Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

โครงงานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

Published by PhimPHILAI .P, 2022-07-27 10:26:22

Description: โครงงานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

Search

Read the Text Version

คำนำ โครงงานเรื่อง “เล่นแล้วเก็บเข้าที่ เด็กดีมีความรับผิดชอบ” นี้เป็นส่วนหนึง่ ของการจัดกิจกรรมตาม โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ ห้องเรียนของข้าพเจ้าจึงจัดทำโครงงานน้ีขึ้นเพื่อนำเสนอวิธีการที่จะทำให้ นักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ได้นำหลักธรรมคำสอนมาปรับใช้ให้นักเรียนในชั้นเรียนเป็นคนที่มีความ รับผดิ ชอบ ซ่งึ ก็ไดแ้ ก่ คุณธรรม ๓๘ ประการ โครงงานน้ีได้รวบรวมเนอื้ หามาจากอินเทอร์เน็ต คณะผู้จัดทำต้องขอขอบคุณครูที่ปรึกษาทุกท่านที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำโครงงาน คณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ที่อ่านโครงงานนี้จะได้รับความรู้จากโครงงาน และคงจะเป็นประโยชน์กับท่านผู้อ่าน ทุกๆ ท่าน โครงงานเลม่ น้อี าจมสี ิ่งใดผดิ พลาดก็ขออภยั มา ณ โอกาสนี้ นกั เรียนชั้น ป.๑ ผู้จัดทำ

สารบญั บทท่ี หน้า บทท่ี ๑ บทนำ ๑ บทที่ ๒ เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง ๓ บทที่ ๓ วิธีการดำเนนิ งาน ๑๐ บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษาค้นคว้า ๑๑ บทท่ี ๕ สรุปผล ๑๒ ภาคผนวก - รูปภาพ

บทท่ี ๑ บทนำ ๑. ท่ีมาและความสำคญั จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบปัญหาอย่างหนึ่งคือ นักเรียนไม่มีความ รบั ผิดชอบ ซงึ่ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น นักเรียนไม่รจู้ กั วธิ กี ารเก็บของให้เข้าที่ของตนเอง ทำให้ของใช้หายบ่อย ๆ และไม่มีความสวยงาม เป็นระเบียบ จากปัญหาดังกล่าว พวกเราจึงได้หาวิธีการแก้ไขปัญหา โดยการจัดทำ โครงงานเรื่อง “เล่นแล้วเก็บเข้าที่ เด็กดีมีความรับผิดชอบ” เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบและเห็น ความสำคญั ของการจัดส่งิ ของทใี่ ช้งานเสรจ็ แล้วให้เขา้ ที่ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๑ เพ่ือฝึกให้นักเรยี นชั้น ป.๑ มีความรบั ผดิ ชอบ ๒. เพ่ือสร้างวินัยให้แก่นกั เรียนช้นั ป.๑ ๓. เพื่อสร้างลักษณะนิสัยท่ีดีใหแ้ ก่นกั เรียนชนั้ ป.๑ ๓. ขอบเขตของโครงงาน ๑. ระยะเวลาในการดำเนินงาน คือ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๒. แหล่งคน้ คว้าขอ้ มูล คือ ครผู ูร้ ู้ ปราชญ์ชาวบ้าน ห้องสมดุ อนิ เทอร์เน็ต ๔. กลุ่มเปา้ หมาย เชิงปริมาณ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ จำนวน ๑๐ คน เชงิ คณุ ภาพ นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ร้อยละ ๘๐ มีความรับผิดชอบรู้จักรกั ษาสิ่งของของตัวเองมากขึน้ ๕. หลกั ธรรมทีน่ ำมาใช้ มงคล ๓๘ ประการ ประการที่ ๙ มีวินยั ทด่ี ี วินยั กค็ อื ขอ้ กำหนด ข้อบังคบั กฏเกณฑ์เพือ่ ควบคมุ ให้มีความเปน็ ระเบยี บนัน่ เอง มีทั้งวนิ ยั ของสงฆ์และ ของคนทั่วไป สำหรับของสงฆ์นั้นมีทั้งหมด ๗ อย่างหรือเรียกว่า อนาคาริยวินัย ส่วนของบุคคลทั่วไปก็มี ๑๐ อยา่ ง คอื การละเวน้ จากอกศุ ลกรรม ๑๐ ประการ

อิทธบิ าท ๔ อิทธิบาท ๔ เป็นแนวทางการเรียน การทำงานให้ประสบความสำเร็จที่พระพุทธองค์ได้ทรงสดับไว้ อยา่ งแยบคลาย อนั ประกอบด้วยแนวปฏิบัติ ๔ ขอ้ คอื ฉันทะ วริ ิยะ จิตตะ วมิ ังสา ซ่ึงใคร ๆก็ท่องได้ จำได้แต่จะ มสี ักกี่คนทปี่ ฏบิ ัตไิ ด้ครบกระบวนความทัง้ ๔ ข้อ อนั เปน็ ๔ ขน้ั ตอนทตี่ อ่ เพ่ือหนนุ เสริมกัน จะขาดข้อใดข้อหน่ึง ไม่ได้ด้วยว่ามันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงกันทั้ง ๔ ข้อ จึงจะทำให้เราประสบผลสำเร็จในชีวิตและการงานได้ ตามความมุ่งหวัง พระราชดำรสั การทำความดนี น้ั ทำยากและเหน็ ผลช้า แต่จำเปน็ ตอ้ งทำ เพราะหาไมแ่ ล้วความช่วั ซง่ึ ทำง่ายจะเขา้ มา แทนทีแ่ ละพอกพูนอย่างรวดเรว็ พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช พระราชทานแก่ผสู้ ำเร็จการศึกษาที่โรงเรียนนายรอ้ ยตำรวจ สวนอัมพร วนั ท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๒๕ ความเช่อื มโยงสคู่ ณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ • ความรับผิดชอบ • ความมวี นิ ัย ๖. พฤติกรรมบง่ ชเ้ี ชงิ บวก ๑. นกั เรยี นทำงานท่ไี ด้รบั มอบหมายให้สำเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี ๒. นักเรียนรู้จักบทบาทหนา้ ทขี่ องตนเองและมคี วามรับผดิ ชอบในการเกบ็ ของเขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อย ๗. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั ๑. นักเรียนเปน็ ผทู้ ่ีมคี วามรับผดิ ชอบและคำนึงถงึ ประโยชนส์ ่วนรวม ๒. นกั เรยี นรู้จกั ความสามัคคี เห็นคุณคา่ ของการทำงานร่วมกนั

บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง อทิ ธิบาท ๔ อิทธิบาท ๔ เป็นแนวทางการเรียน การทำงานให้ประสบความสำเร็จที่พระพุทธองค์ได้ทรงสดับไว้ อยา่ งแยบคลาย อนั ประกอบด้วยแนวปฏิบตั ิ ๔ ขอ้ คอื ฉันทะ วริ ยิ ะ จติ ตะ วมิ ังสา ซึ่งใคร ๆกท็ ่องได้ จำได้แต่จะ มีสกั กคี่ นท่ปี ฏิบัติได้ครบกระบวนความทั้ง ๔ ข้อ อันเป็น ๔ ขัน้ ตอนท่ตี ่อเพื่อหนนุ เสรมิ กัน จะขาดข้อใดข้อหน่ึง ไม่ได้ด้วยว่ามันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงกันทั้ง ๔ ข้อ จึงจะทำให้เราประสบผลสำเร็จในชีวิตและการงานได้ ตามความมุ่งหวงั ขออธิบายดังตอ่ ไปนี้ ๑. ฉันทะ คือ การมีใจรักในสิ่งที่ทำด้วยใจที่รักอันเกิดจากความศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งที่ทำ จึงจะเกิดผลจริงตามควร เราคงเคยได้ยินคำว่า “ขอฉันทามติจากที่ประชุม” บ่อย ๆหรือ “มีฉันทะร่วมกัน” ก่อนเลิกการประชุมบางอันเป็นเสมือนสัญญาระหว่างกันว่าเราจะทำสิ่งนั้นนี้ร่วมกันหรือละเว้นบางสิ่งร่วมกัน ซึ่งความเขา้ ใจในขอ้ นี้คิดวา่ ถกู เพียงครงึ่ เดยี ว เพราะความหมายของ “ฉันทะ” นั้น ไมใ่ ช่แปลวา่ เป็นสัญญาภาษา กระดาษหรือสัญญาท่ีให้ไว้กับมวลหมู่สมาชิกเท่านั้น หากแต่เป็นสัญญาใจและเป็นใจที่ผกู พนั เป็นที่ศรทั ธาและ เชื่อมั่นต่อสิ่งนั้นอยู่เต็มเปี่ยมจึงจะเกิดความเพียรตามมา เปรียบได้กับนักวิจัยที่ศรัทธาและเชื่อม่ันในแนวคิว แนวปฏิบัตขิ องงานวิจัยเพอ่ื ทอ้ งถิน่ ซ่งึ อาจมีมากน้อยต่างกัน คงไมม่ ใี ครบอกได้นอกจากตวั นกั วจิ ยั เองและผลของ งานที่เกดิ ขน้ึ จริงเปน็ ที่ประจกั ษ์ตอ่ สาธารณะชน ๒. วิริยะ คือ ความมุ่งมั่นทุ่มเท เป็นความมุ่งมั่นทุกเททั้งกายและใจ ที่จะเรียนรู้และทำให้เข้าถึง แก่นแท้ของสิ่งนั้นเรื่องนั้น ถ้าหากกระทำก็จะทำจนเชี่ยวชาญจนเป็นผู้รู้ ถ้าหากศึกษาก็จะศึกษาให้รู้จนถึง รากเหง้าของเร่อื งราวนั้น ๆ ดงั นัน้ คำวา่ “วิรยิ ะ” จงึ หมายถงึ ความเพียรพยายามอย่างสูงท่ีจะทำตามฉันทะหรือ ศรทั ธาของตวั เองเพ่อื อะไรน้นั ผลงานทเ่ี ขาทำจะชี้ชัดออกมาเองว่าทำเพอื่ อะไร ดังนัน้ นักวจิ ัยท้องถ่ิน จึงต้องมี ใจท่ีรกั ต่อคนทอ้ งถ่ินและรักตอ่ การทำงานวจิ ัยเพือ่ แก้ปัญหาคนท้องถนิ่ อนั เป็นศรัทธาสงู สดุ หากไม่เป็นเช่นน้ัน ก็ ไดแ้ ต่เพยี งศรทั ธาปากเปล่าท่ีไรแ้ ม้เงาของความมงุ่ ม่ันและท่มุ เท หากแตม่ ีศรทั ธาอ่ืนใหค้ รุ่นคิดและกระทำอยู่ ๓. จิตตะ คอื ใจที่จดจ่อและรับผิดชอบ เม่อื มใี จทจี่ ดจ่อแล้วก็จะเกิดความรอบคอบตาม คำน้ีย่ิงใหญ่ มากปจั จบุ ัน สงั คมซบั ซอ้ น มีส่งิ ใหม่ ๆ เกิดขึน้ มากมาย แตล่ ะคนมีภาระหน้าท่ี ทีต่ อ้ งทำมากมาย ไมร่ ้จู ะทำอะไร ก่อนเวลาอ่านหนังสือก็คิดถึงงานที่รับผิดชอบ เวลาอ่านทำงานก็คิดว่าต้องอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ ไมส่ ามารถมีจิตจดจอ่ อย่กู บั สิง่ ใดสิ่งหนึ่งได้นาน ผลคือ ทำอะไรก็ไม่ดีสกั อย่างทำผดิ ๆ ถกู ๆ อยู่อย่างน้ัน ๔. วิมังสา คือ การทบทวนในสิ่งที่ได้คิดได้ทำมา อันเกิดจาก การมีใจรัก แล้วทำด้วยความมุ่งมั่น อย่างใจจดใจจ่อและรบั ผิดชอบ โดยใช้วิจารณญาณอย่างรอบรู้และรอบคอบ จึงนำไปสูก่ ารทบทวนตัวเอง และ ทบทวนองค์กรหรือทบทวนกระบวนการ ทบทวนในสิง่ ที่ได้คิดสิง่ ทีไ่ ด้ทำผ่านมา ว่าเกิดผลดีผลเสียอย่างไร ทั้งที่ เปน็ เรอื่ งสว่ นตัวของเราเองและเปน็ เรอื่ งที่รว่ มคดิ ร่วมทำกับคนอืน่ เพื่อปรับปรุงแกไ้ ขให้ดยี ิ่งขึน้

ดังนั้น “อิทธิบาท ๔” จึงมีความหมายกับคนรุ่นใหม่ ที่ต้องการจะเดินทางไปในสู่ความสำเร็จในชวี ติ และการงาน เพราะหากทำได้ตามกระบวนความแลว้ สังคมความรู้ ชมุ ชนความรู้ และปัจเจกชนความรู้ คงอยู่ไม่ ไกลเกินฝนั ประการสำคญั “อิทธบิ าท ๔” ไม่ไดเ้ กดิ ขนึ้ อย่างโดดเดี่ยวจากหลกั ธรรมข้ออ่นื ๆอนั เป็นองค์รวมและ เชื่อมโยงถึงกัน เพียงแต่อธิบายคนละบทบาทเท่านั้นสิ่งสำคัญ เราได้ใคร่ครวญในเรื่องเหล่านี้มากน้อยเพียงใด เพราะ ในโลกปัจจุบนั โลกท่สี ังคม อวิชชามามากจนเกิดลน้ จงึ กลายเป็นโลกทฉ่ี าบฉวยและวุ่นวายสงู สุด น่ันแปลว่าเราต้องฝึกฝนตนเองหลายเท่าตัวเพื่อจะเข้าใจและเข้าถึงหลักธรรมที่ก่อเกิดการพัฒนา ทเี่ ป็นจุดเริ่มต้นของตนเองอยา่ งแท้จริง ภาระหน้าที่และความรบั ผิดชอบของบุคคล การกระทำหรือการแสดงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นไปตามความคาดหวังตามตำแหน่งในอาชีพหรื อ ตำแหน่งที่สงั คมกำหนดข้ึน ซึ่งโครงสร้างของบทบาทประกอบด้วย ลักษณะที่เฉพาะของแต่ละบุคคล การแสดง พฤติกรรมและตำแหน่งที่ครองอยู่ หรือพฤติกรรมที่คนในสังคมต้องทำตามสถานภาพในกลุ่มหรือสังคมโดย บทบาท (Role) สามารถแยกได้ ๔ ประเภทหลกั ดงั น้ี ๑. บทบาทท่ีคาดหวงั (Role expectation) ทุกสังคมจะมีบทบาทให้ทุกคนปฏิบตั ติ ามแต่ละสถานภาพ ๒. บทบาทท่กี ระทำจริง (Role performance) ในชวี ติ จรงิ ทกุ คนอาจไมไ่ ดป้ ฏิบตั ติ ามบทบาทที่สงั คม กำหนดไว้ เพราะต้องปรับตวั ให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ ๓. บทบาทที่ขัดแย้ง (Role conflict) การอยใู่ นสังคมทุกคนจะมีบทบาทที่ต้องกระทำแตกต่างกัน หลายบทบาท การแสดงบทบาทหลายบทบาทในเวลาเดยี วกนั ๔. บทบาททีถ่ กู บงั คับ (Role strain) หากในการกระทำตามบทบาทนนั้ เกิดความไมเ่ ต็มใจท่ีจะทำ ตามบทบาททก่ี ำหนดไว้ การที่บุคคลมีบทบาทต่อสังคม และปฏิบัติตามหน้าที่ที่สังคมยอมรับ มีความสำคัญเป็นอันมาก เพราะทำให้การจัดระเบียบสังคมดีขึ้น เป็นการควบคุมสังคมให้เป็นระเบียบ ถ้าคนไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ตาม บทบาทของตนในสงั คมให้สมกบั สถานภาพท่ีได้รับ ก็จะทำใหส้ งั คมเสยี ระเบียบ ทำให้เกิดปัญหาและความยุ่งยาก ใหแ้ ก่สงั คม แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทซ่ึงสรุปไดว้ า่ บทบาทจะตอ้ งประกอบดว้ ยลกั ษณะ ๔ ประการ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. รู้สภาพของตนในสังคม ๒. คำนงึ ถงึ พฤติกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ผอู้ ่ืน ๓. คำนึงถงึ พฤตกิ รรมทีเ่ กี่ยวกบั ผู้อนื่ และ ๔. ประเมินผลการแสดงบทบาทของตนเอง หนา้ ท่ี (DUTY) หมายถึง ภาระรับผดิ ชอบของบุคคลที่จะตอ้ งปฏิบตั ิ เช่น หน้าทีข่ องบดิ าทม่ี ีต่อบุตร เป็นต้นความสอดคล้องของสถานภาพและบทบาทของบุคคลท่มี าของหนา้ ที่

๑. ผลจากการที่คุณเป็นมนุษย์ ๒. ผลจากการทีเ่ ป็นส่วนหนึ่งของชีวติ คนอื่น ๓. เปน็ หลกั ในการในความประพฤติหนึ่งของบคุ คล ๔. เปน็ ส่ิงคาดหวงั ของตนในการท าหน้าท่ตี ามคุณธรรม ความรับผิดชอบ RESPONSIBILITY หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อ ตั้งใจ มุ่งมั่นตอ่ หน้าทีก่ ารงาน การศึกษาเล่าเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และ ผู้อยู่ในความดูแล ตลอดจน สังคม อยา่ งเต็มความสามารถ เพือ่ ใหบ้ รรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาท่ีกำหนด ยอมรับผล การกระทำ ทั้งผลดีและผลเสียที่เกิดขึ้น รวมทั้งปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นเป็นความผูกพันในการที่จะปฏิบัติ หน้าที่ให้ สำเร็จลุล่วงไปได้ และความสำเร็จนี้เกี่ยวข้องกับปัจจัย ๓ ประการ คือ พันธะผูกพัน หน้าที่การงาน และ วัตถปุ ระสงคแ์ บง่ ประเภทความรบั ผดิ ชอบไว้ ดงั น้ี ๑. ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง การรับรู้ฐานนะและบทบาทของตนที่เป็นส่วนหน่ึงของสังคม จะตอ้ งดำรงตนให้อยใู่ นฐานนะท่ชี ่วยเหลอื ตัวเองได้ รจู้ กั วา่ ส่งิ ใดถูก สิ่งใดผิด ยอมรับผลการกระทำของตนเองท้ัง ทเี่ ปน็ ผลดแี ละผลเสยี เพราะฉะน้ันบคุ คลทม่ี คี วามรบั ผิดชอบในตนเองยอ่ มจะไตรต่ รองดูใหร้ อบคอบกอ่ นวา่ สิง่ ท่ี ตนเองทำลงไปน้นั จะมผี ลดีผลเสยี หรอื ไม่และจะเลอื กปฏิบตั ิแต่สิง่ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดผลดเี ท่านน้ั ๒. ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง ภาระหน้าที่ของบุคคลที่จะต้องเกี่ยวข้อง และมีส่วนร่วมต่อ สวัสดิภาพของสังคมที่ตนเองดำรงอยู่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหลายสิ่งหลายอย่าง ตั้งแต่สังคมขนาดเล็ก ๆ จนถึงสังคมขนาดใหญ่ การกระทำของบคุ คลใดบุคคลหนึง่ ย่อมมผี ลกระทบตอ่ สังคมไม่มากกน็ ้อย บุคคลทุกคนจึง ต้องมีภาระหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบทจี่ ะตอ้ งปฏบิ ัตติ อ่ สงั คม ดงั ต่อไปน้ี ๒.๑ ความรับผิดชอบตอ่ หน้าท่ีพลเมอื ง ได้แก่ การปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของสังคม การรักษา ทรัพยส์ ินของสังคม การชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื และการใหค้ วามรว่ มมือกบั ผ้อู ื่น ๒.๒ ความรับผิดชอบต่อครอบครัว ได้แก่ การเคารพเชื่อฟังผู้ปกครอง การช่วยเหลืองานบ้าน และการรกั ษาชื่อเสียงของครอบครัว ๒.๓ ความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ได้แก่ ความตั้งใจเรียน การเชื่อฟังครู–อาจารย์ การปฏิบัติ ตามกฎของโรงเรยี นและการรกั ษาสมบตั ขิ องโรงเรยี น ๒.๔ ความรับผิดชอบต่อเพื่อน ได้แก่ การช่วยตักเตือนแนะนำเม่ือเพื่อนกระทำผิด การช่วยเหลือ เพื่อนอย่างเหมาะสม การให้อภัยเมื่อเพื่อนทำผิดการไม่ทะเลาะและ เอาเปรียบเพื่อน และการเคารพสิทธิ ซ่ึงกันและกนั บทบาท หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบตามหลักศาสนาศาสนาพทุ ธ ทศิ 6 : บคุ คลประเภทตา่ งๆ ทเ่ี ราต้องเก่ยี วขอ้ งสัมพนั ธท์ างสังคม ดุจทิศทีอ่ ย่รู อบตัว ๑. ปรุ ตั ถิมทิศ (ทิศเบอ้ื งหนา้ คือ ทิศตะวันออก ได้แก่ มารดาบิดา เพราะเปน็ ผ้มู ีอุปการะแกเ่ รามากอ่ น

ก. บตุ รธิดาพึงบำรุงมารดาบิดา ผเู้ ป็นทิศเบือ้ งหน้า ดังนี้ ๑) ทา่ นเลีย้ งเรามาแล้ว เลีย้ งทา่ นตอบ ๒) ช่วยทำการงานของท่าน ๓) ดำรงวงศ์สกลุ ๔) ประพฤติตนใหเ้ หมาะสมกับความเป็นทายาท ๕) เมื่อทา่ นลว่ งลบั ไปแลว้ ทำบญุ อุทศิ ให้ท่าน ข. บิดามารดายอ่ มอนุเคราะหบ์ ุตรธดิ า ดังน้ี ๑) ห้ามปรามจากความชัว่ ๒) ให้ต้ังอยู่ในความดี ๓) ให้ศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา ๔) หาคู่ครองท่ีสมควรให้ ๕) มอบทรัพย์สมบัติใหใ้ นโอกาสอันสมควร ๒. ทกั ขิณทิศ (ทิศเบื้องขวา คือ ทิศใต้ ได้แก่ ครูอาจารย์ เพราะเปน็ ทักขไิ ณยบุคคล ควรแกก่ ารบูชาคณุ ก. ศษิ ยพ์ ึงบำรุงครอู าจารย์ ผู้เปน็ ทศิ เบ้ืองขวา ดังน้ี ๑) ลุกตอ้ นรับ ๒) เขา้ ไปหา (เพอ่ื บำรุง คอยรบั ใช้ ปรึกษา และรับคำแนะนำ เป็นต้น) ๓) ใฝ่ใจเรียน (คือ มีใจรัก เรยี นด้วยศรทั ธา และรจู้ ักฟังใหเ้ กิดปัญญา) ๔) ปรนนบิ ัติ ช่วยบรกิ าร ๕) เรยี นศลิ ปวิทยาโดยเคารพ (คือ เอาจรงิ เอาจัง ถอื เป็นกจิ สำคัญ) ข. ครูอาจารย์ยอ่ มอนุเคราะหศ์ ษิ ย์ ดังนี้ ๑) ฝกึ ฝนแนะนำให้เป็นคนดี ๒) สอนใหเ้ ข้าใจแจม่ แจง้ ๓) สอนศลิ ปวทิ ยาให้สิน้ เชงิ ๔) ยกย่องใหป้ รากฏในหมู่คณะ ๕) สรา้ งเครื่องคมุ้ ภัยในสารทศิ (สอนฝึกให้รู้จกั เล้ียงตวั รักษาตนในอันที่จะดำเนนิ ชวี ิต ต่อไปดว้ ยดี) ๓. ปจั ฉิมทศิ (ทศิ เบ้ืองหลงั ทิศตะวันตก ได้แก่ บุตรภรรยาเพราะตดิ ตามเปน็ กำลังสนบั สนนุ อยู่ขา้ งหลงั ก. สามบี ำรุงภรรยา ผเู้ ปน็ ทิศเบื้องหลัง ดงั น้ี ๑) ยกย่องให้เกียรตสิ มกบั ฐานะท่ีเป็นภรรยา ๒) ไม่ดหู มนิ่

๓) ไมน่ อกใจ ๔) มอบความเป็นใหญใ่ นงานบ้านให้ ๕) หาเครือ่ งประดบั มาให้เปน็ ของขวญั ตามโอกาส ข. ภรรยาย่อมอนเุ คราะห์สามี ดงั นี้ ๑) จัดงานบา้ นให้เรยี บร้อย ๒) สงเคราะห์ญาตมิ ิตรท้ังสองฝ่ายด้วยดี ๓) ไม่นอกใจ ๔) รักษาทรพั ยส์ มบัติทหี่ ามาได้ ๕) ขยันไมเ่ กียจครา้ นในงานท้ังปวง ๔. อตุ ตรทศิ (ทิศเบื้องซ้าย ทิศเหนอื ได้แก่ มติ รสหาย เพราะเปน็ ผูช้ ว่ ยใหข้ า้ มพน้ อุปสรรคภยั อนั ตราย และเป็นกำลงั สนบั สนนุ ใหบ้ รรลุความสำเร็จ ก. บคุ คลพึงบำรงุ มิตรสหาย ผเู้ ป็นทศิ เบอื้ งซ้าย ดังน้ี ๑) เผอ่ื แผ่แบง่ ปนั ๒) พดู จามีน้ำใจ ๓) ชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กนั ๔) มตี นเสมอ รว่ มสุขรว่ มทุกข์กนั ๕) ซ่ือสัตยจ์ ริงใจตอ่ กนั ข. มิตรสหายย่อมอนุเคราะห์ตอบ ดงั น้ี ๑) เมอ่ื เพ่อื นประมาท ชว่ ยรกั ษาปอ้ งกนั ๒) เมือ่ เพือ่ นประมาทชว่ ยรักษาทรพั ย์สมบัติของเพือ่ น ๓) ในคราวมภี ัย เป็นทีพ่ ง่ึ ได้ ๔) ไม่ละทิ้งในยามทกุ ขย์ าก ๕) นับถอื ตลอดถงึ วงศ์ญาติของมติ ร ๕. เหฏฐมิ ทศิ (ทิศเบ้อื งลา่ ง ได้แก่ คนรบั ใชแ้ ละคนงาน เพราะเปน็ ผู้ช่วยทำการงานตา่ งๆ เป็นฐานกำลังให้ ก. นายพงึ บำรงุ คนรับใช้และคนงาน ผูเ้ ปน็ ทิศเบ้ืองล่าง ดงั นี้ ๑) จดั การงานให้ทำตามความเหมาะสมกับกำลังความสามารถ ๒) ให้ค่าจ้างรางวลั สมควรแกง่ านและความเป็นอยู่ ๓) จัดสวัสดกิ ารดี มชี ว่ ยรกั ษาพยาบาลให้ยามเจ็บไข้ เปน็ ต้น ๔) ไดข้ องแปลกๆ พเิ ศษมา กแ็ บง่ ปันให้

๕) ให้มวี ันหยุดและพักผอ่ นหย่อนใจตามโอกาสอันควร ข. คนรับใชแ้ ละคนงานย่อมอนเุ คราะห์นาย ดงั น้ี ๑) เริ่มทำการงานกอ่ นนาย ๒) เลิกงานทีหลงั นาย ๓) ถอื เอาแต่ของทนี่ ายให้ ๔) ทำการงานใหเ้ รียบรอ้ ยและดียิง่ ข้นึ ๕) นำเกยี รตคิ ณุ ของนายไปเผยแพร่ ๖. อุปริมทศิ (ทิศเบือ้ งบน ได้แก่ สมณะพราหมณ์ คือ พระสงฆ์ เพราะเป็นผสู้ งู ด้วยคณุ ธรรม และ เป็นผนู้ ำทางจติ ใจ ก. คฤหัสถ์ยอ่ มบำรุงพระสงฆ์ ผเู้ ป็นทศิ เบ้ืองบน ดังนี้ ๑) จะทำส่ิงใด กท็ ำด้วยเมตตา ๒) จะพูดสิง่ ใดก็พูดดว้ ยเมตตา ๓) จะคิดสิง่ ใด ก็คิดด้วยเมตตา ๔) ต้อนรบั ด้วยความเต็มใจ ๕) อุปถัมภ์ด้วยปัจจยั ๔ ข. พระสงฆย์ อ่ มอนุเคราะหค์ ฤหสั ถ์ ดงั น้ี ๑) หา้ มปรามจากความชว่ั ๒) ใหต้ งั้ อยู่ในความดี ๓) อนุเคราะหด์ ้วยความปรารถนาดี ๔) ให้ไดฟ้ ังสง่ิ ทีย่ งั ไม่เคยฟงั ๕) ทำสง่ิ ท่เี คยฟงั แล้วให้แจ่มแจง้ ๖) บอกทางสวรรค์ คือทางชวี ิตทีม่ ีความสขุ ความเจรญิ เหน็ วา่ บุคคลแต่ละคนยอ่ มจะมี ความสมั พันธต์ อ่ กนั ไม่โดยฐานะใดก็ฐานะหน่งึ และความสัมพันธข์ ัน้ มลู ฐานในสงั คมที่ควรจะ ไดร้ ับการปรับปรุง

บทท่ี ๓ วธิ กี ารดำเนินงาน ๑. ข้นั ตอนการดำเนินงาน ๑. นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และครูประจำชนั้ ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกย่ี วกบั การดำเนนิ งานภายในหอ้ งเรยี น เช่น การแต่งต้ังหวั หนา้ หอ้ งเรยี น จัดตง้ั เวรประจำวันและการแต่งต้งั เกบ็ รกั ษาสง่ิ ของภายในชั้นเรียนทใ่ี ช้แล้วให้เข้าท่ใี หเ้ รียบร้อย ๒. เลือกหัวหนา้ เวรประจำวันและใหส้ มาชิกแต่ละคนเลือกเวรประจำวนั ตามความสมัครใจ ๓. จดั ทำแนวปฏบิ ัตแิ ละข้อตกลงในการปฏิบตั หิ น้าที่เวรแตล่ ะวัน ๔. ทกุ คนปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๕. สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงาน ๖. สรปุ และประเมนิ ผล โดยใช้เครื่องมือประเมิน คือ แบบบันทึกการตรวจเวรประจำวัน ๗. เสนอแนะ ปรับปรงุ แกไ้ ข ๘. จดั ทำรปู เลม่ ๙. จดั ทำบอรด์ โครงงาน ๑๐. นำเสนอโครงงาน ๒. ตวั ช้ีวัด ๑. นกั เรียนมพี ฤติกรรมที่พึงประสงค์ รู้จกั ความรับผิดชอบและมีวนิ ยั ในตนเองมากขึ้น ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ ได้ผลลัพธใ์ นระดบั รอ้ ยละ ๘๐ ๓. วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล ๑. สังเกตพฤตกิ รรม

บทที่ ๔ ผลการศกึ ษาค้นควา้ จากการทำโครงงาน “เล่นแลว้ เก็บเข้าท่ี เด็กดมี คี วามรับผดิ ชอบ” ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์โดยเริ่มจากการประชุมปรึกษาหารือเกีย่ วกบั การดำเนินงานภายในห้องเรยี น เชน่ การแตง่ ต้งั หัวหนา้ ห้องเรยี น การแตง่ ตั้งเวรประจำวัน ฯล การเลอื กหัวหน้า เวรประจำวันและให้สมาชกิ แต่ละคนเลือกเวรประจำวนั ตามความสมัครใจ จดั ทำแนวปฏบิ ัติและข้อตกลงในการ ปฏิบัตหิ น้าทีเ่ วรแต่ละวัน ทกุ คนปฏิบตั ิหนา้ ท่ีตามที่ได้รับมอบหมาย โดยใหเ้ วรแตล่ ะวันรบั ผิดชอบการตรวจ และ เกบ็ ของเขา้ ท่ใี ห้เรียนร้อยในทกุ ๆ วัน และสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ าน สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งาน ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า ๑. นกั เรยี นทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมโครงงาน “เลน่ แลว้ เกบ็ เขา้ ที่ เด็กดีมีความรับผิดชอบ” มคี วามรับผิดชอบและมวี นิ ัยใน ตนเองมากขน้ึ ๒. ผลการตรวจชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ร้อยละ ๘๐ มีความรบั ผิดชอบมากขน้ึ

บทที่ ๕ สรุปผล สรุปผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานโครงงาน “เล่นแล้วเก็บเข้าที่ เด็กดีมีความรับผิดชอบ” ของนักเรียนชั้นช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เพอ่ื แก้ปัญหานักเรียนช้ันชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ โดยสรุปผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ ๑. นกั เรียนทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงงาน “เล่นแลว้ เกบ็ เขา้ ท่ี เด็กดมี ีความรับผิดชอบ” มีความรบั ผดิ ชอบและ มีวนิ ยั ในตนเองมากขึน้ ๒. ผลการตรวจชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ รอ้ ยละ ๘๐ มีความรับผิดชอบมากข้ึน ข้อเสนอแนะ ๑. ควรขยายผลไปยังนักเรียนทกุ หอ้ งเรยี นในโรงเรียน ๒. ควรจดั ทำโครงงานน้อี ย่างตอ่ เนื่องเพื่อให้นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบและมีวนิ ัยในตนเองอย่างยง่ั ยนื ของลกั ษณะนิสัย ๓. ควรมกี ารพัฒนาสอ่ื คุณธรรมในรปู แบบต่าง ๆ เพอ่ื กระตุน้ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคไ์ ดด้ ยี ิง่ ข้ึน

ภาคผนวก






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook