Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา

Published by poartmeetham, 2018-06-08 00:12:46

Description: พระครูพิศาลสุภัทรกิจ
วัดม่อนจำศีล เมืองลำปาง

Search

Read the Text Version

สนับสนุนโดย บริษทั ทรคู อรป์ อเรชนั่ จำกดั (มหำชน)

1.เพอ่ื เป็ นสื่อเสริมการเรียนรู้ในกล่มุ สังคม ศาสนาและ วฒั นธรรม2.เพอ่ื ให้ผู้เรียนได้ศึกษาถงึ วนั สาคญั ของศาสนาพทุ ธ

วนั อฏั ฐมบี ูชา วนั วสิ าขบูชาวนั โกน-วนั พระ วนั มาฆบูชาผู้พฒั นาโปรแกรม วนั ออกพรรษา วนั เข้าพรรษา วนั อาสาฬหบูชา จบโปรแกรม

ใช่ ไม่ใช่

ผู้พฒั นาโปรแกรม กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นวดั ช่องนนทรี ผูส้ นบั สนุน นางสาวรตั วิ ดี ศรบี ญุ อาจารย์ 1 ระดบั 5แหล่งขอ้ มูล : www.dhammathai.org

หนา้ 1 ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๖ ความหมาย คาวา่ \"วสิ าขบูชา\" หมายถึงการบูชา ในวนั เพญ็ เดือน ๖ วสิ าขบชู า ยอ่ มาจาก \" วสิ า- ขบุรณมีบชู า \" แปลวา่ \" การบชู าในวนั เพญ็ เดือน วสิ าขะ \" ถา้ ปี ใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน กเ็ ล่ือนไปเป็นกลางเดือน ๗ ความสาคญั วนั วสิ าขบชู า เป็นวนั สาคญั ยง่ิ ทางพระพทุ ธศาสนา เพราะเป็นวนั ท่ีพระพทุ ธเจา้ประสูติ คือเกิด ไดต้ รัสรู้ คือสาเร็จ ไดป้ รินิพพาน คือ ดบั เกิดข้ึนตรงกนั ท้งั ๓ คราวคือ

หนา้ 2 ๑. เมื่อเจา้ ชายสิทธตั ถะ ประสูติที่พระราชอทุ ยาน ลุมพนิ ีวนั ระหวา่ งกรุงกบิลพสั ดุก์ บั เทวทหะ เมื่อเชา้ วนั ศุกร์ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปี จอ ก่อน พทุ ธศกั ราช ๘๐ ปี ๒. เม่ือเจา้ ชายสิทธตั ถะตรัสรู้ เป็นพระพทุ ธเจา้ เม่ือพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใตร้ ่มไมศ้ รี มหาโพธ์ิ ฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเชา้ มืดวนั พธุ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปี ระกา ก่อนพทุ ธศกั ราช ๔๕ ปี หลงั จากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบนั สถานที่ตรัสรู้แห่งน้ีเรียกวา่ พทุ ธคยา เป็นตาบลหน่ึงของเมืองคยา แห่งรัฐพหิ ารของอินเดีย

หนา้ 3๓. หลงั จากตรัสรู้แลว้ ไดป้ ระกาศพระศาสนาและโปรดเวไนยสตั ว์ ๔๕ ปีพระชนมายไุ ด้ ๘๐ พรรษา กเ็ สดจ็ ดบัขนั ธปรินิพพานเม่ือวนั องั คาร ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๖ ปี มะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมลักษตั ริย์ เมืองกสุ ินารา แควน้ มลั ละ(ปัจจุบนั อยใู่ นเมือง กสุ ีนคระ) แควน้ อตุ ตรประเทศ ประเทศอินเดีย

หนา้ 4 ประวตั คิ วามเป็ นมาของวนั วสิ าขบูชาในประเทศไทย วนั วสิ าขบชู าน้ี ปรากฏตามหลกั ฐาน วา่ ไดม้ ีมาต้งั แต่คร้ังกรุงสุโขทยั เป็น ราชธานี ซ่ึงสนั นิษฐานวา่ คงจะได้ แบบอยา่ ง มาจากลงั กา กล่าวคือ เมื่อ ประมาณ พ.ศ. ๔๒๐ พระเจา้ ภาติ กรุ าช กษตั ริยแ์ ห่งกรุงลงั กา ไดป้ ระกอบพธิ ีวสิ าขบชู าอยา่ ง มโหฬาร เพื่อถวายเป็นพทุ ธบูชา กษตั ริยล์ งั กาในรัชกาลต่อ ๆ มา กท็ รงดาเนินรอยตาม แมป้ ัจจุบนั กย็ งั ถือปฏิบตั ิอยู่

หนา้ 5 ในสมยั อยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ดว้ ยอานาจอิทธิพล ของศาสนาพราหมณ์ เขา้ ครอบงาประชาชน คนไทย และมีอิทธิพลสูงกวา่ อานาจของ พระพทุ ธศาสนา จึงไม่ปรากฏหลกั ฐานวา่ ไดม้ ีการประกอบพธิ ีบูชาในวนั วสิ าขบชู า จนมาถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยัรัชกาลท่ี ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๖๐) ทรงดาริกบั สมเดจ็พระสงั ฆราช (มี) สานกั วดั ราชบูรณะ มีพระราชประสงคจ์ ะใหฟ้ ้ื นฟู การประกอบพระราชพิธีวนั วสิ าขบชู าข้ึนใหม่

หนา้ 6 โดย สมเดจ็ พระสงั ฆราช ถวาย พระพรใหท้ รงทาข้ึน เป็นคร้ัง แรกในวนั ข้ึน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า และวนั แรม ๑ ค่า เดือน ๖ พ.ศ. ๒๓๖๐ และใหจ้ ดั ทาตาม แบบอยา่ งประเพณีเดิมทุก ประการเพอื่ มีพระประสงคใ์ หป้ ระชาชนประกอบการบุญการกศุ ล เป็นหนทางเจริญอายุ และอยเู่ ยน็ เป็นสุขปราศจากทุกขโ์ ศกโรคภยั และอุปัทวนั ตรายต่างๆ โดยทวั่ หนา้ กนั ฉะน้นั การประกอบพธิ ีในวนั วสิ าขบูชาในประเทศไทย จึงไดร้ ้ือฟ้ื นใหม้ ีข้ึนอีกคร้ังหน่ึงในรัชสมยัพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลที่ ๒ และถือปฏิบตั ิมาจวบจนกระทง่ั ปัจจุบนั

หนา้ 7 กิ จ ก ร ร ม ข อ ง วั น วิ ส า ข บู ช า ทางราชการประกาศชกั ชวนให้ ประชาชน และหน่วยงานต่างๆ ท้งั เอกชน และราชการประดบั ตกแต่ง อาคารสถานท่ีดว้ ยธงชาติ ธงเสมา ธรรมจกั ร จุดประทีบโคมไฟ แต่ โดยทางปฎิบตั ิแลว้ ใชห้ ลอดไฟ ประดบั หลากสี ในวนั ข้ึน ๑๔-๑๕ ค่า เดือน ๖ พระบามสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์ เสดจ็ ประกอบพระราชกศุ ล ท่ีวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ทรงบาตร ในตอนเชา้ ในตอนเยน็ ทรงนาเวยี นเทียนรอบพระอุโบสถ และสดบั พระธรรมเทศนาในพระอุโบสถ พร้อมท้งั ถวายไทยธรรม



หนา้ 8 ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๔ คา่ เ ดื อ น ๓ \" มาฆะ\" เป็นชื่อของเดือน ๓ มาฆบูชาน้นั ยอ่ มาจากคาวา่ \"มาฆบุรณมี\" แปลวา่ การบูชา พระในวนั เพญ็ เดือน ๓ วนั มาฆบูชาจึงตรง กบั วนั ข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๓ แต่ถา้ ปี ใดมีเดือน อธิกมาส คือมีเดือน ๘ สองคร้ัง วนั มาฆบชู า กจ็ ะเลื่อนไปเป็นวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๔ เป็น วนั สาคญั วนั หน่ึง ในวนั พทุ ธศาสนา คือวนั ที่มีการประชุมสงั ฆสนั นิบาตคร้ังใหญ่ในพทุ ธศาสนา ที่เรียกวา่ \"จาตุรงคสนั นิบาต\"

หนา้ 9 ๑. เป็นวนั ท่ี พระสงฆส์ าวกของ พระพทุ ธเจา้ จานวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกนั ท่ีเวฬุวนั วหิ าร ในกรุงราชคฤห์ โดยมิไดน้ ดั หมาย ๒. พระภิกษุสงฆเ์ หล่าน้ีลว้ นเป็น \"เอหิภิกขอุ ุปสัมปทา\" คือเป็นผทู้ ่ี ไดร้ ับการอปุ สมบทโดยตรงจาก พระพทุ ธเจา้ ท้งั สิ้น๓. พระภิกษุสงฆท์ ุกองคท์ ่ีไดม้ าประชุมในคร้ังน้ี ลว้ นแต่เป็นผไู้ ดบ้ รรลุพระอรหนั ต์แลว้ ทุก ๆองค์๔. เป็นวนั ท่ีพระจนั ทร์เตม็ ดวงกาลงั เสวยมาฆฤกษ

หนา้ 10การปฎิบตั ิตนสาหรับพทุ ธศาสนาในวนั น้ีกค็ ือ ๑. ทาบุญใส่บาตร ๒. ไปวดั เพ่อื ปฏิบตั ิธรรม และฟัง พระธรรมเทศนา ๓. ไปเวยี นเทียนท่ีวดั ๔. ประดบั ธงชาติตามอาคาร บา้ นเรือนและสถานท่ีราชการ

หนา้ 11 ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๘ ประวตั คิ วามเป็ นมา \"อาสาฬหบูชา\" ยอ่ มาจากคาวา่ \"อาสาฬหปุรณมีชูชา\" แปลวา่ การบชู าในวนั เพญ็ เดือน อาสาฬห คือ เดือน 8 ถือเป็นวนั สาคญั อนั หน่ึงในพระพทุ ธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์สาคญั เกิดข้ึน 3 ประการ ดงั น้ี 1.เป็นวนั ที่พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือ แสดงธรรมเป็นคร้ังแรก มีชื่อวา่ ธรรมจกั กปั ปวตั นสูตร ซ่ึง มีใจความสาคญั กล่าวถึงอริยสจั หรือความจริงอนั ประเสริฐ4 ประการ ไดแ้ ก่ ทุกข์ คือ ความลาบาก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ สมุทยั คือ เหตุที่ทาใหเ้ กิดทุกข์ นิโรธ คือ ความดบั ทุกข์ และมรรค คือ ขอ้ ปฏิบตั ิใหถ้ ึงความดบั แห่งทุกข์

หนา้ 12 การแสดงธรรมคร้ังแรกน้ี เพอื่ โปรด เหล่าปัญจวคั คียท์ ้งั 5 คือ อญั ญา โกณฑญั ญะ วปั ปะ ภทั ทิยะ มหานามะ และอสั สชิ จึงถือกนั วา่ เป็นวนั ที่พระ สมั มาสัมพทุ ธเจา้ ทรงประกาศพระ ศาสนา 2.เป็นวนั ที่เกิดสงั ฆรัตนะหรือเป็นวนั ท่ีเกิดพระอริยสงฆส์ าวก ในพระพทุ ธศาสนาข้ึนคร้ังแรกในโลก พระอริยสงฆ์สาวกองคแ์ รกคือ พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ซ่ึงเมื่อพระธรรมเทศนาธรรมจกักปั ปวตั นสูตรแลว้ บงั เกิดดวงตาเห็นธรรมทูลขอบวช ซ่ึงพระองคป์ ระทานอนุญาตใหอ้ ุปสมบทเป็นภิกษรุ ูปแรก ในพระพทุ ธศาสนา ดว้ ยวิธีเอหิภิกขอุ ุปสัมปทา ในวนั น้ี

หนา้ 13 3.เป็นวนั ที่พระรัตนตรัย คือ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เกิดข้ึนครบ3 ประการ และเป็นคร้ังแรกในโลกเหตุการณ์ในวนั อาสาฬหบูชาน้ี เกิดข้ึนหลงั จากที่พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ตรัสรู้ในวนั เพญ็ วลิ าขะแลว้ สองเดือน

หนา้ 14พธิ ีกรรมท่กี ระทาในวนั นี้ โดยทวั่ ไป คือ ทาบุญตกั บาตร รักษาศีล เวียนเทียน ฟังพระธรรมเทศนา(ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร) และสวดมนต์ ดงั น้นั ในวนั น้ีจึงถือวา่ พทุ ธศาสนิกชนควรไดร้ ับประโยชน์ท่ีเป็นสาระสาคญั จากอาสาฬหบูชา กล่าวคือ ควรทบทวนระลึกเตือนใจสารวจตนวา่ ชีวติ เราได้เจริญงอกงามข้ึนดว้ ยความเป็นอยอู่ ยา่ งผรู้ ู้เท่าทนัโลกและชีวติ น้ีบา้ งแลว้ เพยี งใด เรายงั ดาเนินชีวติอยอู่ ยา่ งลุ่มหลงมวั เมา หรือมีจิตใจอิสระปลอดโปร่งผอ่ งใสบา้ งแลว้ เพียงใด

หนา้ 15 ต ร ง กั บ วั น แ ร ม ๑ คา่ เ ดื อ น ๘ ประเพณีหล่อเทียนเขา้ พรรษา เป็น ประเพณีท่ีกระทากนั เมื่อใกลถ้ ึงฤดู เขา้ พรรษาซ่ึงเป็นช่วงเวลาท่ีพระภิกษุ จะตอ้ งอยปู่ ระจาวดั ตลอด๓ เดือน มาต้งั แต่โบราณกาล การหล่อเทียน เขา้ พรรษาน้ีมีอยเู่ ป็นประจา ทุกปีเพราะในระยะเขา้ พรรษาน้ี พระภิกษุจะตอ้ งมีการสวดมนตท์ าวตั รทุกเชา้ เยน็ และในการน้ีจะตอ้ งมีธูป เทียนจุดบชู าดว้ ยพทุ ธศาสนิกชนท้งั หลาย จึงพร้อมใจกนั หล่อเทียนเขา้ พรรษาสาหรับใหพ้ ระภิกษุจุดเป็น การกศุ ลทานอยา่ งหน่ึงเพราะเช่ือกนั วา่ ในการใหท้ านดว้ ยแสงสวา่ ง จะมีอานิสงฆเ์ พิม่ พนู ปัญญาหูตาสวา่ งไสว

หนา้ 16 ตามชนบท การหล่อเทียนเขา้ พรรษาทา กนั อยา่ งเอิกเกริกสนุกสนานมาก เม่ือ หล่อเสร็จแลว้ กจ็ ะมีการแห่แหน รอบ พระอโุ บสถ ๓ รอบ แลว้ นาไปบชู า พระตลอดระยะเวลา ๓ เดือน บางแห่ง กม็ ีการประกวดการตกแต่งมี การแห่ แหนรอบเมืองดว้ ยริ้วขบวนที่สวยงามและถือวา่ เป็นงานประจาปี ทีเดียว ในวนั น้นั จะมีการร่วมกนั ทาบุญตกั บาตรถวายแด่พระภิกษุสงฆ์เป็นการร่วมกศุ ลกนั ในหม่บู า้ นน้นั

หนา้ 17กจิ กรรมต่างๆ ทค่ี วรปฏบิ ัติในวนั เข้าพรรษา ๑. ทาบุญตกั บาตรในตอนเชา้ ๒. ไปวดั เพอ่ื ฟังพระธรรมเทศนา ๓. ตามสถานที่ราชการสถานที่ศึกษา และท่ีวดั ควรจดั ใหม้ ีนิทรรศการ การบรรยาย ฉายสไลด์ หรือบรรยายธรรมเก่ียวกบั เร่ืองราวประวตั ิ ความเป็นมาเกี่ยวกบั วนั เขา้ พรรษาฯลฯ เพอ่ื ใหค้ วามรู้แก่ประชาชนและผสู้ นใจทว่ั ไป

หนา้ 18 ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๑ ๑ วนั ออกพรรษา เป็นวนั ที่พทุ ธบริษทั ท้งั ชาววดั และ ชาวบา้ น ไดพ้ ร้อมใจกนั กระทาบุญกศุ ลต่าง ๆ ตามคติประเพณีท่ีเคย ประพฤติปฏิบตั ิสืบ ๆ กนั มาแต่โบราณเช่นมีการตกั บาตรเทโว หรือเรียกตกั บาตรดาวดึงส์ เป็นตน้ “วนั ออกพรรษา” มีสาเหตุ เนื่องมาจาก “วนั เขา้ พรรษา” ท่ีมีมาแลว้ เมื่อวนั แรม ๑ ค่า เดือน ๘ อนั เป็นวนั ท่ีพระภิกษุท้งั หลายอธิษฐานใจเขา้ อยู่ พรรษาครบไตรมาส คือ ๓ เดือน ตามพระพทุ ธบญั ญตั ิ โดย ไม่ไปคา้ งแรมคา้ งคืนนอกสถานท่ีท่ีท่านต้งั ใจอยไู่ ว้ เมื่อมีวนัเขา้ พรรษากจ็ าเป็นตอ้ งมีวนั ออกพรรษา ซ่ึงวนั ออกพรรษา ซ่ึงวนั ออกพรรษาตรงกบั วนั ข้ึน๑๕ ค่าเดือน ๑๑ (เพญ็ เดือน ๑๑) ของทุกปี วนั ออกพรรษา เป็นวนั สุดทา้ ยแห่งการจาพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ หมายถึง พระภิกษุสงฆไ์ ดจ้ าพรรษาครบกาหนดไตรมาส

หนา้ 19หลงั จากน้ีกส็ ามารถจาริกไปคา้ งแรมท่ีอื่นได้วนั ออกพรรษาน้ีเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่วนั ปวารณา หรือ วนั มหาปวารณา คือวนั ที่พระสงฆท์ าปวารณากรรม คือเปิ ดโอกาสให้เพื่อน พระภิกษุวา่ กล่าวตกั เตือนกนั ดว้ ยเมตตาจิตได้ เมื่อไดเ้ ห็นไดฟ้ ังหรือ สงสัยในพฤติกรรมของกนัและกนั

หนา้ 20 กจิ กรรมต่างๆ ทค่ี วรปฏิบัติในวนั ออกพรรษา ๑. ทาบุญตกั บาตรอุทิศส่วนกศุ ลใหแ้ ก่ญาติผู้ ล่วงลบั ๒. ไปวดั เพื่อปฏิบตั ิธรรม ฟังพระธรรมเทศนา ๓. ร่วมกศุ ลธรรม \"ตกั บาตรเทโว\" ๔. ปัดกวาดบา้ นเรือนใหส้ ะอาด ประดบั ธงชาติ ตามอาคารบา้ นเรือนและสถานท่ีราชการและ ประดบั ธงชาติและธงธรรมจกั รตามวดั และ สถานท่ีสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ๕. ตามสถานที่ราชการ สถานท่ีศึกษาและท่ีวดั ควรจดั ใหม้ ีนิทรรศการ การบรรยายหรือ บรรยายธรรม เก่ียวกบั วนั ออกพรรษาฯลฯ เพือ่ ใหค้ วามรู้แก่ประชาชนและผสู้ นใจทวั่ ไป

หนา้ 21วนั โกน คือ วนั ข้ึน ๗ ค่า กบั ๑๔ ค่า และแรม๗ ค่า กบั แรม ๑๔ ค่า ของทุก เดือน ( หรือ แรม๑๓ ค่า หากตรง กบั เดือนขาด ) ซ่ึงเป็นวนั ก่อนวนั พระ ๑ วนั นน่ั เองวนั พระ หรือ วนั ธรรมสวนะ คือ วนั ข้ึน ๘ ค่ากบั ๑๕ ค่า และ แรม ๘ ค่า กบัแรม ๑๕ ค่า ของทุกเดือน ( หากตรงกบั เดือนขาด อาจเป็น แรม ๑๔ ค่า )

หนา้ 22 ประวตั ิความเป็ นมา ในสมยั พทุ ธกาล พระเจา้ พิมพสิ าร ไดเ้ ขา้ เฝ้ า พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ และกราบทูลวา่ นกั บวชศาสนาอ่ืนมีวนั ประชุมสนทนา เกี่ยวกบั หลกั ธรรม คาสง่ั สอนในศาสนาของ เขา แต่วา่ ศาสนาพทุ ธยงั ไม่มี พระพทุ ธองคจ์ ึง ทรงอนุญาตใหภ้ ิกษุสงฆป์ ระชุมสนทนาและ แสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชน ในวนั ๘ ค่า ๑๔ ค่า และ ๑๕ค่า พทุ ธศาสนิกชนจึงถือเอาวนั ดงั กล่าวเป็น วนั ธรรมสวนะ( สาหรับวนั ธรรมสวนะน้ี เมืองไทยมีมาต้งั แต่สมยั กรุงสุโขทยั )

หนา้ 23วนั ขึน้ (แรม) ๘, ๑๔ และ ๑๕ คา่ กาหนดโดย ถือการเปลี่ยนแปลงของพระจนั ทร์ จากเดือนเตม็ ดวงจนถึงเดือนมืด และกลบั เป็นเดือนเตม็ ดวงอีกคร้ัง โดยคืนพระจนั ทร์เตม็ดวงเรียก ข้ึน ๑๕ ค่า พระจนั ทร์ค่อย ๆ ดบั นบั แรม ๑ ค่า ๒ ค่า ตามลาดบัถึง ๑๕ ค่า เป็นวนั พระจนั ทร์ดบั พอดี จากน้นั เริ่มนบั ข้ึนจากวนั ข้ึน ๑ ค่า ๒ค่า จนถึงข้ึน ๑๕ ค่า เป็นวนั พระจนั ทร์เตม็ ดวงอีกคร้ังหน่ึง เป็นอนัครบรอบ ๑ เดือน (ดูรูปประกอบ)

หนา้ 24ศีลท่ีนิยมถือในวนั พระ คอื ศีล ๘ อนั ได้แก่๑.เวน้ จากการฆ่า๒.เวน้ จากการลกั ขโมย๓.เวน้ จากการเสพกาม๔.เวน้ จากการพดู โกหก๕.เวน้ จากการด่ืมสุราและเมรัย๖.เวน้ จากการบริโภคอาหารหลงั จากเท่ียงวนั แลว้๗.เวน้ จากการตกแต่งร่างกายดว้ ยเครื่องประดบั และของหอมและเวน้ จากการดูการละเล่นต่างๆ๘.เวน้ จากการนอนที่นอนอนั อ่อนนุ่มและสูงใหญ่

หนา้ 25ความหมาย เน่ืองดว้ ยอฏั ฐมีคือวนั แรม ๘ ค่า แห่งเดือนวสิ าขะ (เดือน ๖) เป็นวนั ที่ถือกนั วา่ ตรงกบั วนั ถวายพระเพลิงพระพทุ ธสรีระ เมื่อถึงวนั น้ีแลว้พทุ ธศาสนิกชนบางส่วน ผมู้ ีความเคารพกลา้ ในพระพทุ ธองค์ มกั นิยมประกอบพธิ ีบูชา ณ ปูชนียสถานน้นั ๆ วนั น้ีจึงเรียกวา่ \"วนั อฏั ฐมีบูชา\"

หนา้ 26ประวตั ิความเป็ นมา เมื่อพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ปรินิพพานแลว้ ๘ วนั มลั ลกษตั ริยแ์ ห่งนครกสุ ินาราพร้อมดว้ ยประชาชน และพระสงฆอ์ นั มีพระมหากสั สปเถระเป็นประธานไดพ้ ร้อมกนั กระทาการถวายพระเพลิงพทุ ธสรีระ ณ มกฏุ พนั ธนเจดีแห่งกรุงกสุ ินารา วนั น้นั เป็นวนั หน่ึงที่ชาวพทุ ธตอ้ งมีความสงั เวชสลดใจ และวปิ โยคโศกเศร้าเป็นอยา่ งยง่ิ เพราะการสูญเสียแห่งพระพทุ ธสรีระ เมื่อวนั แรม ๘ ค่าเดือน ๘ ซ่ึงนิยมเรียกกนั วา่ วนั อฏั ฐมีน้นั เวยี นมาบรรจบแต่ละปี พทุ ธศาสนิกชนบางส่วน โดยเฉพาะพระสงฆแ์ ละอุบาสกอุบาสิกาแห่งวดัน้นั ๆ ไดพ้ ร้อมกนั ประกอบพิธีบชู าข้ึน เป็นการเฉพาะภายในวดั เช่นท่ีปฏิบตั ิกนั อยใู่ นวดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏ์ิ เป็นตน้ แต่จะปฏิบตั ิกนั มาแต่เม่ือใดไม่พบหลกั ฐาน ปัจจุบนั น้ีกย็ งั ถือปฏิบตั ิกนั อยู่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook