Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจ

เศรษฐกิจ

Published by taninthornnuchanrum, 2022-08-23 05:10:33

Description: เศรษฐกิจ

Search

Read the Text Version

เศรษฐกิจ พอเพียง ตามโครงการพระราชดำริ

คำนำ การอยู่แบบพออยู่ พอกิน ตามพระราชดำริของในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบัน เพราะมีทั้งมากเกินไป และน้อยเกินไปซึ่งอาจจะไม่ใช่เพราะมีเงินมาก หรือมีเงินน้อย เพราะคนที่ “รวยจริง” ไม่ใช่คนที่มีเงินมาก แต่เพราะรู้จักพอ เพียงต่างหาก และคน “จนจริง” คือ คนที่ไม่รู้จักพอ มาก เท่าไรก็ยังไม่พอ ก

สารบัญ ก ข คำนำ 1 สารบัญ 2-3 เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4 การดำเนินชีวิตตามแนว พระราชดำริพอเพียง 5 พระบรมฉายาลักษณ์ ค อ้างอิง ข

เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร? “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงชี้แนวทางการดำเนินชีวิตแก่ปวงชนชาวไทยมาเป็น ระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อมุ่งให้ พสกนิกรได้ดำรงชีวิตอยู่ได้ อย่างยั่งยืน มั่นคงและปลอดภัย ภายใต้ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามกระแสโลกาภิวัตน์ อีกทั้ง พระองค์ทรงได้พระราชทานความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้ เป็นภาษาอังกฤษ ว่า Sufficiency Economy ดังพระราชดำรัชที่ได้ ทรงตรัสไว้เมื่อ วันที่ 23 ธันวาคม 2554 1

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ และเงื่อนไข 2 ประการ หรือที่เรียกว่า 3 ห่วง 2 เงื่อนไข คือ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการ บริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอ เพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่ เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลก ระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความ เป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล 2

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข 1. เงื่อนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติ ปัญญาในการดำเนินชีวิต 3

การดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อได้พระราชทานแนวพระราชดำริ หรือพระบรม รขาอโงชปวราทะชในาชด้นาดน้ตว่ยางเๆพื่อจไะมท่ใรห้งเค กิำดนคึงวถาึงมวขิัถดีชีแวิยต้งทสาภงาคพวสาัมงคคิมด ที่อาจนำไปสู่ความขัดแย้งในทางปฏิบัติได้ แนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความ ฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการ ค้าแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึง ขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ 5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตาม หลักศาสนา 4

พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 5

อ้างอิง เศรษฐกิจพอเพียง - มูลนิธิชัยพัฒนา https://www.chaipat.or.th https://www.moneybuffalo.in.th/saving-tips Thyoaun!k ค

ขอบคุณครับ ด.ช.ธนินท์ธร นุชาญรัมย์ ม.2/6 เลขที่ 20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook