Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปสาระสำคัญ-แรงบันดาลใจแห่งชีวิต

สรุปสาระสำคัญ-แรงบันดาลใจแห่งชีวิต

Published by namjay2559, 2019-08-17 01:23:27

Description: สรุปสาระสำคัญ-แรงบันดาลใจแห่งชีวิต

Search

Read the Text Version

8.3.3.2 มติ ดิ ้านอาหาร อาหารเป็นหนง่ึ ในปัจจยั ส่ีที่สําคญั ควรเลือก รับประทานอาหารให้เหมาะ ถกู หลกั โภชนาการ เกิดประโยชน์ และประหยดั เช่น พวก ข้าว ก็ควรเลือกข้าวกล้อง พวกข้าวเหนียว ขนมจีนควรหลีกเล่ียง พวกผกั ควร เลือกผกั สดใบเขียว หลีกเลี่ยงผกั กระป๋ อง พวกผลไม้ ก็เลือกผลไม้สดๆ เช่น ชมพู่ ฝร่ัง หลีกเล่ียงผลไม้สกุ หวาน เช่น มะม่วงสกุ หรือหวานจดั เช่น ลําไย องุ่น หรือ พวกทุเรียนควรงดไปเลย สําหรับพวกเนือ้ สัตว์ไม่ควรรับประทานมาก หากจําเป็ น จะต้องรับประทานควรเลือกเนือ้ ปลา ไข่ขาว ควรเล่ียงเนือ้ ติดมนั เคร่ืองในสตั ว์ตา่ งๆ พวกนมควรเลือกนมจืดปราศจากไขมนั หลีกเลี่ยงนมสด นมข้นหวาน พวกเคร่ืองด่ืม ดีที่สุดคือนํา้ เปล่า หลีกเลี่ยงกาแฟ โดยเฉพาะที่ใส่นม ส่วนนํา้ อัดลมควรงดและ ควรเลือกอาหารท่ีต้ม ลวก นงึ่ หลีกเล่ียงการเผา ปิง้ ยา่ ง ทอด แกงตา่ งๆ ควรเลี่ยงแกง ใส่กะทิ อาหารภูมิปัญญาไทยที่ใส่สมุนไพร พวกขิง ข่า ตะไคร้ ใบโหระพา กระชาย ใบมะกรูด ล้วนมีประโยชน์ เชน่ ต้มยา หรือแกงส้ม นํา้ พริกผกั ตา่ งๆ 8.3.3.3 มิติการออกกําลังกาย การออกกําลังกายสมํ่าเสมอ จะช่วยสร้ างสุขภาพได้อย่างยอดเยี่ยม ซึ่งนอกจากจะได้ ผลดีต่อกล้ามเนือ้ แล้ว ยังได้ผลดีต่อหัวใจ ปอด และระบบไหลเวียนเลือดอีกด้ วย การออกกําลังกาย สม่ําเสมออย่างพอเหมาะ ทําให้สมองหลงั่ สารสุข ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพ ทําให้สดช่ืน กระปรีก้ ระเปร่า โดยออกกําลงั กายวนั ละ 30-60 นาที ประมาณ 3-5 ครัง้ ตอ่ สปั ดาห์ หรือเสริมด้วยการมีกิจกรรมของร่างกายในชีวิตประจําวัน เช่น การเดินขึน้ บันได แทนการขนึ ้ ลิฟตใ์ นที่ทํางานก็จะช่วยได้ดีขนึ ้ 8.3.3.4 มิติด้ านอนามัยสิ่งแวดล้ อม มิตินีม้ ีความสําคัญ ด้วยการทําให้ทุกๆ ส่ิงรอบตวั เราเอือ้ อํานวย และเป็ นประโยชน์ต่อการสร้ างเสริม สุขภาพ เช่น สิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่มีมลพิษ มีการอนุรักษ์ธรรมชาติให้ มีความสมดุล เช่น มีต้นไม้ จะให้ความร่มร่ืน ผ่อนคลาย แล้วต้นไม้ใหญ่ๆ จะช่วยกําจัดพิษคือดูด คาร์บอนไดออกไซด์แล้วยังคลายอากาศบริสุทธิ์เป็ นออกซิเจนอีกด้ วย มีระบบ สาธารณูปโภคที่ดี เช่น มีนํา้ สะอาดบริโภคอย่างพอเพียง มีระบบบําบดั นํา้ เสียท่ีมี ประสิทธิภาพ มีระบบการจราจรที่ดีปลอดภยั มีระบบกําจดั สิ่งปฏิกลู ที่ดี ชมุ ชนน่าอยู่ 96 I GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ

ผ้คู นมีความร่วมมือสามัคคี เคารพในกฎเกณฑ์ มีวินยั ทงั้ ชุมชนยงั ปลอดอบายมุข โดยเฉพาะยาเสพตดิ ไมส่ บู บหุ ร่ี ไมด่ ่ืมสรุ า มีองคค์ วามรู้ในชมุ ชน สนบั สนนุ ผลกั ดนั ให้ ผ้คู นมีอนามยั สว่ นบคุ คลที่ดี รู้จกั การป้ องกนั โรค มีระบบการเฝ้ าระวงั โรคการสขุ าภิบาล ที่ดี มีการสนบั สนนุ งบประมาณ องค์กรและบคุ ลากรในการดําเนินการเพ่ือสร้างเสริม สขุ ภาพอยา่ งเพียงพอ 8.3.4 ตวั อยา่ งของแรงบนั ดาลใจสพู่ ฤตกิ รรมสขุ ภาวะ วสุ สุรัติอันตรา ผู้ร่วมก่อตงั้ บริษัท ปุริ จํากัด แบรนด์ผลิตภัณฑ์ ลกั ส์ชวั รี่สกินแคร์และอโรมาเธอราปี “ปัญญ์ปรุ ิ” และสปาออร์แกนิกสดุ หรู “ปัญญ์ปรุ ิ ออร์แกนิก สปา” ผู้ดูแลด้านฝ่ ายขายทัง้ หมดของบริษัท รวมถึงยังรับหน้าที่เป็ นท่ี ปรึกษาด้านสปา (Spa Consultant) ให้กบั โรงแรมและสปาระดบั แนวหน้าทงั้ ในและ ต่างประเทศ นักธุรกิจหนุ่มไฟแรงผู้รักสุขภาพและการออกกําลังกาย วัย 40 ปี ซง่ึ แนน่ อนวา่ “เวลา” ของนกั ธุรกิจหนมุ่ คนนีจ้ งึ หมดไปกบั การทํางาน และการเดนิ ทาง แต่ถึงกระนนั้ คุณวสุก็ยงั ให้ความสําคญั ในการจัดสรรเวลาเพื่อออกกําลงั กายและ ฝึ กซ้อม “ไตรกีฬา” กีฬาที่เขารัก อย่างสม่ําเสมอ เพื่อเป้ าหมายสูงสุดในการพิชิต สนาม Iron Man ระดบั นานาชาตสิ กั ครัง้ ในชีวติ โดยได้ให้แรงบนั ดาลใจ สําหรับมือใหม่ที่อยากลองไตรกีฬาไว้ว่า ขอให้รวบรวมความกล้า พยายามหาแรงจูงใจ เช่น อยากเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ สุขภาพดีขึน้ จากนัน้ ก็ศึกษาและลงมือทํา เพราะเชื่อว่ากีฬาทุกอย่างไม่ยากเกิน ความสามารถ ส่วนใครที่เร่ิมซ้อมและอยากลงแขง่ ขนั ครัง้ แรก ต้องสงั เกตว่าร่างกาย พร้อมหรือยงั ใจพร้อมหรือเปล่า เพราะแท้จริงแล้วกีฬาประเภทนีไ้ ม่ได้อาศยั เฉพาะ ความแข็งแรงของร่างกาย แตย่ งั ต้องใช้จิตใจท่ีเตม็ เปี่ ยมไปด้วยความมงุ่ มนั่ ตงั้ ใจและ สติที่แน่วแน่ในการควบคมุ ร่างกายและคิดแก้ไขสถานการณ์เพื่อให้ถึงเส้นชยั อย่าง ปลอดภยั ด้วย” GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต I 97

จาก 4 แรงบนั ดาลใจ ส่สู ขุ ภาวะท่ีเป็ นประสบการณ์ แนวคิด และตวั อย่าง ผ้เู ขียนหวงั ว่า จะเป็ นกญุ แจที่นําไปสแู่ รงบนั ดาลใจสพู่ ฤตกิ รรมสขุ ภาวะได้ เพราะผล ของการมีพฤติกรรมสุขภาวะจะทําให้ มนุษย์มีสุขภาพดีและมีชีวิตยืนยาวอย่างมี คณุ ภาพ สรุป กลา่ วโดยสรุปอวยั วะทกุ ส่วนภายในร่างกายของมนษุ ย์ล้วนมีหน้าท่ีสําคญั หากมีการใช้งานอย่างพอดี และมีการออกกําลงั กายเหมาะสม จงึ จะมีความแข็งแรง การออกกําลังกายช่วยเสริมสร้ างให้ ร่างกายแข็งแรงและทําให้มีอายุยืนยาวได้ การสร้ างแรงบนั ดาลใจสู่พฤติกรรมสุขภาวะจะช่วยให้เกิดการปรับเปล่ียนกระบวน ทศั น์ เพื่อให้เกิดความตระหนกั ในการดแู ลสขุ ภาพและปรับเปล่ียนพฤติกรรม ซ่งึ จะเป็ น การสร้ างความเข้มแข็ง และพัฒนาศักยภาพของบุคคล เพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดี เพ่ือชีน้ ําสงั คมให้ตระหนกั ถงึ การสร้างเสริมสขุ ภาพ และเพื่อให้มีสขุ ภาพดีอยา่ งยง่ั ยืน (Health for All and Sustainability) 98 I GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ

บรรณานุกรม ภาษาไทย กองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ. (2554). หนังสือก่อให้เกิดแรงบันดาลใจสู่ การให้และการแบ่งปัน. กองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพกรุงเทพฯ . กองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุขภาพ. (2550). ๙ ย่างตามรอยเท้าพ่อ. คู่มือ สร้างแรงบันดาลใจจากในหลวงถึงเยาวชน. กองทนุ สนบั สนนุ การสร้าง เสริมสขุ ภาพกรุงเทพฯ . คโุ รยานางิ เท็ตสึโกะ. (2524). โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง. แปลจาก Totto- chan: The Little Girl at the Window. แปลโดย ผุสดี นาวิจิต.กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ผีเสือ้ . จินดารัตน์ โพธ์ินอก. การรู้คดิ [ออนไลน์], แหลง่ ท่ีมา: http://www.royin.go.th/?knowledges [ 16 พฤษภาคม 2562] จิราภรณ์ ตงั้ กิตตภิ าภรณ์. จิตวิทยาบุคลิกภาพและพฤติกรรมสุขภาพ. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2559 ดารงศกั ดิ์ ชยั สนทิ และสนุ ี เลศิ แสวงกิจ. (2540). การพัฒนาบุคลกิ ภาพ. กรุงเทพฯ: วงั อกั ษร. เดน่ เดชา ประทมุ เพช็ ร. (2551). เคลด็ ลับการเสริมสร้างสุขภาพท่ดี ี. ผ้จู ดั การออน์ ไลน์. เตชิต เฉยพ่วง. Inspired by Fashion Diaries. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: ห้างห้นุ สว่ น จากดั ภาพพมิ พ์, 2560 นิภา นิธยายน. (2530). การปรับตวั และบุคลิกภาพ:จิตวิทยาการศึกษาและชีวิต. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. นา้ ทิพย์ วิภาวิน. (2552). Reading Literacy,Information Literacy and ICT Literacy. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, ปี ท่ี2 ปี การศกึ ษา 2552.

บณั ฑิต อึง้ รังษี. (2551). ต้องเป็ นท่ีหน่ึงให้ได้ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: มูสิคอน ซลั ท์. พชั รี บอนคา. “แรงบนั ดาลใจ” ความมหศั จรรย์ของพลงั ชีวิต [ออนไลน์], แหลง่ ท่ีมา : https://www.thaihealth.or.th/Content/39805-95.html [ 24 พฤษภาคม 2562] ภูเบศร์ สมทุ รจกั ร. (2552). “Productivity World”. สถาบนั เพ่ิมผลผลิตแห่งชาติปี ท่ี 14,ฉบบั ท่ี 83 (พฤศจิกายน-ธนั วาคม) : 80. รวิวงศ์ ศรีทองรุ่ง. (2543). การพฒั นาบุคลิกภาพเพ่ือการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: ขนุ นนท์การพิมพ์. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2538).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.กรุงเทพฯ:อกั ษรเจริญทศั น์. รีวฒั น์ เมืองสรุ ิยา. ความคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา : http: / / reewat- learningandsharing. blogspot. com/ 2009/ 12/ creative- thinking_23.html [ 8 พฤษภาคม 2562] ลกั ขณา สริวฒั น์.การคิด. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2549. ลกั ขณา สริวฒั น์.การรู้คิด.พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริน้ ตงิ ้ เฮ้าส์, 2558. สถิต วงศ์สวรรค์. (2551). การพัฒนาบุคลกิ ภาพ. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น. สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์ และคณะ. หลากหลายวิธีสอนเพื่อพฒั นาคณุ ภาพเยาวชน. พิมพ์ ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ : ห้าวห้นุ สว่ นจากดั 9119 เทคนิคพริน้ ตงิ ้ , 2562 สานกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาติ. (2552). พระราชบญั ญัตสิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550. นนทบรุ ี: บริษทั วิกิ จากดั สานักงานราชบัณฑิตยสภา. (2550).กระบวนทัศน์ .(บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย).18 เมษายน 2550. อารี รังสนิ นั ท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ธนกิจการพิมพ์, 2527.

อารี พันธ์มณี. ฝึ กให้คิดเป็ น คิดให้สร้ างสรรค์ . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . 2557. อาพล จินดาวฒั นะ. (2551).การสร้างนโยบายสาธารณะเพ่อื สุขภาพแบบมีส่วม ร่ วม:มิติใหม่ ของการสร้ างเสริมสุขภาพ. นนทบุรี : สานักงาน คณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ อรพรรณ พรสีมา. การคดิ . กรุงเทพฯ :สถาบนั พฒั นาทกั ษะการคดิ , 2543. ภาษาอังกฤษ IM2, ความคดิ สร้างสรรค์ คอื (Creative) [ออนไลน์], แหลง่ ที่มา : https://www.im2market.com/2017/11/19/4655 [ 24 พฤษภาคม 2562] https://www.เรารักพระเจ้าอยหู่ วั .com https://king.kapook.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook