นาม หรือสรรพนาม และขยายกริยาหรือวเิ ศษณ์ก็ได้ เช่น ⚫ รศั มดี าราเด็กสาวผซู้ ึ่งเกดิ มาบนกองเงนิ กองทองอยากเปน็ ครู ⚫ สุนัขพนั ธเุ์ ชาเชาทไี่ ด้รบั รางวัลท่ี ๑ เปน็ ของผมเอง ประโยคความซอ้ นจะใชต้ ัวเช่ือมตา่ งกับตัวเชื่อมของประโยคความรวม คือใช้คาว่า “ให้ ท่ี ซง่ึ อนั เม่อื เพราะ ตาม จน ตัง้ แต่” เป็นตัวเชอื่ มประโยคเล็กกับประโยคใหญ่ ประโยคความซ้อน ประโยคหลัก ประโยคย่อย คาเชอ่ื ม ฉนั รกั เพอื่ นท่ีไม่เห็นแกต่ ัว ฉนั รักเพ่ือน เขาบอกให้ฉนั เดนิ ตามไป เขาบอก ทไ่ี มเ่ ห็นแกต่ วั ท่ี (แทน“เพือ่ น”) คฤหาสน์ท่ีอย่ชู ายทะเล คฤหาสน์ทเี่ ปน็ ของ ฉันเดินตามไป ให้ นนั้ เป็นของเศรษฐีใหญ่ เศรษฐใี หญ่ นักศึกษาถูกลงโทษให้วิ่ง นกั ศกึ ษาถกู ลงโทษ (ขยายกรยิ า “บอก”) รอบวทิ ยาลัย พระออกบณิ ฑบาตตงั้ แต่ พระออกบณิ ฑบาต ทอี่ ยูช่ ายทะเล ท่ี ฟา้ เรมิ่ สาง ๆ (คฤหาสนท์ อี่ ยู่ชายทะเล) ใหว้ ิง่ รอบวิทยาลยั - ฟา้ เรม่ิ สาง ๆ ตงั้ แต่ มคี วามรู้เร่อื งประโยคแลว้ ใช่ไหม? มาทบทวนความเข้าใจกนั ๑. ทากจิ กรรมที่ ๑.๗ เรยี งประโยค https://h5p.org/node/454890 และ https://h5p.org/node/454891 ๒. ทากจิ กรรมใบงานที่ ๑.๑.๒ เรือ่ ง โครงสร้างและชนิดของประโยค ๓. ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๑.๓ เร่ืองชนดิ ของประโยค ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๑๑

เลือกใช้ถอ้ ยคาอยา่ งไรดี ให้ถูกท่ีถูกเวลา...มาเรยี นรกู้ ัน ๓. การใชถ้ อ้ ยคาในการสื่อสาร ภาษาไทยนอกจากความรเู้ รื่องคาและประโยคแลว้ ยงั ต้องศกึ ษาเรื่องการใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสม หากผู้ใช้ภาษามีความรู้เรื่องการใช้ภาษาไม่ดีพอ อาจทาให้การติดต่อสื่อสารเกิดความ ผดิ พลาด ส่อื สารได้ไม่ตรงตามต้องการ หรอื สอ่ื ความได้แต่ไมเ่ หมาะสม ทาใหข้ าดประสิทธิภาพในการ สอ่ื สาร โดยมีข้อควรคานงึ ดงั น้ี ๑. ใชภ้ าษาใหเ้ หมาะแก่บุคคลและโอกาส การใชภ้ าษาในการสือ่ สารให้มีประสทิ ธภิ าพ ผู้ใชจ้ ะตอ้ งทาความเขา้ ใจในเรื่องของบุคคล และโอกาส ดังน้ี ๑.๑ ความสัมพันธ์ของผู้ส่งสารและผู้รับสาร ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการกาหนดการใช้ ถ้อยคาให้เหมาะสมตามฐานะทางสังคมของบุคคลแต่ละกลุ่ม ได้แก่ พระมหากษัตริย์และพระบรม วงศานุวงศ์ พระสงฆ์และบุคคลท่ัวไป การเลือกใช้คาให้เหมาะสมแก่บุคคลจะทาให้การสื่อสารมี ประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรบั โดยทัว่ ไป เช่น ⚫ พระเจา้ อยหู่ วั เสวยพระกระยาหาร ⚫ พระสงฆฉ์ ันอาหาร ⚫นกั เรียนรับประทานอาหาร ๑.๒ โอกาสในการใช้ภาษา การเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมแก่โอกาส เวลาและสถานที่ มีความสาคัญอย่างย่ิงท่ีจะทาให้การส่ือสารนั้นประสบผลสาเร็จ และเป็นท่ียอมรับของสังคม การใช้ ภาษาแบง่ เป็น ๓ โอกาส ดังนี้ ๑.๒.๑ โอกาสเป็นทางการ หมายถึง โอกาสสาคัญท่ีเป็นงานพิธีการ ภาษาท่ีใช้ สว่ นใหญ่จะเป็นภาษาแบบแผน หรือเป็นทางการ เช่น งานพระราชพธิ ี การกล่าวประชุม สมั มนา การ กลา่ วสุนทรพจน์ การเขยี นรายงานทางวชิ าการ ๑.๒.๒ โอกาสก่ึงทางการ หมายถึง โอกาสท่ีไม่เคร่งครัดในแบบแผนมากนัก แต่ คานงึ ถงึ ความสุภาพและความเหมาะสมตามสถานการณ์ การสื่อสารจะใชภ้ าษากง่ึ แบบแผน เชน่ การ ประชมุ ครู การบรรยายในชัน้ เรียน การอบรม การเขยี นสารคดี การวิจารณบ์ ทความ ๑๒ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๑.๒.๓ โอกาสไม่เป็นทางการ หมายถึง โอกาสทั่ว ๆ ไปท่ีใช้ติดต่อส่ือสารใน ชีวิตประจาวันและในงานอาชีพ มุ่งเน้นการส่ือความหมายให้เข้าใจ การใช้ภาษาจะไม่เป็นทางการ เช่น การติดตอ่ งาน การซอ้ื ขายสินค้า การโฆษณา การเขยี นจดหมายสว่ นตวั การพาดหัวขา่ ว ๒. ใชค้ าให้ถูกต้อง การส่ือสารให้บรรลุวัตถุประสงค์ ผู้ส่ือสารต้องรู้จักเลือกใช้ถ้อยคาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ี ๒.๑ สะกดคาใหถ้ กู ตอ้ ง การสะกดคาเปน็ ข้อควรคานงึ ท่ีสาคญั ย่ิงในการเขียน เนอื่ งจาก คาท่ีสะกดต่างกนั ย่อมมีความหมายไมเ่ หมอื นกนั ดงั ตวั อยา่ ง คาสะกดต่างกัน เชน่ รัก-ลัก, แปรง-แปลง, กลบั -กบั , ขนั -ขรรค์, สะกดคาไม่ถูกต้อง เช่น มาตรฐาน เขียนเป็น มาตรฐาน, อนุญาต เขียนเป็น อนุญาต, กะเพรา เขียนเป็น กระเพรา การออกเสียงผิด เช่น คร้ังคราว ออกเสียงเป็น ค้ังคาว, คล่ี ออกเสียงเป็น คี่, เปลา่ ออกเสียงเป็น เป่า, ปา่ ว ๒.๒ การใช้คาให้ถูกความหมาย ผู้ส่ือสารต้องรู้จักความหมายของคาที่เลือกมาใช้ จึง จะสามารถส่อื สารได้ถูกต้องตรงตามความตอ้ งการ เช่น ⚫ เขาถูกชกเลอื ดกบปาก (กบ) ⚫ วชิ ัยเป็นคนเงยี บ ๆ ไมค่ ่อยสูสีกบั ใคร (สุงสิง) ๒.๓ ใช้คาให้ถูกหน้าท่ี การวางคาให้ถูกตาแหน่งหน้าที่ตามชนิดของคาเป็นส่ิงสาคัญ ยิ่งในการเรียบเรียงประโยค เน่ืองจากคาไทยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์เพื่อทาหน้าท่ีต่าง ๆ ใน ประโยคเหมือนภาษาอังกฤษ ดังน้ันการวางคาผิดตาแหน่งอาจทาให้ความหมายเปล่ยี นไป หรือสื่อ ความหมายไม่ได้ เชน่ ใจหาย หายใจ ฉนั รักคณุ คณุ รักฉนั ๒.๔ ใช้คาให้ถูกระดับภาษา โดยทว่ั ไปภาษาแบง่ เป็น ๓ ระดบั ดังน้ี ๒.๔.๑ ระดับคาไม่เป็นทางการ เป็นคาระดับไม่ได้มาตรฐาน ส่วนใหญ่จะใช้ในการ สื่อสารทั่ว ๆ ไปในหมู่ผู้คุ้นเคย ใช้ประกาศหรือประชาสัมพนั ธ์ในชมุ ชน การสนทนาระหว่างเพอื่ นฝูง การเขียนจดหมายส่วนตวั ถึงผู้ใกล้ชิด ๑) คาตลาดหรือภาษาปาก เปน็ คาท่ใี ชท้ ่วั ๆ ไป โดยไม่คานงึ ถงึ ความถกู ต้อง ทางหลกั ภาษา หรือความเหมาะสม เชน่ ผวั เมีย โรงพัก โรงหนงั รถเครอื่ ง คุก ฯลฯ ชดุ การเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี ๑๓

๒) คาภาษาถ่ิน ใช้สาเนยี งและถ้อยคาต่างความหมายกันไปในแตล่ ะท้องถิ่น อาจส่ือสารเข้าใจไม่ตรงกันในการพูดหรือเขียน เช่น ภาษาเหนือ- เคียด (โกรธ) ม่วน (สุข, สนุก, ไพเราะ), ภาษาใต้ – หยบ (ซ่อน), ภาษาอสี าน - แซบอีหลี (อร่อยมาก) ฯลฯ ๓) คาสแลงหรือคาคะนอง เป็นคาท่ีใช้สื่อสารและเข้าใจกันเฉพาะกล่มุ โดย ไม่คานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา มักใช้อยู่เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่ง เช่น แกสบ้ี เคอร่ี เงือก จขกท เงิบ จิ้น ตลาดลา่ ง ตะมตุ ะมิ น่ามสาน โป๊ะ ปัง ฯลฯ ๔) คาหยาบหรอื คาต่า หมายถงึ คาไมส่ ภุ าพ ไม่ควรใช้ ได้แก่ พวกคาหยาบคาย คาดา่ คาสบถสาบาน ๒.๔.๒ ระดบั คากึ่งทางการ เป็นภาษาท่มี รี ะดบั กา้ กง่ึ กันระหว่างภาษาไมเ่ ปน็ ทางการ กับภาษาทางการ เชน่ การสนทนาระหว่างผ้มู กี ารศกึ ษา สนทนากับผู้ท่ไี ม่ค้นุ เคย การพูดในท่ปี ระชุม กับผู้ฟังทั่ว ๆ ไป เช่น การอภปิ ราย การสัมภาษณ์อย่างไมเ่ ป็นทางการ การแนะนาบคุ คลอย่างไมเ่ ปน็ พธิ รี ีตอง ฯลฯ ระดบั คาก่งึ ทางการ ได้แก่ ๑) คาท่ีใช้ในภาษาส่ือสารมวลชน โดยเฉพาะภาษาหนังสือพิมพ์ ซ่ึงมี ลกั ษณะเฉพาะตัว คือ ใชภ้ าษาเร้าความสนใจ โดยไม่คานึงถงึ ความถกู ตอ้ งทางหลักภาษา (เทกระจาด เด็กผี ค้าแข้ง ลูกหนัง) ใช้คาสั้น ๆ ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่านเข้าใจคลาดเคล่ือนได้ (บัวบานล่มสลาย, อสรพษิ ผงาด) ตลอดจนการใชค้ าอยา่ งขาดความประณตี สละสลวย ใชภ้ าษาพดู แทนภาษาเขยี น หรือ ใช้ภาษาไม่สุภาพ ไม่เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล (โคตรเว่อร์ รักฝังร่าง) ภาษาหนังสือพิมพ์จึงไม่ อาจยึดถือเป็นแบบแผนในการใช้ภาษาได้ ๒) คาท่ีใช้ในภาษาโฆษณา เป็นการใช้ภาษาเพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจ มงุ่ โนม้ น้าว ใจให้ผู้รับสารเปลี่ยนความคิดและกระทาตาม ลักษณะของภาษาจึงมีสีสัน เน้นอารมณ์ด้วยการใช้ ภาษาตา่ งระดบั ในข้อความเดียวกัน สว่ นมากเปน็ ภาษาทางการหรือกึง่ ทางการ อาจใช้คาคลอ้ งจองมี สัมผัสแบบร้อยกรอง เชน่ เพือ่ นคู่คิด มติ รค่ใู จ, ทาสงิ่ ทีช่ อบ เปน็ อาชพี ทีใ่ ช,่ ตม้ ผดั แกง ทอด หอม อรอ่ ยในพริบตา, ตัวจริง เร่ืองป้งิ ย่าง ๓) คาเฉพาะกลุ่ม เป็นคาท่ีใช้เฉพาะคนในกลุ่มหรือวงการเดียวกัน ได้แก่ ชา่ ง ทหาร แพทย์ วงการพนัน วงการกฬี า ภาษาเด็ก ภาษาวยั รนุ่ ฯลฯ ๒.๔.๓ ระดับคาเป็นทางการ คือ ภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการเคร่งครัด ถูกแบบ แผนและไดม้ าตรฐาน มกั ใช้ในภาษาเขยี นมากกว่าพูด หรือเปน็ การเขียนต้นฉบับสาหรบั การพูดอย่าง มพี ธิ ีรตี อง เช่น ปาฐกถา โอวาท สุนทรพจน์ คาปราศรยั การแนะนาบุคคลสาคัญต่อทปี่ ระชมุ ไดแ้ ก่ ๑๔ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๑) ภาษาราชการ เป็นภาษาแบบแผน ใช้สาหรับการเขียนหนังสือราชการ เอกสารทางราชการ ให้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนท่ีกาหนด เช่น ตามท่ี เนื่อง ด้วย แต่งต้ัง พจิ ารณา อนสุ นธิ อนมุ ตั ิ ขอความอนุเคราะห์ ฯลฯ ๒) คาราชาศัพท์ เป็นคาท่ีใช้สาหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ เช่น หมายกาหนดการ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เสวย บรรทม พระราชทาน พระบรมราโชวาท ฯลฯ ๓) คาสุภาพ เป็นการใช้ภาษาให้เหมาะแก่กาลเทศะ โอกาสและบุคคล ไม่เป็น คาห้วน กระด้างหยาบคาย หรือผวนคาแลว้ มีความหมายไมส่ ุภาพ เช่น ศีรษะ รบั ประทาน ไม่ทราบ ครบั คณุ ผม ขา้ พเจ้า ผกั ทอดยอด อจุ จาระ ปัสสาวะ ฯลฯ ตวั อยา่ งคาระดับตา่ ง ๆ ระดบั ไม่เปน็ ทางการ ระดับกง่ึ ทางการ ระดับทางการ หนู กู ขา้ ดฉิ ัน หนู ผม ข้าพเจ้า วกิ โรงหนงั โรงภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ รา่ เหล้า ถองเหล้า กินเหล้า ดม่ื เหลา้ ด่ืมสรุ า ผวั เมีย สามี ภรรยา สามี ภรรยา พอ่ แม่ คุณพ่อ คณุ แม่ บิดา มารดา หมอ คุณหมอ นายแพทย์ อาทติ ย์หน้า สปั ดาหห์ นา้ สปั ดาหห์ นา้ โคราช นครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา ออกลกู คลอดลูก คลอดบุตร มีทอ้ ง มคี รรภ์ ต้ังครรภ์ เผาศพ ปลงศพ ฌาปนกิจ ทบทวนความเข้าใจกันสกั นิด...พิชติ ความจา ทากิจกรรมระดบั ภาษา https://h5p.org/node/497405 ชุดการเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี ๑๕

๒.๕ ใช้คาให้เหมาะสมกับรูปแบบการเขียน การเขียนร้อยแก้วและร้อยกรองจะมี ลักษณะของการใชถ้ ้อยคาแตกต่างกนั ไป คาที่ใช้ในรอ้ ยกรองหากนาไปใช้ในรอ้ ยแก้วจะทาให้ข้อความ ไมส่ มจรงิ และไมร่ าบร่ืน เชน่ ⚫ แมฉ่ นั ชอบภกั ษาหารทีท่ าจากปลา ⚫ เมือ่ สนธยามาเยอื นเขากจ็ รลีกลับเคหา หรอื การใช้ภาษาพูดในภาษาเขยี น เช่น ⚫ นักธุรกจิ เหลา่ นี้ ทายังไงถึงได้รวยยงั ง้ี (อย่างไร, อย่างน้ี) ๒.๖ ใช้คาใหเ้ หมาะกับความร้สู กึ คอื การเลือกใช้คาทสี่ อื่ ความหมายให้ตรงกับความรสู้ กึ ของผู้พดู เชน่ ⚫ เขาดใี จที่ได้ออกไปรบั รางวัล ไมใ่ ช่ เขาดใี จทตี่ อ้ งออกไปรับรางวลั ⚫ สพุ รรณรู้สกึ ใจหายท่ตี ้องสญู เสียเพอื่ นไปเสยี ที (ตัดคาวา่ เสยี ทีออก) ๓. ใชค้ าให้ชัดเจน การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารควรคานึงถึงความหมายที่ชัดเจน แจ่มแจ้งในเน้ือความ เพื่อมใิ หผ้ อู้ ่านเกดิ ความสบั สน เขา้ ใจผดิ การใช้คาไมช่ ดั เจนอาจเกดิ จากสาเหตุหลายประการ เชน่ ๓.๑ การใช้คาท่ีมีความหมายโดยนัย เนื่องจากความหมายโดยนัย เป็นความหมายที่ เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มคนท่ีมีประสบการณ์ในเรื่องใดเร่ืองหน่ึงร่วมกัน ผู้ท่ีขาดประสบการณ์ หรือการ รบั รู้ในเรอื่ งนน้ั อาจไม่เขา้ ใจความหมายนั้น ทาใหแ้ ปลความหมายของคาตามตรงทเ่ี คยไดร้ ับรมู้ า เช่น ⚫ ตารวจอ้มุ ผตู้ ้องหาไปสอบสวน (ความหมายโดยนัย) ⚫ แม่อุ้มลูกไปอาบน้า (ความหมายโดยตรง) ๓.๒ การใช้คากากวม คากากวมคือคาทีมีความหมายไม่ชัดเจน คลุมเครือ หรือมีหลาย นัย การใชค้ ากากวมอาจทาใหเ้ ขา้ ใจผดิ เนอื่ งจากสามารถตีความหมายได้หลายแง่ เช่น ⚫ แดงชนดาหกล้ม อาจมคี วามหมายวา่ แดงหกลม้ เมือ่ ชนดา หรือ ดาหกล้ม เม่ือชนแดง ⚫ เมื่อวานนตี้ าผมเจบ็ = ตา (พอ่ ของแม่), นัยน์ตา ⚫ ฉนั กนิ ข้าวเย็นแลว้ = ข้าวมือ้ เยน็ , ข้าวคา้ งคืน, ขา้ วไม่รอ้ น ⚫ เขตทหารห้ามเข้า = ห้ามทหารเข้า, หา้ มคนท่ัวไปเขา้ ๓.๓ การใช้คาย่อ คาย่อที่ไม่เป็นทางการและไม่เป็นท่ียอมรับกันโดยท่ัวไป อาจ กอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจผิดได้ เน่ืองจากผรู้ ับสารไมท่ ราบความหมาย เช่น ๑๖ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

⚫ รถโดยสารประจาทางแล่นผา่ น ม.มหานคร (คาว่า ม. โดยทั่วไปใชแ้ ทนคา วา่ มหาวทิ ยาลัย แต่ในทนี่ ีก้ ลบั หมายถึง หมบู่ า้ น) ⚫ การเลือกตั้งคราวนี้อดีต ส.ต. คืนสภาเพียบ (คาย่อว่า ส.ต. โดยทั่วไป หมายถงึ ยศสิบตรี แตใ่ นที่นี้หมายถึง สมาชกิ สภาตาบล) ๓.๔ การใช้คาทับศัพท์ คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศถ้ามีคาในภาษาไทยท่ีสื่อ ความหมายไดต้ รงกันกไ็ ม่ควรใชค้ าทับศัพท์โดยไมจ่ าเป็น เชน่ ⚫ คณุ เคลยี ร์ปัญหาหรอื ยงั (แก้ปัญหา) ⚫ งานนไี้ มเ่ วริ ์ก (งานไมเ่ ดนิ หรอื งานมีปญั หา) ๔. ใช้ถอ้ ยคาให้สละสลวย การใช้ภาษาไม่สละสลวยอาจเกิดจากการใช้คาฟุ่มเฟือย การใช้คาซ้าซ้อน การใช้คาไม่ คงที่ การลาดับความไม่เหมาะสม หรือการใช้สานวนภาษาต่างประเทศ ดงั ตวั อย่าง ๔.๑ ใช้คาฟมุ่ เฟือย ⚫ ตารวจทาการจบั กุมผรู้ ้าย ⚫ สมชายเป็นคนทม่ี ีความกระตอื รอื รน้ มาก ๔.๒ ใช้คาซ้าซอ้ น ⚫ เขารบี เดินไปอย่างรวดเร็ว ⚫ รถยนต์สตาร์ทไม่ติด เสียใช้การไม่ได้ ๔.๓ ใชค้ าเช่อื มใหถ้ ูกตอ้ ง เชน่ กับ แก่ แด่ ต่อ เพือ่ สาหรบั โดย ดงั น้ี ⚫ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทานพรปีใหม่แก่ประชาชน ⚫ ฉนั ถวายภตั ตาหารเพลแด่พระสงฆจ์ านวน ๙ รปู ๔.๔ ใช้คาลักษณนามให้ถกู ต้อง เช่น ช้างป่า ๑ ตัว, ช้างบา้ น ๒ เชือก ๔.๕ ใช้คาบง่ บอกเสียง สี ขนาด และปรมิ าณใหถ้ ูกตอ้ ง เชน่ ⚫จานกระเบ้อื งตกแตกดงั เพล้ง ๔.๖ ใช้คาระดับเดียวกันในประโยค หรือข้อความเดียวกัน การใช้คาต่างระดับทาให้ ข้อความไม่สละสลวย ไมส่ อดคลอ้ งกนั เช่น ⚫ เราไปเย่ียมคนเจ็บด้วยกัน เม่อื ไปถึงคนไข้ฟืน้ แล้ว (ใช้คาใดคาหนึง่ ) ⚫ หลวงตาทีช่ าวบ้านนบั ถอื ได้เสยี ชวี ิตแลว้ อยา่ งสงบ (มรณภาพ) ⚫ หล่อนเป็นผ้หู ญงิ องอาจกล้าหาญไมแ่ พ้บุรุษ (หญิง-ชาย, สตรี-บรุ ษุ ) ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๑๗

๔.๗ ใช้การหลากคา คือหลีกเลี่ยงท่ีจะใช้คาเดิม ๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซาก น่าเบื่อ หนา่ ย โดยการเลอื กใช้คาทม่ี คี วามหมายเดยี วกันหรอื ใกลเ้ คียงกันมาแทนกัน เช่น ⚫ ผมชอบเลี้ยงสัตว์ ชอบปลูกต้นไม้ ชอบทาอาหารรับประทานเอง และชอบ ไปเท่ียวต่างจังหวัด เปลี่ยนเป็น ผมมีความสุขกับการเล้ียงสัตว์ ปลูกต้นไม้ พอใจท่ีจะทาอาหาร รับประทานเอง ๔.๘ ใช้ภาษาถูกสมัย เน่ืองจากภาษามีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ถ้อยคาที่ใช้ใน สมัยหนึ่งอาจไม่เป็นที่นิยมในสมัยตอ่ มา หรือความหมายต่างไปจากเดิม หากนาคาเหล่านี้มาใช้อาจ ทาให้ไม่เข้าใจ หรือแสดงวา่ ไมร่ ู้จรงิ ล้าสมัย เชน่ คาว่า โลกานุวัตร ปัจจบุ ันใช้ โลกาภิวัฒน์ ทบทวนความเข้าใจให้แม่นยา...นาไปใช้ไดถ้ ูกต้อง ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๑.๔ เรอื่ ง การใช้ประโยค ๑๘ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กิจกรรมท่ี ๑.๑.๑ เร่ือง ความหมายของคา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้นักศึกษาบอกความหมายของคาที่เป็นความหมาย โดยตรง และความหมายโดยนยั ได้ คาชีแ้ จง ใหน้ กั ศึกษาค้นคว้าคาทีม่ ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั หรือเชงิ อปุ มา อยา่ งละ ๑๐ คา จากหนังสอื พิมพ์/อินเทอร์เนต็ พร้อมอธบิ ายความหมายของคา เหลา่ นนั้ (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) คา ความหมาย ๑................................................................ ๒............................................................... ๓............................................................... ๔.............................................................. ๕.............................................................. ๖.............................................................. ๗.............................................................. ๘.............................................................. ๙.............................................................. ๑๐…......................................................... ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๑๙

กจิ กรรมที่ ๑.๑.๒ เร่ือง โครงสร้างและชนิดของประโยค จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาระบโุ ครงสร้างและชนิดของประโยคได้ถกู ต้อง คาชแี้ จง ใหน้ กั ศึกษาเติมโครงสรา้ งและชนดิ ของประโยคลงในช่องวา่ งทกี่ าหนดให้ ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ชนดิ ของประโยค ๒๐ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กจิ กรรมท่ี ๑.๑.๓ เร่อื ง ชนดิ ของประโยค จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือใหน้ กั ศึกษาแยกชนดิ ของประโยคได้ คาชี้แจง ใหน้ กั ศึกษาทาเครื่องหมาย √ ในชอ่ งทต่ี รงกับชนดิ ของประโยค ประโยค ความ ความ ความ เดยี ว รวม ซอ้ น ๑. ฝนตกกอ่ นฟ้าร้อง ๒. ปลาใหญ่ว่ายนา้ ในทะเลลึก ๓. ฉันชอบนกั เรยี นทตี่ ังใจเรยี น ๔. พอฝนซาฟ้ากส็ ดใส ๕. แม่และพ่อไปตลาดหนา้ หม่บู า้ น ๖. พ่ชี ายฉันเก่งดา้ นวชิ าการมาก ๗. กานตเ์ ปน็ เด็กทีร่ ูจ้ กั กาลเทศะ ๘. นกแก้วตัวนนั พดู ไดค้ ลอ่ ง ๙. กมลชัยท้าการบา้ นเมอ่ื วนั อาทิตย์ ๑๐. เราจะเป็นคนดีหรือคนเก่ง ๑๑. ขนุ จะไปเชียงใหม่แต่เข้มจะไปยะลา ๑๒. ลลุ าชอบดอกไมส้ ีขาว ๑๓. พลอยไปตัดเสอื และทา้ เล็บ ๑๔. สนุ ขั ของฉันเปน็ สตั ว์เลียงทซี่ อื่ สัตยม์ าก ๑๕. ณเดชนอ์ ่านหนังสือแต่ญาญา่ ออกก้าลังกาย ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๒๑

กิจกรรมที่ ๑.๑.๔ เรอื่ ง การใช้ประโยค จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาบอกข้อบกพร่องของประโยคที่ยกมา และสามารถแกไ้ ขประโยคให้ถกู ตอ้ งได้ คาชแ้ี จง ใหน้ ักศึกษาบอกข้อบกพรอ่ งของประโยคที่ยกมาน้ี พร้อมท้งั แก้ไขภาษาทบ่ี กพรอ่ งนัน้ ใหถ้ ูกตอ้ งและสละสลวย (แตล่ ะประโยคอาจมขี อ้ บกพร่องมากกวา่ ๑ แหง่ ) ๑ รถต๊กุ ตกุ๊ คันนเี้ กา๊ เก่าแถมยังขับซง่ิ อกี ขอ้ บกพร่อง…….......................................................................................................................... ประโยคทแี่ ก้ไข…….................................................................................................................... ๒. สังคมปจั จบุ นั ทกุ วันน้ีมกั ทอดทิง้ ใหค้ นชราอยูก่ นั ตามลาพงั ดูแลว้ น่าสมเพชเวทนา ขอ้ บกพร่อง…….......................................................................................................................... ประโยคที่แก้ไข…….................................................................................................................... ๓. เหตกุ ารณ์กลบั โอละพอ่ เร่ืองสาวกุข่าวถูกผัวตวั เองแบลค็ เมล์ ข้อบกพร่อง…….......................................................................................................................... ประโยคทแี่ กไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………… ๓. ตร. เป่า ๓ โจรคา้ ยานรกแดด้ิน ข้อบกพร่อง…….......................................................................................................................... ประโยคที่แก้ไข.......................................................................................................................... ๔. เจ้าหนา้ ท่จี ดั ใหม้ ีการทดสอบน.ร. กอ่ นนาไปฟงั ปฐมนเิ ทศก์ ขอ้ บกพรอ่ ง…….......................................................................................................................... ……............................................................................................................................................. ประโยคทแ่ี ก้ไข……........................................................................................................ ๕. ชายหนมุ่ กับสภุ าพสตรคี นู่ ั้นชา่ งเหมาะสมกนั ราวขนมผสมนา้ ยา ขอ้ บกพร่อง…….......................................................................................................................... ……............................................................................................................................................. ประโยคทแ่ี ก้ไข…….................................................................................................................... ……............................................................................................................................................ ๒๒ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

เอกสารอ้างองิ กองเทพ เคลอื บพณิชกุล. (๒๕๔๒). การใชภ้ าษาไทย. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ กอบกาญจน์ วงศ์วสิ ิทธ์ิ. (๒๕๔๙). ทกั ษะภาษาเพอื่ การส่ือสาร. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ กาญจนา นาคสกุล. (๒๕๒๑). การใช้ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : เคล็ดไทย. กาชยั ทองหล่อ. (๒๕๔๒). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน์ . คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพ่อื การสื่อสาร ศูนยว์ ิชาบรู ณาการ หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป. (๒๕๔๙). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ คณาจารยภ์ าควชิ าภาษาไทยเพือ่ การสื่อสาร คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย. (๒๕๔๒). ภาษาไทยเพ่ือการส่อื สาร. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : ดับเบิ้ลนายน์พรน้ิ ต้งิ . คณาจารยภ์ าควิชาภาษาไทย คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ นวภรณ์ อุ่นเรอื น. (๒๕๖๐). ภาษาไทยเพอ่ื สอื่ สารในงานอาชพี . กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรุงเทพฯ : ราชบณั ฑิตยสถาน. ชุดการเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๒๓

แผนการเรยี น มอดูลท่ี ๑.๒ การใช้สานวนโวหารในการสอ่ื สารให้เกิดประสิทธิภาพ มอดูลท่ี ๑.๒ โปรดอ่านหัวข้อเรื่อง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๑.๒ แล้วจึงศึกษา รายละเอียดต่อไป หัวข้อเรอ่ื ง ๑.๒.๑ สานวน ๑) ความหมาย ๒) ลักษณะของสานวนไทย ๓) สานวนทีเ่ กิดขึ้นใหม่ ๔) หลักการใช้สานวน ๑.๒.๒ โวหาร ๑) ความหมาย ๒) ประเภทของโวหาร ๓) หลกั การเขียนและใช้โวหาร ๑.๒.๓ การเรียบเรยี งถ้อยคา แนวคิด สานวนเป็นถ้อยคาท่ีเรียบเรียง มีความหมายเชิงเปรียบเทียบ ลึกซ้ึง บางคร้ังรวมถึงคา พังเพย และสุภาษิต เม่ือนาไปใช้ควรเข้าใจความหมาย และใช้ได้อย่างถูกต้องในการสอ่ื สารเรื่องราว ใด ๆ ก็ตาม ถ้าผู้ส่งสารสามารถเลือกแบบการใช้โวหารได้ถูกต้อง เหมาะสมก็จะทาให้การส่อื สารนน้ั น่าสนใจยิ่งขึ้น จึงจาเป็นต้องศึกษาเรื่องโวหารท่ีใช้ในการสื่อสาร เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๒๔ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

จดุ ประสงค์การเรยี น ๑. เมอ่ื ศึกษาหัวขอ้ เรื่องที่ ๑.๒.๑ “สานวน”แลว้ ผ้เู รียนสามารถใช้สานวนได้ถูกต้อง ๒. เมือ่ ศึกษาหวั ขอ้ เร่ืองท่ี ๑.๒.๒ “โวหาร”แลว้ ผู้เรียนสามารถใช้โวหารได้ถูกต้อง กจิ กรรมการเรียนการสอน ๑. ศึกษาเอกสารโมดูลท่ี ๑.๒ ๒. ทากจิ กรรมจาก ๑.๘ - ๑.๙ จากส่อื ดจิ ทิ ลั ๓. ทากิจกรรมใบงานท่ี ๑.๒.๑ - ๑.๒.๓ ชุดการเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๒๕

รู้จกั สานวนไทย...นาไปใช้ ใหถ้ ูกตอ้ ง เนื้อหา ๑. สานวน ๑.๑ ความหมายของสานวน สานวน หมายถึง กลุม่ คาทเ่ี รียบเรียงขนึ้ โดยไม่เคร่งครดั หลกั ไวยากรณ์มคี วามหมายไม่ ตรงตามตัว แตม่ คี วามหมายอืน่ แฝงอยู่ มักเปน็ ในเชงิ เปรยี บเทียบ ๑.๒ ที่มาของสานวนไทย สานวนไทย มีท่ีมาจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ดังท่ี กาญจนา นาคพันธุ์ (๒๕๑๓) กล่าว ว่า “สานวนน้ันเกิดมากจากมูลเหตตุ ่าง ๆ เป็นต้นว่า เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการกระทา เกิดจาก สิ่งแวดล้อม เกิดจากอุบัติเหตุ เกิดจากการเล่น เกิดจากเร่ืองแปลก ๆ ที่ปรากฏขึ้น เกิดจากนิทาน ตานาน ตลอดจนพงศาวดาร หรือประวัติศาสตร์ มูลเหตุดังกล่าว ใครช่างคิดช่างนึกช่างสังเกต และ เป็นคนมีโวหาร ก็นาเอาแต่ใจความมาพูดส้ัน ๆ เป็นการเปรียบบ้าง เปรยบ้าง กระทบบ้าง ประชด ประชันบา้ ง พดู เล่นสนุก ๆ ก็มี พดู เตือนสตใิ ห้คิดก็มตี า่ ง ๆ กนั ” ดงั ตวั อยา่ ง ๑.๒.๑ เกดิ จากธรรมชาติ ตื่นแต่ไก่โห่ ลมเพลมพดั นา้ ซึมบอ่ ทราย นา้ ทว่ มปาก น้าลดตอผุด ลมสงบ ๑.๒.๒ เกดิ จากการเลน่ จนมุม เข้าปิง้ ไพ่ตาย มว้ นเสือ่ ศอกกลับ งกู ินหาง รุกฆาต เกทบั ๑.๒.๓ เกิดจากวฒั นธรรมประเพณี บา้ นเมืองมขี ่อื มแี ป ฝังรกฝกั ราก ตอ้ นรบั ขับสู้ ไปมาลาไหว้ ๑.๒.๔ เกดิ จากศาสนา เจา้ ไมม่ ีศาล ปิดทองหลงั พระ ทาคุณบชู าโทษ ควา่ บาตร ขนทรายเขา้ วัด กนิ บ้านกนิ เมือง ๑.๒.๕ เกิดจากความประพฤติ ๒๖ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

ผกั ชีโรยหน้า ตานา้ พรกิ ละลายแม่นา้ ชบุ มอื เปบิ ขา้ วแดงแกงร้อน คนตายขายคนเป็น กนิ บ้านกินเมอื ง ๑.๒.๖ เกดิ จากอุบัติเหตุ ตกกระไดพลอยโจน พลัง้ ปากเสียสนิ พล้ังตีนตกตน้ ไม้ ตกทน่ี ั่งลาบาก ตกหลุมพราง ตกล่องปล่องชน้ิ ๑.๒.๗ เกิดจากเครอื่ งมอื เคร่อื งใช้ต่าง ๆ หอกข้างแคร่ หน้าส่ิวหนา้ ขวาน ลม้ หมอนนอนเส่อื ติดร่างแห หวั ล้านได้หวี ตาบอดไดแ้ วน่ ๑.๒.๘ เกดิ จากอวัยวะในร่างกาย แก้ตวั ถอ่ มตน ปากหนัก ตาแหลม คอแขง็ ใจจดื คอตก หน้าเลอื ด ๑.๒.๙ เกิดจากสตั ว์ นกสองหัว วัวสันหลงั หวะ สนุ ัขจนตรอก วัวลืมตนี จระเข้ขวางคลอง หมาเหา่ ใบตองแห้ง ๑.๒.๑๐ เกดิ จากพชื พนั ธุต์ า่ ง ๆ ออ้ ยเข้าปากช้าง มะนาวไมม่ นี า้ เดด็ บัวไมเ่ หลอื ใย หญ้าปากคอก ไมใ้ กล้ฝง่ั ดอกพิกุลรว่ ง ๑.๒.๑๑ เกดิ จากประวตั ิศาสตร์ ขา้ วยากหมากแพง นอนหลบั ทบั สิทธิ์ ศึกเหนอื เสือใต้ กระเบือ้ งจะเฟ่อื งฟูลอย น้าเต้าน้อยจะถอยจม กรงุ ศรอี ยุธยาไม่ส้ินคนดี ๑.๒.๑๒ เกิดจากเรอื่ งราวในวรรณคดีจากนทิ านตา่ ง ๆ ลูกทรพี วัดรอยเท้า งอมพระราม กระต่ายต่นื ตูม บา่ งช่างยุ กบเลือกนาย ใจดีสเู้ สือ ก้ิงกา่ ได้ทอง ๑.๓ คุณคา่ ของสานวนไทย ๑.๓.๑ ใช้เป็นเคร่ืองเตือนใจให้คิด เป็นเครื่องมือในการอบรมสั่งสอน แนะนา ชแี้ นวทางควรปฏิบัติอยา่ งนุ่มนวลละเมยี ดละไม หลกี เลี่ยงการหกั หาญนา้ ใจ ดงั นี้ แนะนาส่งั สอนด้านความรักและการครองเรือน ⚫ อยา่ ชิงสุกก่อนหา่ ม ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๒๗

⚫ ปลูกเรือนตามใจผอู้ ยู่ แนะนาด้านให้การศกึ ษาอบรม ⚫ รักวัวให้ผกู รกั ลูกให้ตี ⚫ เห็นชา้ งขี้ ขีต้ ามช้าง แนะนาดา้ นการพดู จา และความประพฤติ ⚫ ปลาหมอตายเพราะปาก ⚫ น้าขนุ่ ไว้ใน นา้ ใสไวน้ อก ๑.๓.๒ สะท้อนให้เหน็ ถงึ ความคดิ ความเช่อื ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย ดังนี้ ความเชือ่ ทางศาสนา ⚫ มารผจญ ⚫ สวรรค์ในอก นรกในใจ ความเชอื่ เกยี่ วกบั ดวงชะตา โชค เคราะห์ ⚫ เงาไม่มหี วั ⚫ เคราะหห์ ามยามรา้ ย ความเชื่อในเรื่องผสี างเทวดา ⚫ ผีเข้าผีออก ⚫ ลูกผีลกู คน ความเชอ่ื เกียรตยิ ศชื่อเสียง ⚫ สมภารกินไกว่ ดั ⚫ เสียชพี อย่าเสยี สตั ย์ ๑.๓.๓ สะทอ้ นให้เห็นภาวะความเปน็ อยูข่ องสงั คมในด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี ด้านอาชพี ⚫ วัวหายล้อมคอก ⚫ ตวี วั กระทบคราด การดารงชีวิต ⚫ อยา่ ไวใ้ จทางอย่าวางใจคน ⚫ กาลังกนิ กาลังนอน ด้านเศรษฐกิจ ⚫ เข้าพกเข้าห่อ ๒๘ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

⚫ นุ่งเจยี มห่มเจียม ๑.๓.๔ สะท้อนให้เห็นลกั ษณะอุปนิสยั และพฤตกิ รรมของคนไทย ดังนี้ ⚫ ลนื่ เหมือนปลาไหล ⚫ ยใุ หร้ าตาให้รัว่ ๑.๓.๕ สานวนไทยทาให้การพูด การเขียนมีอรรถรส ช่วยให้การอธิบายหรือเขียน ขอ้ ความที่ยดื ยาวมารวบความใหส้ น้ั กะทัดรัด ได้ใจความท่ีกระทบใจ ให้ขอ้ คดิ และตคี วาม สร้างความ สนใจได้มาก ทาใหก้ ารใชภ้ าษาในการสื่อสารมีอรรถรสยง่ิ ขนึ้ เชน่ ไตไ่ มล้ าเดียว : กระทาสง่ิ ใด ๆ ตามลาพังตวั คนเดยี ว โดยไม่พง่ึ พา อาศัยผูอ้ ื่น อาจพลาดพล้งั ได้ ทบทวนความรู้ เข้าใจสานวนไทยกนั ดีกว่า ๑. ทากจิ กรรมที่ ๑.๘ ต่อเตมิ สานวนไทย https://h5p.org/node/453853 และ กิจกรรมท่ี ๑.๙ จับค่สู านวนกบั ความหมาย https://h5p.org/node/453850 ๒. ทากจิ กรรมใบงานท่ี ๑.๒.๑ เรอ่ื ง การใช้สานวนไทย และ ใบงานที่ ๑.๒.๒ เรื่อง คน้ หาสานวน สภุ าษิ ชุดการเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี ๒๙

๒. โวหาร โวหารสมั พนั ธ์กบั การเขียน ...มาเรียนรู้กนั ๒.๑ ความหมายของโวหาร โวหาร หมายถึง ถ้อยคาท่ีใช้ในการสอ่ื สารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีช้ันเชิงและมี ศิลปะ เพ่ือส่ือให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซ้ึง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ ส่งสาร ๒.๒ ประเภทของโวหาร ๒.๒.๑ บรรยายโวหาร คือโวหารที่ใช้ในการเล่าเรื่องหรือบรรยายอย่างละเอียด เน้นการ ดาเนินเรื่องไปตามลาดับ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ืองอย่างละเอียด มักใช้ในการเรียบเรียงประวัติ เรื่องราว เหตุการณ์ ตานาน จดหมายเหตุ บนั ทึกเรอื่ งราวทางวชิ าการ หลักการเขยี นบรรยายโวหาร ๑. วางจุดมุ่งหมายในการเขียนไว้อย่างแน่นอนว่า จะให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ หรือความเพลิดเพลิน ๒. เลือกสรรข้อมูลและหลักฐานท่ีจะนามาประกอบการเล่าเรื่อง เพ่ือให้เร่ืองราว นา่ ประทบั ใจ ติดอยใู่ นความทรงจาของผู้อ่านมากข้นึ ๓. ลาดับความคดิ เร่ืองราวได้อย่างมีระเบียบ ๔. เลือกใชถ้ อ้ ยคาทเ่ี รียบง่ายแตช่ ัดเจน ๕. เขยี นบรรยายอย่างตรงไปตรงมา สู่จดุ หมายและแนวคิดสาคญั ของเร่อื ง ๒.๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการใช้ภาษาช้ีแจงเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งอย่างละเอียด กล่าวราพึง ถงึ ความรู้สึกนกึ คิดในด้านความรัก ความเศรา้ โศก คร่าครวญ ส่วนมากใช้ในงานประพันธ์ทั้งนวนิยาย และบทร้อยกรอง หลักในการเขียนพรรณนาโวหาร มีดังนี้ ๑. ให้รายละเอยี ดอย่างถกู ต้อง ชดั เจน ๒. พรรณนาความทจ่ี ะกลา่ วถงึ ให้เห็นเปน็ รปู ธรรมได้ ๓. เน้นการใช้ภาษาแสดงภาพเพ่ือสรา้ งอารมณ์และจนิ ตนาการแกผ่ ู้อ่าน ๒.๒.๓ เทศนาโวหาร เป็นข้อความที่กล่าวช้ีแจง แนะนา สั่งสอน อันประกอบด้วยเหตุและ ผล เพอ่ื ชักจูงให้ผูอ้ ่าน ผฟู้ ังเช่ือถอื และกระทาตาม ๒.๒.๔ อุปมาโวหาร เป็นขอ้ ความทก่ี ลา่ วเปรยี บเทียบ เพอื่ ให้เกิดความคดิ และปญั ญา ๓๐ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

๒.๒.๕ สาธกโวหาร เป็นข้อความทีย่ กมาเปน็ อุทาหรณ์ หรอื ตัวอยา่ ง เพื่อให้เน้อื ความเด่นชัด และเขา้ ใจย่ิงข้ึน มกั ใชป้ ระกอบเทศนาโวหาร เพอื่ ต้องการชแี้ จง ส่ังสอนหรือชักชวนใหเ้ กดิ เห็นจริง ๓. การเรียบเรียงถ้อยคา ในการเรียบเรียงถอ้ ยคาควรคานึงถึงหลกั เกณฑด์ ังตอ่ ไปน้ี ๑. ใชค้ าใหเ้ หมาะสมกับระดับการสอ่ื สาร เชน่ ภาษาระดับพิธกี าร ภาษาระดับทางการ ภาษาระดบั กึ่งทางการ ภาษาระดับสนทนา และภาษาระดบั ปาก ๒. ใช้คาให้ตรงจุดประสงค์ การสื่อสารแต่ละคร้ังผู้ส่งสารต้องเลือกใช้คาให้ตรงกับ ความหมายและจุดประสงค์ เช่น เพอ่ื ถา่ ยทอดความรู้ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ หรอื เพอ่ื โน้มน้าวใจ ๓. ใช้คาคาไทย ในการเรียบเรียงถ้อยคาพยายามเลอื กใช้คาไทยแทนการใชค้ าทับศพั ท์ โดยไม่จาเปน็ ๔. ใช้คาชนิดตา่ ง ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลักภาษาไทย คือ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวเิ ศษณ์ คาบุพบท คาสนั ธานและคาอทุ าน ๕. ใชล้ กั ษณนามให้ถกู ต้อง การเรยี บเรยี งย่อหนา้ จะต้องคานงึ ถงึ หลกั ต่อไปน้ี ๑. เอกภาพ หมายถึง ความเป็นหน่ึงเดียว ซึ่งใจความสาคัญและข้อความขยายจะต้อง เป็นเรอ่ื งเดยี วกนั ๒. สมั พนั ธภาพ หมายถึง ข้อความในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความตอ่ เน่ืองสอดคล้องกัน ๓. สารตั ถภาพ หมายถงึ การเนน้ เน้อื ความหรอื ใจความหลักใหโ้ ดดเด่น ฝึกเรยี บเรยี งถ้อยคาให้ช่าชอง แลว้ ทดลองทาแบบทดสอบท้ายบทเรียน ๑. ทากจิ กรรมใบงานท่ี ๑.๒.๓ เรอื่ ง การเรียบเรียงถ้อยคา ๒. ทาแบบประเมินตนเองหลังเรียน http://bit.ly/thaitest1 ชุดการเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๓๑

เอกสารอา้ งอิง กาญจนา นาคพนั ธ.์ุ (๒๕๑๓). สานวนไทย. พระนคร : บารุงสาสน์ . นวภรณ์ อุน่ เรือน. (๒๕๖๐). ภาษาไทยเพอ่ื ส่ือสารในงานอาชีพ. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชั่น. ราชบัณฑติ ยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔. พิมพค์ รัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ : ราชบณั ฑติ ยสถาน. ศรเี พ็ญ มะโน. (๒๕๕๒). เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะภาษาไทยเพ่ืออาชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐-๑๑๐๑. พะเยา : วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา. สมบัติ คว้ิ ฮก. (ม.ป.ป.) วิถีชีวติ ท่ีพอเพยี ง ใน สมดุ บนั ทกึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง. ม.ป.ท. ๓๒ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กจิ กรรมที่ ๑.๒.๑ เรอ่ื ง การใชส้ านวนไทย จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม นักศกึ ษาบอกสานวนท่ีเหมาะสมกับพฤติกรรมและสถานการณท์ ี่กาหนดได้ คาสง่ั ใหน้ ักศึกษาเตมิ สานวนทเี่ หมาะสมกับพฤตกิ รรมและสถานการณ์ทีก่ าหนดให้ ๑. เขาไม่โตเ้ ถยี งแม้จะมคี นมาหาเรอื่ ง เพราะถือคติ แพ้เป็นพระ .................................... ๒. เธออย่าเพ่ิงไวใ้ จใครงา่ ย ๆ โบราณทา่ นวา่ คบคนใหด้ ูหนา้ ...................................... ๓. ไปอยทู่ ี่ไหนกต็ ้องทาตามกฎของเขา น่นั คอื เขา้ เมืองตาหลว่ิ ....................................... ๔. ถ้าอยากรกั ษามิตรภาพใหย้ ัง่ ยนื ต้องรจู้ กั ทาตัวเปน็ คน รักยาวใหบ้ ่นั ........................... ๕. โชคดที ่ีลูกชายเรายังกลบั ตัวไดถ้ อื ว่าเป็น ต้นรา้ ย......................................................... ๖. เปดิ เทอมมานกั ศกึ ษาบางคนทาทา่ ตงั้ ใจเรียน แต่สดุ ทา้ ยก็ ทา่ ดี................................. ๗. ศาลตัดสินประหารชวี ติ นายแพทยท์ ฆ่ี ่าหน่ั ศพภรรยา น่าเสียดาย ความรทู้ ่วมหวั ................................. แท้ ๆ ๘. คนแบบนเ้ี ขาเรียกวา่ คดในขอ้ ........................................... ไม่สมควรคบหาดว้ ย ๙. ผู้หญิงอะไร สวยแตร่ ูป............................................. พูดจาหยาบคายไมน่ ่าฟงั ๑๐. รกั ในวัยเรยี นไม่เป็นไร แตอ่ ย่า ชงิ สกุ .......................................... ก็แล้วกัน ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๓๓

กจิ กรรมที่ ๑.๒.๒ คน้ หาสานวน สภุ าษติ จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. ๑. นกั ศึกษาระบุถ้อยคาทเี่ ป็นสานวนไทยได้ 2. ๒. นกั ศกึ ษาอธบิ ายความหมายของสานวนได้ถูกต้อง คาส่ัง ให้นักศึกษาอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วค้นหาสานวน สุภาษิตที่ปรากฏ พร้อมทั้งอธิบาย ความหมาย บทความเรือ่ ง การเปน็ คนดี สวัสดีทุกคน วันน้ีเรามาพูดถึงเรื่องการเป็นคนดี ความดีเป็นสิ่งท่ีเราทุกคนควรกระทา มีคนกล่าวว่า คนดีผีคุ้ม ไปอยู่ท่ีไหนใคร ๆ ก็รัก หรือที่เรามักเคยได้ยินว่า รักดีหามจ่ัว รักช่ัว หามเสา หมายความว่า คนที่ประพฤติดี ขยันหมั่นเพยี รย่อมได้ทางานทด่ี ี ส่วนคนเกียจครา้ น ย่อมลาบากได้ทางานที่ไมด่ ี การท่ีเราจะเป็นคนดไี ด้มีองค์ประกอบหลายอยา่ ง ชน่ คบเพอ่ื นดี เพราะเพ่ือนมีอิทธิพลต่อชีวิตเรามาก การเลือกคบเพ่ือนจึงมีความสาคัญ น่ันคือ คบคนพาล พาลไปหาผิด คบบัณฑติ บัณฑิตพาไปหาผล และต้องมคี วามมานะอดทนในการทางาน โดย ยึดคติที่ว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ท่ีน่ัน ต้องรู้จักอดออม มีความซื่อตรง ดังท่ีผู้ใหญ่สอนกันมาว่า ซ่ือกินไม่หมด คดกินไม่นาน นอกจากนี้ การเป็นคนดีนั้นต้อง แสดงออกทั้งด้านความประพฤติและวาจาด้วย ซึ่งเรามักได้ยินมาเสมอว่า สาเนียงส่อภาษา วาจาสอ่ สกุล ผใู้ ดที่ดาเนนิ ชีวติ อย่างเปน็ ปกตติ ามครรลองครองธรรม ไมเ่ บียดเบยี นตนเองและ ผู้อนื่ ย่อมไดช้ ื่อวา่ เปน็ คนดี ดงั น้ันการเปน็ คนดจี ึงไม่ใช่เรอื่ งยาก ๓๔ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กจิ กรรมที่ ๑.๒.๓ เรอ่ื ง การเรียบเรยี งถอ้ ยคา จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักศึกษาสามารถเรยี บเรยี งถอ้ ยคาโดยใชส้ านวนโวหาร ท่ีเหมาะสมได้ คาช้ีแจง ใหน้ ักศึกษาเขยี นเรียบเรยี งถอ้ ยคาจากรปู ที่ใหม้ า โดยใช้สานวนโวหารท่ี เหมาะสมถูกต้องตามหลกั การเขียนย่อหนา้ (คะแนนเตม็ ๕ คะแนน) สมบัติ ค้ิวฮก. (ม.ป.ป.) วถิ ีชวี ติ ทพี่ อเพียง ใน สมุดบนั ทกึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง. ม.ป.ท. ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓๕

ภาคผนวก ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๓๗

กจิ กรรมที่ ๑.๑.๒ เรอ่ื ง ประโยค จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือให้นกั ศึกษาระบุโครงสรา้ งและชนดิ ของประโยคได้ คาชแ้ี จง ให้นักศึกษาเติมโครงสรา้ งและชนดิ ของประโยคลงในช่องว่างท่ีกาหนดให้ ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน ขยายประธาน กรยิ า กรรม ขยายกรรม ขยายกรยิ า ชนิดของประโยค ประโยคความเดยี ว ประโยคความรวม ประโยคความซอ้ น ๓๘ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กิจกรรมท่ี ๑.๑.๓ เรือ่ ง ชนิดของประโยค จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพื่อให้นกั ศกึ ษาแยกชนิดของประโยคได้ คาชแี้ จง ใหน้ กั ศึกษาทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งที่ตรงกบั ชนดิ ของประโยค ประโยค ความ ความ ความ เดยี ว รวม ซ้อน ๑. ฝนตกกอ่ นฟ้าร้อง √ ๒. ปลาใหญ่ว่ายน้าในทะเลลึก √ ๓. ฉันชอบนักเรยี นท่ีตังใจเรยี น √ ๔. พอฝนซาฟ้าก็สดใส √ ๖. แมแ่ ละพ่อไปตลาดหน้าหมู่บ้าน √ ๖. พ่ีชายฉันเกง่ ดา้ นวิชาการมาก √ ๗. กานตเ์ ป็นเด็กที่รูจ้ ักกาลเทศะ √ ๘. นกแกว้ ตัวนันพูดได้คลอ่ ง √ ๙. กมลชยั ทา้ การบา้ นเม่ือวนั อาทิตย์ √ ๑๐. เราจะเป็นคนดหี รอื คนเก่ง √ ๑๑. ขุนจะไปเชยี งใหมแ่ ตเ่ ขม้ จะไปยะลา √ ๑๒. ลุลาชอบดอกไมส้ ีขาว √ ๑๓. พลอยไปตัดเสือและทา้ เลบ็ √ ๑๔. สนุ ขั ของฉันเป็นสตั ว์เลียงทีซ่ ือ่ สตั ย์มาก √ ๑๕. ณเดชนอ์ า่ นหนงั สือแตญ่ าญ่าออกกา้ ลงั กาย √ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๓๙

เฉลยแนวตอบกจิ กรรมที่ ๑.๑.๔ การใช้ประโยค ๑. รถตุ๊กตกุ๊ คันนี้เก๊าเก่า แถมยงั ขบั ซิง่ อกี ข้อบกพร่อง - ใช้คาภาษาพูด – รถตุ๊กตุ๊ก, ใช้คาซ้อน - เก๊าเก่า, ใช้คาเช่ือมประโยคไม่ถูกต้อง – แถม และใช้คาสแลง – ซง่ิ ประโยคแกไ้ ข- รถสามลอ้ เครือ่ งคันนี้เก่ามาก แต่ยังขบั เรว็ อีก ๒. สังคมปจั จบุ ันทุกวนั น้ี มักทอดทง้ิ ให้คนแก่อยูก่ นั ตามลาพงั ดแู ลว้ นา่ สมเพชเวทนา ข้อบกพร่อง - ใช้คาฟุ่มเฟือย – ปัจจุบันทุกวันนี้, ใช้คาที่ให้ความหมายในทางไม่ดีคือคนแก่ และ สมเพชเวทนา ประโยคท่ีแก้ไข - สงั คมทุกวันน้ี มักทอดทงิ้ ให้คนชราอยกู่ ันตามลาพงั ดแู ล้วน่าเหน็ ใจ ๓. เหตกุ ารณ์กลับโอละพ่อ เรื่องสาวกขุ ่าว ผัวตวั เองแบลค็ เมล์ ข้อบกพร่อง - ใชค้ าพดู - โอละพ่อ, กุขา่ ว, ผัว, ใชค้ าภาษาตา่ งประเทศ - แบลค็ เมล์ ประโยคทแี่ กไ้ ข - เหตกุ ารณ์พลิกกลับ เรื่องสาวสร้างข่าวถกู สามตี วั เองหักหลงั ๔. ต.ร. เป่า ๓ โจรค้ายานรกแดดนิ้ ข้อบกพร่อง - ใช้คาย่อ – ต.ร., ใช้ภาษาหนังสือพิมพ์เปา่ ๓ โจร, ใช้คาไม่ตรงความหมาย – ยานรก, ใช้คาภาษาปาก - แดดน้ิ ประโยคทแ่ี กไ้ ข - ตารวจยงิ โจรคา้ ยาเสพติดเสียชวี ติ ๓ คน ๕ เจา้ หนา้ ที่จัดให้มีการทดสอบ น.ร. กอ่ นนาไปฟังปฐมนิเทศก์ ขอ้ บกพรอ่ ง - ใช้คาฟุ่มเฟอื ย – จัดใหม้ ีการ, ใชค้ ายอ่ น.ร., สะกดคาผดิ ปฐมนเิ ทศ ประโยคทีแ่ กไ้ ข – เจา้ หนา้ ที่ทดสอบนักเรียนกอ่ นนาไปฟงั ปฐมนิเทศ ๔๐ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

เฉลยแนวตอบกิจกรรมท่ี ๑.๒.๑ เรื่อง สานวนสภุ าษิต คาสงั่ ให้นักศกึ ษาเติมสานวนทเ่ี หมาะสมกับพฤติกรรมและสถานการณท์ ่กี าหนดให้ ๑. แพเ้ ป็นพระ ชนะเปน็ มาร ๒. คบคนให้ดหู น้า ซอ้ื ผ้าใหด้ เู นื้อ ๓. เข้าเมืองตาหลว่ิ ตอ้ งหลิ่วตาตาม ๔. รักยาวใหบ้ ่ัน รักส้ันใหต้ ่อ ๕ ต้นรา้ ย ปลายดี ๖ ท่าดี ทเี หลว ๗. ความรู้ทว่ มหวั เอาตวั ไมร่ อด ๘. คดในข้อ งอในกระดกู ๙. สวยแต่รูป จบู ไมห่ อม ๑๐.ชงิ สกุ ก่อนหา่ ม เฉลยกจิ กรรมที่ ๑.๒.๒ บทความเรื่อง การเปน็ คนดี ๑. คนดผี คี ้มุ หมายถึง คนทไี่ ปอยู่ท่ีไหนใคร ๆ ก็รัก ๒. สาเนียงสอ่ ภาษา วาจาสอ่ สกลุ หมายถงึ การเป็นคนดีนั้นต้องแสดงออกทั้งด้านความประพฤติ และวาจาดว้ ย ๓. คบคนพาลพาลไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล หมายถึง คบเพื่อนดี เพราะเพ่ือนมี อิทธิพลตอ่ ชีวิตเรามาก การเลอื กคบเพ่อื นจึงมีความสาคัญ ๔. ซ่อื กนิ ไมห่ มด คดกนิ ไม่นาน หมายถงึ ความพยายามอยทู่ ี่ไหน ความสาเรจ็ อยู่ท่นี ัน่ ซ่งึ ตอ้ งรจู้ ดั อดออม มคี วามซือ่ ตรง ๕. รักดีหามจ่ัว รักช่ัวหามเสา หมายถึง คนที่ประพฤติดี ขยันหม่ันเพียรย่อมได้ทางานที่ดี และ เกียจครา้ นยอ่ มได้ทางานท่ีไม่ดี ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ๔๑

คณะกรรมการ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี • คณะทป่ี รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา นายประชาคม จนั ทรชิต รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา นายธวชั ชัย อุ่ยพานิช รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา นายพีระพล พลู ทวี ผู้ชานาญการด้านการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี นายสรุ ตั น์ จนั่ แยม้ ในสถานศกึ ษาของรฐั และเอกชน ผู้ชานาญการด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษา นางสาววลั ลภา อยทู่ อง และกระบวนการเรียนรู้ ผอู้ านวยการศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคี นางร่งุ นภา จิตต์ประสงค์ ผู้อานวยศูนยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ นายวิทยา ใจวถิ ี • คณะกรรมการวิชาการ ผู้ชานาญการดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา นางสาววัลลภา อย่ทู อง และกระบวนการเรียนรู้ ผอู้ านวยศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื นายวทิ ยา ใจวิถี หน่วยศกึ ษานิเทศก์ นายประพนธ์ จนุ ทวเิ ทศ ศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์ ศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ นางสุดสาย ศรีศกั ดา • คณะกรรมการวชิ าการดา้ นการจัดทาเน้ือหาชดุ การเรยี นภาษาไทย นางนวภรณ์ อุ่นเรอื น ขา้ ราชการบานาญ นางนยั รัตน์ กล้าวิเศษ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย นางสาวศรเี พญ็ มะโน วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา นางยอดขวัญ ศรมี ่วง วิทยาลยั อาชวี ศึกษาพษิ ณุโลก นางสาวดาวสกาย พูลเกษ วทิ ยาลยั เทคนิคกาแพงเพชร นางกีระติกาญน์ มาอยู่วงั วิทยาลยั เทคนคิ เพชรบูรณ์ นายตะวนั ชยั รตั วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งเชยี งใหม่ นายอานนท์ ลีสีคา วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี ๔๒ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี