Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

Published by สุวิมล ทองใส, 2022-02-14 21:28:12

Description: รายละเอียดและแนวทางการอบรมหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) 2022

Search

Read the Text Version

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) Department of Nursing, King Chulalongkorn Memorial Hospital

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) ชือ่ โครงการ หลักสูตรฝกึ อบรมระยะส้นั Advanced Critical and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) ชือ่ ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรหลักสูตรฝกึ อบรมระยะสน้ั Advanced Critical and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) หลักการและเหตุผล พยาบาลวิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วยวิกฤตเด็ก และทารกแรกเกิดต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการ ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤต สามารถทาหัตถการ โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและอุปกรณ์การแพทย์ที่ทันสมัยในการ ช่วยชีวิตและเฝ้าระวังการทางานของอวัยวะต่างๆ ของเด็กป่วยวิกฤตได้อย่างปลอดภัย เนื่องจากปัจจุบันจานวน ผู้ป่วยเด็ก และทารกแรกเกิดที่มีภาวะวิกฤตมีจานวนเพิ่มมากข้ึน โรคมีความซับซ้อน ร่วมกับปัจจุบันมีการใช้ เทคโนโลยีการรักษาข้ันสูงในการรักษาผู้ป่วยวิกฤตเด็กและทารกแรกเกิดเพ่ิมมากข้ึน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในระดับตติยภูมิ ท่ีมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมการดูแลรักษาผู้ป่วย วกิ ฤตเดก็ และทารกแรกเกดิ พยาบาลท่ีดูแลผูป้ ่วยจาเป็นต้องได้รบั การพฒั นาสมรรถนะดา้ นการพยาบาลผู้ป่วยกลุ่ม น้ี เพื่อให้สามารถดูแล และให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้องค์ความรู้เฉพาะทางการดูแลผู้ป่วยใน ระยะวกิ ฤตที่มีความทนั สมัย และเกดิ ความปลอดภัยกับผู้รับบรกิ าร ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงจัดหลักสูตร ฝึกอบรมระยะสั้น Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) เพ่ือพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพของพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตเด็ก และทารกแรกเกิดอย่างต่อเนื่อง โดย มุ่งเน้นผลลัพธ์การพยาบาลเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาการดูแลและคุณภาพการบริการท่ีเกิดประโยชน์สูงสูดต่อผู้ป่วย วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร เพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะด้านการดแู ทรกและผปู้ ว่ ยเดก็ ทอี่ ยู่ในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน แก่พยาบาลวชิ าชพี ทป่ี ฏบิ ัตงิ านในหอผปู้ ่วยหนัก

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) สมรรถนะของผู้ผา่ นการอบรม ภายหลังจบหลกั สตู ร ผ้เู ข้าอบรมจะตอ้ งมสี มรรถนะดงั น้ี 1. ประเมินภาวะสุขภาพทารกและผู้ปว่ ยเด็กวกิ ฤตโดยใช้ advanced health assessment ได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพและทนั เวลา 2. ใชก้ ระบวนการพยาบาลและองค์ความร้เู ฉพาะดา้ นในการตดั สนิ ใจทางคลินิกและใหก้ ารพยาบาลทารก และเด็กในภาวะวิกฤตทีม่ ีความซบั ซอ้ นได้ 3. ใหก้ ารพยาบาลทารกและผปู้ ว่ ยเด็กภาวะวกิ ฤตรายบุคคล และครอบครัวโดยคานงึ ถงึ ผลลัพธ์ทางการ พยาบาลเฉพาะโรค และยดึ หลกั 2P safety 4. มีทักษะในการสบื คน้ เอกสารงานวิจัยท่มี คี วามทันสมัย เพื่อนามาใช้ในการดแู ลทารกและผ้ปู ่วยเดก็ ระยะ วิกฤตได้ โครงสรา้ งหลักสูตร จานวนชัว่ โมงรวมตลอดหลกั สตู ร จานวน 93 ช่วั โมง (15 วัน) ภาคทฤษฎี จานวน 67 ชัว่ โมง 9 ช่ัวโมง Workshop/simulation จานวน 14 ชวั่ โมง 3 ชวั่ โมง Case conference/journal club จานวน ศกึ ษาดูงาน จานวน

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) สมรรถนะของผู้ผา่ นการอบรม ภายหลังจบหลกั สตู ร ผ้เู ข้าอบรมจะตอ้ งมสี มรรถนะดงั น้ี 1. ประเมินภาวะสุขภาพทารกและผู้ปว่ ยเด็กวกิ ฤตโดยใช้ advanced health assessment ได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพและทนั เวลา 2. ใชก้ ระบวนการพยาบาลและองค์ความร้เู ฉพาะดา้ นในการตดั สนิ ใจทางคลินิกและใหก้ ารพยาบาลทารก และเด็กในภาวะวิกฤตทีม่ ีความซบั ซอ้ นได้ 3. ใหก้ ารพยาบาลทารกและผปู้ ว่ ยเด็กภาวะวกิ ฤตรายบุคคล และครอบครัวโดยคานงึ ถงึ ผลลัพธ์ทางการ พยาบาลเฉพาะโรค และยดึ หลกั 2P safety 4. มีทักษะในการสบื คน้ เอกสารงานวิจัยท่มี คี วามทันสมัย เพื่อนามาใช้ในการดแู ลทารกและผ้ปู ่วยเดก็ ระยะ วิกฤตได้ โครงสรา้ งหลักสูตร จานวนชัว่ โมงรวมตลอดหลกั สตู ร จานวน 93 ช่วั โมง (15 วัน) ภาคทฤษฎี จานวน 67 ชัว่ โมง 9 ช่ัวโมง Workshop/simulation จานวน 14 ชวั่ โมง 3 ชวั่ โมง Case conference/journal club จานวน ศกึ ษาดูงาน จานวน

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) รายละเอยี ดการเรียนรู้

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) รายละเอยี ดการเรียนรู้

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) รายละเอียดการเรียนรู้ วธิ ีการจดั การเรยี นการสอน 1) การบรรยาย 2) การอภิปราย 3) การฝึกปฏบิ ัติกลุม่ ย่อย 4) การเรียนรโู้ ดยใชส้ ถานการณ์เสมอื นจรงิ (Simulation Based Learning) 5) การนาเสนอ Case Conference / Clinical Case Discussion / Journal Club 6) การศกึ ษาดงู าน สื่อการเรียนรู้ 1) LCD Projector และ สือ่ Power Point 2) เอกสารประกอบการสอน 3) Simulations

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) การวัดและการประเมินผล รอ้ ยละ 50 1) คะแนนการสอบในสถานการณ์จาลอง รอ้ ยละ 30 2) คะแนนรายงานและการนาเสนอ Clinical case discussion ร้อยละ 10 3) คะแนนการนาเสนอวารสารสโมสร Journal club ร้อยละ 10 4) คะแนนการบนั ทึกประสบการณ์ เกณฑ์การประเมินผล คะแนนรวมไดเ้ ทา่ กบั ร้อยละ 80 ข้ึนไป ถือวา่ ผ่าน ระยะเวลาในการฝกึ อบรม 15 วัน (ระหว่างวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ – 1 เมษายน 2565) คณุ สมบตั ผิ เู้ ข้าอบรม 1. สาเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี 2. ประสบการณป์ ฏิบตั ิงานเป็นพยาบาลประจาการหน่วยวกิ ฤต และอบุ ัตเิ หตุฉุกเฉินตดิ ต่อกันมากกวา่ 1 ปี ข้นึ ไป 3. มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ช้ันหน่ึง หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ช้ันหนึ่งท่ีเป็น ปจั จุบัน จานวนผเู้ ขา้ อบรม พยาบาลวิชาชพี ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จานวน 49 คน สถานที่ฝึกอบรม โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย วิทยากร ประกอบดว้ ยวิทยากรผมู้ คี วามรู้ ความชานาญเฉพาะสาขาจาก 1. ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 2. ศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการแพทย์ ด้านการปลกู ถ่ายอวัยวะ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย 3. ฝา่ ยวิสัญญวี ิทยา โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย 4. ฝ่ายอายรุ ศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 5. วทิ ยากรจากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

กาหนดการหลกั สตู รฝึกอบรมระยะสน้ั Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

กาหนดการหลกั สตู รฝึกอบรมระยะสน้ั Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

กาหนดการหลกั สตู รฝึกอบรมระยะสน้ั Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

กาหนดการหลกั สตู รฝึกอบรมระยะสน้ั Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric)

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) กาหนดการศกึ ษาดงู าน ณ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย หลักสูตรฝึกอบรมระยะส้ัน Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal & Pediatric) วนั ที่ 28 มนี าคม 2565 เวลา 13.00 – 16.00 น. กาหนดการดงู านแต่ละหอผ้ปู ว่ ย 40 นาที เวลาในการหมุนเวียนกลมุ่ 10 นาที

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) Journal Club Guideline การทาวารสารสโมสร หรือ Journal Club ทางการพยาบาลนับเป็นส่ิงสาคัญสาหรับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ของพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินเป็นการอ่าน/ทบทวนความรู้ใหม่ๆ เพ่ือปรับปรุงการพยาบาลผู้ป่วยใน ความรับผิดชอบของตนเอง นาไปสู่การพัฒนาการดูแลและคุณภาพการบริการที่เกิดประโยชน์สูงสูดต่อผู้ป่วย รวมทง้ั แสดงออกถึงความสามารถในการเขา้ ถึง new evidence based practice ของพยาบาล วตั ถปุ ระสงค์การทา Journal club 1. เพือ่ การศึกษาองคค์ วามรใู้ หมจ่ ากการศึกษางานวิจยั 2. เพ่อื ฝกึ ประสบการณ์ และการเรยี นรู้การอา่ นและประเมนิ งานวิจัย 3. เพอื่ พฒั นาการดแู ลผูป้ ว่ ยอย่างตอ่ เนอ่ื งและใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ Journal club schedule ผเู้ ขา้ อบรมรบั ผดิ ชอบนาเสนอ Journal Club คนละ 1 เรือ่ ง การเลอื ก article เพอ่ื นาเสนอ Journal Club 1. เลือกบทความวิจัย (research article) ทางการพยาบาล ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเฉพาะทางใน บรบิ ทของตนเอง 2. สามารถเลือก research article ทางการแพทยไ์ ด้ ในกรณีทม่ี คี วามสาคญั ตอ่ การพยาบาล 3. ควรเลอื กบทความวจิ ยั แบบ randomized control trial (RCT) หรือ งานวจิ ยั เชิงทดลอง จะมีประโยชน์ต่อ การนาไปพัฒนาบริการพยาบาลเฉพาะสาขา 4. เลอื กบทความวจิ ยั ทม่ี คี วามทนั สมยั ไม่ควรเกิน 5 ปี 5. ผูเ้ ข้าอบรมสามารถเข้าถึงฐานข้อมูล full text ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของ หอผู้ป่วยที่ฝึกปฏิบัติงาน หรือ ห้องทรงประทานศูนย์การเรียนรู้ อาคารพยาบารสถิต โดยสามารถขอรหัส VPN คณะแพทยศาสตร์ ไดท้ ่ี อาคาร อปร.ช้ัน 8 FAME appraisal model F Feasibility ลักษณะ/โอกาส/ความเป็นไปได้ทจี่ ะนางานวจิ ยั ไปใชใ้ นการดูแลผปู้ ว่ ย ประสิทธิภาพ A Appropriateness M Meaningfulness ผลลพั ธ์ของ intervention ทไ่ี ดม้ าจากงานวิจยั E Effectiveness ความเหมาะสมกับบริบทหนว่ ยงาน วชิ าชีพ หรอื ความเช่ือ การรบั รูด้ ้านสงั คม วฒั นธรรม ว่ามีความเหมาะสมท่ีจะนางานวจิ ยั ไปประยุกต์ใชก้ บั ผ้ปู ว่ ยได้ งานวจิ ยั นน้ั มคี ่า มีความหมายตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร หนว่ ยงาน ซึ่งอาจเก่ียวขอ้ งกับประสบการณ์ การรับรู้ในอดีต ความชอบ/ไมช่ อบ lifestyle ส่วนบคุ คล ความคมุ้ ค่าคมุ้ ทนุ ดา้ นราคาเทยี บกับผลลพั ธท์ อี่ าจแสดงเป็นราคาวดั คา่ ได้ กบั ผลลพั ธ์ ทางคลนิ กิ

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) การนาเสนอ นาเสนอโดยใช้ Power point เรอื่ งละประมาณ 20 นาที โดยมีองคป์ ระกอบดังน้ี: 1. Topic Background สว่ นน้เี ป็นการนาเสนอ 1.1 ชอ่ื Article ใหน้ าเสนอในลกั ษณะทสี่ ามารถนาไปใช้ในการอ้างองิ ได้ 1.2 Topic: อธิบาย topic หลกั ของ article เชน่ new Operating Technique, New nursing intervention, etc. บอกเหตุผลที่ผนู้ าเสนอเลอื ก topic นี้ 2. Study Methodology and Results ในสว่ นน้ใี หน้ าเสนอเนื้อหางานวจิ ัยทเ่ี ลือกมา สามารถสรุปเปน็ diagram/รูปภาพ ท่ที าให้ผู้ฟงั เข้าใจง่ายข้ึน หัวขอ้ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น - Introduction - Conceptual framework (ถ้ามี) - Research objective/Hypotheses - Research Methodology : Population, Setting, Research variable/outcome & measure, Intervention, Data collection, Ethical consideration และ Data analysis - Result - Discussion 3. Present your critical appraisal 4. สรปุ Sum up. Derive your conclusion and how these results will affect your practice Group discussion หลังการนาเสนองานวิจยั แลว้ เปิดโอกาสให้ผูฟ้ ังมีส่วนร่วมในการวพิ ากษ์วจิ ารณ์งานวจิ ัย และอภปิ ราย รว่ มกันวา่ งานวิจยั ทนี่ ามานาองค์ความรู้ใหมม่ าใช้ในหน่วยงานได้อย่างไร ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที การประชาสมั พันธ์ Journal Club ผนู้ าเสนอ Journal club มีหน้าทีร่ ับผิดชอบในการทาส่อื ประชาสมั พันธ์ ใหพ้ ยาบาลและบคุ ลากรทางการแพทยท์ ี่ เกย่ี วขอ้ งเขา้ ร่วม Journal club รวมท้ังแจกเอกสาร หรอื ไฟล์เอกสารให้กบั ผู้เขา้ ฟังลว่ งหนา้ อย่างน้อย 1 สัปดาห์ ไฟล์เอกสารทีต่ อ้ งสง่ กอ่ นการนาเสนอ โดยส่งให้กบั Nurse coordinator ประจาสาขาของผเู้ ขา้ อบรม ลว่ งหนา้ อยา่ ง น้อย 1 สปั ดาห์ ชอ่ งทางการส่งงาน ตามท่ี Nurse coordinator ประจาสาขาแจ้ง 1. Hand out power point 2. PDF file research article

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric)

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) Clinical Case Discussion Guideline การทา clinical case discussion เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมการใช้ความรู้เชิงวิชาชีพ การใช้กระบวนการ พยาบาล และการใชค้ วามคิดเชิงวิเคราะห์ในการดูแลผปู้ ่วย เปา้ หมายหลกั ของการทา clinical case discussion คอื 1. เพื่อให้พยาบาลได้รับการพัฒนาความรู้ทางคลินิกและกระบวนการตัดสินใจทางคลินิก โดยใช้ข้อมูลของผู้ป่วยที่ ศึกษาเป็นหลัก ในลักษณะของ Case-based learning (CBL) 2. เปิดโอกาสให้พยาบาลที่มีประสบการณ์น้อยได้นาเสนอความรู้และกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์ของตนเอง และ พยาบาลท่ีมีประสบการณ์สูงกว่า มีโอกาสแบ่งปันความรู้และประสบการณ์แก่พยาบาลประสบการณ์น้อยกว่า โดยใช้ ทัง้ explicit และ tacit knowledge 3. พัฒนาความสามารถทางการพยาบาลควบคู่ไปกับความสามารถด้านวิชาการและการใช้งานวิจัยเพ่ือสนับสนุนการ พยาบาล 4. พัฒนาความสามารถด้านการสอ่ื สาร และการนาเสนองานวชิ าการ การเลือก case ท่ีน่าสนใจ ในการนามาทา clinical case discussion น้ัน ข้ึนกับว่าผู้เข้าอบรมกาลังอบรมในชุด การเรียนรู้ (module) ใดขอให้พิจารณาให้ตรงกับเน้ือหาและวัตถุประสงค์ของชุดการเรียนรู้ ท้ังนี้สามารถปรึกษา พยาบาลพเ่ี ลยี้ ง unit-based CNE หวั หนา้ หอผปู้ ่วย หรอื NRP coordinator โดยมีกระบวนการขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ผู้เข้าอบรมวางแผนการนาเสนอ ตามวันที่ เวลา ในตารางการนาเสนอกิจกรรม academic activity ของหลักสูตร ร่วมกับ NRP Coordinator ในสาขา กรณีท่ีมีเหตุจาเป็นต้องเลื่อนกาหนดเวลาการนาเสนอ ให้ผู้เข้าอบรมรับผิดชอบ ตนเองโดยการขอสลับวันเวลากับผู้เข้าอบรมคนอื่น และแจ้งให้หัวหน้าหอผู้ป่วย และ NRP coordinator ทราบเพื่อ การบริหารจดั การตารางเวลาทเ่ี หมาะสม โดยอยใู่ นกรอบของกาหนดการอบรม 2. ผ้เู ข้าอบรม ต้องปรกึ ษากบั อาจารยพ์ ยาบาลพเี่ ล้ยี งประจาหอผู้ป่วยของตน ในการเลือก case ที่เหมาะสมในการทา clinical case discussion พยาบาลพี่เลี้ยง อาจปรึกษา unit-based CNE หรือ หัวหน้าหอผู้ป่วย หรือ NRP coordinator เพิม่ เตมิ ทง้ั นีข้ อใหข้ อคาปรกึ ษาลว่ งหน้า 3. หา้ มมิให้ผเู้ ขา้ อบรมเลอื ก case เอง หรือทา clinical case discussion โดยไม่ผ่านการแนะนาของพยาบาลพ่ีเล้ียง หรือ ปรึกษาเมื่อจะถึงกาหนดการนาเสนอแล้วโดยไม่วางแผนการทางานมาก่อน เนื่องจากพยาบาลพี่เลี้ยงเป็นผู้มี ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์สูงกวา่ และสามารถมองประเดน็ ของ case ทนี่ ่าสนใจไดอ้ ย่างครอบคลุม อันจะ ทาให้มีทิศทางในการศึกษาที่เป็นประโยชน์และสามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง มิฉะนั้นแล้วจะเป็นการ เสียเวลาของทุกคน

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) 4. การรวบรวมข้อมูลของ case ที่ศึกษาให้รวบรวมให้ครบถ้วนท้ังจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทาง ห้องปฏิบตั ิการ การทบทวนเวชระเบยี น และประมวลออกมาเปน็ ข้อมูลของผู้ปว่ ยทค่ี รบถ้วนถกู ต้อง 5. ในการนาเสนอ powerpoint ห้ามมิให้คัดลอก พยาธิสรีรวิทยา ทฤษฎี ต่างๆ มาไว้แบบแยกส่วน ให้แสดงพยาธิ สรีรวทิ ยาของ case ทศ่ี กึ ษาโดยบูรณาการความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ตารา บทความวิจัย หรือ guideline มาอธบิ าย และอ้างองิ เอกสารทจี่ าเปน็ และเกีย่ วข้อง 6. การเขียน point of interest ให้เลือกประเด็นท่ีสนใจ และเป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์ในการนามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ มานาเสนอในเชิงลึก ทั้งนี้ ประเด็นท่ีน่าสนใจของแต่ละ case น้ัน พยาบาลพ่ีเล้ียงประจาหอผู้ป่วยจะสามารถให้ คาปรกึ ษาได้เปน็ อย่างดี 7. ควรนาเอกสารต่างๆ เช่น operative note, vital sign form, anesthetic record หรือ บันทึกอ่ืนๆท่ีใช้จริงใน การปฏิบัติงานมาแสดงและวิเคราะห์ จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการปฏิบัติจริง โดยไม่จาเป็นต้องคัดลอก เนื้อหา มาลงบน power point 8. ควรนารูปผลการตรวจ เช่น 12-lead EKG, EEG, CXR, CT, CAG หรือการตรวจอื่นๆ ท่ีพยาบาลต้องอ่านและ แปลผลขณะปฏิบัติงานจริง มาใช้ในการนาเสนอ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการสอนงานโดยพยาบาลพี่เลี้ยง และ CNE เพื่อชว่ ยกนั พัฒนาทักษะการอา่ นและแปลผลการตรวจตา่ งๆของผู้เขา้ อบรม 9. นาเสนอ Clinical case discussion ด้วยสื่อ power point presentation ตามวันเวลาที่กาหนด โดยใช้เวลา 20 นาทีตอ่ การนาเสนอ 1 case และใช้เวลา 10 นาที ในการ discussion case 10. ส่ง powerpoint ก่อนนาเสนอ 3 วัน เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมฟังการนาเสนอได้ทาความเข้าใจกับเน้ือหา และพยาบาล พ่ีเล้ียง/unit-based CNE ได้มีเวลาในการศึกษาเพ่ิมเติม เพื่อนาความรู้ และประสบการณ์มาเพิ่มเติมให้ผู้เข้าอบรม ได้มากทสี่ ุด อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อทั้งผู้นาเสนอ และผเู้ ขา้ ร่วม conference 11. หากมีคาแนะนาเพิ่มเติมจากผู้เข้าร่วม conference ให้ผู้อบรมปรับปรุง แก้ไข เพ่ิมเติม ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และ ส่งให้อาจารย์พ่ีเลี้ยง unit-based CNE ตรวจสอบให้เรียบร้อย ก่อนส่งมายัง NRP coordinator ภายใน 2 สัปดาห์ หลงั การนาเสนอ 12. ขอให้พึงระลึกเสมอว่า Clinical case discussion เป็นการใช้ case ผู้ป่วยเพ่ือการพัฒนาความรู้ความสามารถ ในการดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยด้วยระบบ Chula total care ที่พยาบาล ตอ้ งใหก้ ารดูแลผู้ป่วยอยา่ งเปน็ องค์รวม ดังน้ัน การทา Clinical case discussion จึงเป็นช่วงเวลาทีม่ ปี ระโยชน์ในการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้วยบรรยากาศของความเป็นมิตร การเป็นเพื่อนร่วมงาน และความปรารถนาดี ในการพัฒนางาน และพฒั นาวชิ าชีพการพยาบาล

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric) Point of Interest (ส่วนนใี้ ห้เลอื กเฉพาะ focus ที่สนใจ เพียงเรอ่ื งเดยี ว มานาเสนอในเชงิ ลกึ ) ประเดน็ ทส่ี นใจ ข้อมูลทีเ่ กย่ี วขอ้ ง (เฉพาะทเ่ี ก่ียวข้องกบั point of interest เท่านั้น) ส่วนน้ใี หร้ ะบุ - ขอ้ มูลของผูป้ ่วย การตรวจร่างกาย การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ในสว่ นท่เี ก่ยี วข้องกบั ประเด็นทส่ี นใจ มานาเสนอ - การรักษาพยาบาลท่ผี ู้ป่วยรายนีไ้ ดร้ ับ - evidence ท่ีเป็นปัจจบุ ัน ทันสมยั และเป็นสากล ในการพยาบาลผูป้ ว่ ยในประเด็นท่สี นใจ evidence ท่นี ามา อาจ เป็น งานวิจัย หรอื มาตรฐาน หรือ guideline หรือ protocol ระดับสถาบนั ระดับประเทศ หรอื ระดับนานาชาติ ควรมกี ารอา้ งอิงมาตรฐาน/แนวปฏิบัติ/guideline/งานวจิ ยั ในการประเมิน การพยาบาล การวัดผลลัพธ์ ระดับ นานาชาติ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ฉบบั ประเดน็ จรยิ ธรรมท่ีเกีย่ วขอ้ ง ระบปุ ระเด็นจรยิ ธรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกบั เคสทนี่ ามาศกึ ษา เป็นประเดน็ ที่เส่ียงตอ่ การเกดิ หรอื เกิดข้นึ แล้ว ขอ้ สรปุ และข้อเสนอแนะ ส่วนนี้ ให้สรปุ เคส พรอ้ มท้งั ใหข้ ้อเสนอแนะ ในการปรบั ปรุงการดูแล/การพยาบาลผูป้ ว่ ย ให้ดีขึน้ กว่าเดิม ตาม ความเห็นของผเู้ ข้าอบรม หมายเหตุ: การทา Clinical Case Discussion กาหนดให้มกี ารศึกษาที่ครอบคลุมและสอดคล้องกบั ชุดการเรยี นรู้ตาม Requirement NRP ปีท่ี 2 ไดแ้ ก่ NCN305 การสง่ เสรมิ ภาวะโภชนาการในทารกแรกเกดิ ระยะวกิ ฤต (PBRT NICU) หรือ PCN305 การจัดการภาวะโภชนาการในเด็กระยะวิกฤต (PBRT PICU)

Advanced Critical Care and Emergency Care Nursing (Neonatal&Pediatric)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook