Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 7

หน่วยที่ 7

Published by 6032040056, 2018-09-06 04:34:59

Description: หน่วยที่ 7

Keywords: สื่อกลางการส่งข้อมูล

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 7ส่ือกลางการสง่ ขอ้ มลู จดั ทาโดย นางสาวนาฝน สตั ย์จรงิ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเพชรบรุ ี

สอื่ กลางแบบสายสญั ญาณ ส่ือกลางท่เี ป็นสายซ่งึ ใชใ้ นการเช่ือมโยงโดยอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เพอื่ ใช้ในการสง่ ผา่ นขอ้ มลู ระหว่างอปุ กรณ์ และอปุ กรณใ์ นระยะทางท่ีหา่ งกันไม่มากนัก 1) สายคู่บิดเกลียว(twisted pair) ประกอบดว้ ยเส้นลวดทองแดงท่ีหมุ้ ด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเปน็ เกลียว ทงั นเี พือ่ ลดการรบกวนจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากค่สู ายขา้ งเคียงภายในเคเบิล เดียวกันหรือจากภายนอก เนือ่ งจากสายคบู่ ดิเกลียวนียอมใหส้ ัญญาณไฟฟ้าความถ่สี ูงผา่ นได้ สาหรบั อัตราการสง่ ข้อมลู ผา่ นสายค่บู ดิ เกลียวจะขึนอย่กู ับความหนาของสายด้วย กลา่ วคอื สายทองแดงทมี่ เี สน้ ผา่ นศูนย์กลางกวา้ ง จะสามารถสง่ สญั ญาณไฟฟา้ กาลงั แรงได้ ทาให้สามารถส่งขอ้ มูลด้วยอัตราส่งสงู โดยท่ัวไปแล้วสาหรับการส่งขอ้ มูลแบบดิจิทลั สัญญาณทส่ี ง่ เปน็ ลักษณะคลน่ืส่ีเหล่ียม สายคบู่ ิดเกลยี วสามารถใชส้ ่งข้อมลู ไดถ้ งึ รอ้ ยเมกะบติ ตอ่ วินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนอ่ื งจากสายคบู่ ดิ เกลียว มรี าคาไมแ่ พงมาก ใชส้ ง่ ขอ้ มูลได้ดี จึงมกี ารใชง้ านอยา่ งกว้างขวาง- สายคบู่ ดิ เกลยี วชนดิ หมุ้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคบู่ ิดเกลยี วทห่ี มุ้ ดว้ ยลวดถกั ชันนอกทีห่ นาอีกชนั เพื่อป้องกนั การรบกวนของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า มีลกั ษณะเปน็ สองเส้น มีแนวแลว้ บดิ เป็นเกล่ยี วเข้าด้วยกันเพื่อลดเสียงรบกวน มีฉนวนหมุ้ รอบนอก มรี าคาถูกตดิ ตังง่าย นาหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟา้ ต่า สายโทรศัพท์จัดเปน็ สายคูบ่ ดิ เกล่ียวแบบหมุ้ ฉนวน- สายคบู่ ดิ เกลยี วชนดิ ไมห่ มุ้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็น สายค่บู ิดเกลียวมฉี นวนชันนอกทีบ่ างอกี ชนั ทาใหส้ ะดวกในการโคง้ งอแตส่ ามารถ ป้องกนั การรบกวนของคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าไดน้ อ้ ยกว่า ชนิดแรก แต่กม็ รี าคาต่ากว่า จงึ นยิ มใชใ้ นการเชอื่ มตอ่ อุปกรณใ์ นเครือข่ายตวั อยา่ ง ของสายสายคู่บิดเกลยี วชนดิ ไมห่ มุ้ ฉนวน ทเ่ี หน็ ในชวี ติ ประจาวนั คือ สายโทรศัพท์ที่ใชอ้ ย่ใู นบ้าน มีราคาถูกและนยิ มใช้กันมากทีส่ ุด ส่วนใหญม่ กั ใช้กับระบบโทรศพั ท์ แต่สายแบบนีมกั จะถกู รบกวนได้งา่ ย และไม่คอ่ ยทนทาน 2) สายโคแอกเชียล (coaxial) เป็นตัวกลางเช่อื มโยงที่มีลักษณะเชน่ เดียวกบั สายทีต่ อ่ จากเสาอากาศ สายโคแอกเชียลทีใ่ ชท้ ่ัวไปมี 2ชนดิ คือ 50 โอห์มซ่งึ ใช้สง่ ข้อมูลแบบดจิ ทิ ัล และชนดิ 75 โอห์มซ่งึ ใชส้ ง่ ขอ้ มลู สัญญาณแอนะลอ็ ก สายประกอบดว้ ยลวดทองแดงทีเ่ ปน็ แกนหลักหนงึ่ เสน้ ทหี่ มุ้ ด้วยฉนวนชันหนงึ่ เพอ่ื ปอ้ งกนั กระแสไฟรั่ว จากนนั จะหมุ้

ด้วยตัวนาซ่ึงทาจากลวดทองแดงถกั เป็นเปีย เพื่อปอ้ งกันการรบกวนของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอ่นื ๆ ก่อนจะหมุ้ ชันนอกสดุ ด้วยฉนวนพลาสตกิ ลวดทองแดงท่ถี กั เปน็ เปียนีเองเป็นส่วนหน่งึ ทที่ าใหส้ ายแบบนมี ีช่วงความถ่ีสญั ญาณไฟฟา้ สามารถผา่ นได้สงู มาก และนิยมใชเ้ ป็นช่องส่ือสารสญั ญาณแอนะลอ็ กเช่ืองโยงผา่ นใต้ทะเลและใตด้ นิ 3) เส้นใยนาแสง (fiber optic) มแี กนกลางของสายซงึ่ ประกอบด้วยเส้นใยแกว้ หรือพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ เสน้ อยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเสน้ มีขนาดเล็ดเท่าเส้นผม และภายในกลวง และเสน้ ใยเหล่านันได้รับการห่อหุม้ ด้วยเส้นใยอีกชนดิ หน่ึงก่อนจะหมุ้ ชันนอกสดุ ดว้ ยฉนวน การสง่ ขอ้ มลู ผ่านทางสอื่ กลางชนดิ นีจะแตกต่างจากชนิดอนื่ ๆ ซ่งึ ใช้สัญญาณไฟฟา้ ในการสง่ แต่การทางานของส่ือกลางชนิดนีจะใช้เลเซอร์ว่งิ ผา่ นช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเสน้ และอาศยั หลักการหกั เหของแสง โดยใช้ใยแก้วชันนอกเปน็ กระจกสะทอ้ นแสง การใหแ้ สงเคล่อื นท่ไี ปในทอ่ แก้วสามารถส่งข้อมูลดว้ ยอตั ราความหนาแนน่ ของสัญญาณข้อมลู สูงมาก และไม่มีการกอ่ กวนของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าปัจจุบันถา้ ใช้เสน้ ใยนาแสง กับระบบอีเธอรเ์ นต็ จะใช้ไดด้ ้วยความเรว็ หลายรอ้ ยเมกะบิต และเน่อื งจากความสามรถในการส่งข้อมลู ดว้ ยอตั ราความหนาแน่นสงู ทาใหส้ ามารถสง่ ข้อมลู ทงั ตวั อกั ษร เสียง ภาพกราฟกิ หรือวิดีทศั น์ได้ในเวลาเดยี วกนั อกี ทงั ยังมีความปลอดภัยในการส่งสงู แตอ่ ย่างไรกม็ ีข้อเสียเน่อื งจากการบดิ งอสายสญั ญาณจะทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้สือ่ กลางนใี นการเดินทางตามมุมตึกได้ เสน้ ใยนาแสงมลี กั ษณะพเิ ศษท่ีใช้สาหรับเชอ่ื มโยงแบบจุดไปจดุ ดังนัน จงึ เหมาะทจ่ี ะใชก้ ับการเชื่อมโยงระหวา่ งอาคารกับอาคาร หรือระหวา่ งเมอื งกับเมืองเส้นใยนาแสงจงึ ถูกนาไปใช้เป็นสายแกนหลกั

หลักการท่วั ไปของการสอ่ื สาร ในสายไฟเบอรอ์ อปติกคือการเปลีย่ นสัญญาณ (ข้อมลู ) ไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสงกอ่ น จากนนั จงึ สง่ ออกไปเปน็ พลั ส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปตกิ สายไฟเบอร์ออปติกทาจากแกว้ หรือพลาสตกิ สามารถสง่ ลาแสง ผ่านสายได้ทลี ะหลาย ๆ ลาแสงดว้ ยมุมที่ตา่ งกนั ลาแสงทส่ี ่งออกไปเปน็พลั สน์ นั จะสะทอ้ นกลับไปมาทผี่ วิ ของสายชันในจนถึงปลายทาง จากสัญญาณขอ้ มลู ซ่ึงอาจจะเปน็ สัญญาณอนาลอ็ กหรอื ดจิ ิตอล จะผ่านอปุ กรณท์ ที่ าหน้าทีม่ อดูเลตสัญญาณเสียก่อน จากนันจะส่งสัญญาณมอดเู ลต ผา่ นตวั ไดโอดซ่ึงมี 2 ชนดิ คอื LED ไดโอด (lightEmitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรอื ILD ไดโอด (Injection Leser Diode) ไดโอดจะมีหน้าที่เปล่ียนสัญญาณมอดูเลตใหเ้ ป็นลาแสงเลเซอร์ซึ่งเป็นคล่นื แสง ในย่านทมี่ องเห็นได้ หรอื เปน็ ลาแสงในยา่ นอินฟราเรดซ่งึ ไม่สามารถมองเหน็ ได้ ความถี่ย่านอนิ ฟราเรดทีใ่ ช้จะอยใู่ นช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลาแสงจะถูกสง่ ออกไปตามสายไฟเบอรอ์ อปตกิ เมื่อถงึ ปลายทางกจ็ ะมตี วั โฟโตไ้ ดโอด (Photo Diode) ทีท่ าหน้าท่รี บัลาแสงทถี่ กู สง่ มาเพือ่ เปลยี่ นสญั ญาณแสงใหก้ ลบั ไปเป็นสัญญาณ มอดเู ลตตามเดมิ จากนันกจ็ ะสง่ สญั ญาณผ่านเขา้ อปุ กรณ์ดีมอดูเลต เพ่ือทาการดีมอดเู ลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลอื แต่สญั ญาณขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการ สายไฟเบอรอ์ อปตกิ สามารถมแี บนดว์ ิดท์ (BW) ไดก้ ว้างถงึ 3 จกิ ะเฮริ ตซ์ (1 จิกะ = 109)และมีอัตราเร็วในการสง่ ขอ้ มลู ไดถ้ งึ 1 จิกะบิต ต่อวินาที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ต้องการเครือ่ งทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอรอ์ อปติกสามารถมชี ่องทางส่ือสารไดม้ ากถึง 20,000-60,000 ช่องทาง สาหรับการสง่ ข้อมลู ในระยะทางไกล ๆ ไมเ่ กนิ 10 กม. จะสามารถมชี ่องทางได้มากถงึ 100,000 ชอ่ งทางทีเดยี ว

สอ่ื กลางแบบไรส้ ายสอื่ กลางประเภทไร้สาย (Wireless Media) การส่อื สารขอ้ มูลแบบไร้สายนสี ามารถสง่ ข้อมลู ไดท้ ุกทิศทางโดยมอี ากาศเป็นตัวกลางในการส่อื สาร 1) คล่นื วิทยุ (Radio Wave) วธิ ี การส่ือสารประเภทนจี ะใชก้ ารส่งคลนื่ ไปในอากาศ เพอ่ื ส่งไปยังเคร่ืองรบั วิทยุโดยรวมกับคลน่ื เสียงมีความถี่เสยี งทเ่ี ป็นรปู แบบของคลนื่ ไฟฟ้า ดงั นนั การสง่ วทิ ยุกระจายเสยี งจงึ ไมต่ อ้ งใชส้ ายสง่ ขอ้ มลู และยงั สามารถสง่ คลืน่ สัญญาณไปไดร้ ะยะไกล ซง่ึ จะอยใู่ นช่วงความถี่ระหว่าง 104 - 109 เฮริ ตซ์ ดังนนั เครอ่ื งรบั วิทยุจะต้องปรับชอ่ งความถี่ใหก้ ับคลืน่ วิทยุท่ีส่งมา ทาใหส้ ามารถรับข้อมลู ได้อยา่ งชัดเจน 2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการสือ่ สารทมี่ คี วามเร็วสงู สง่ ขอ้ มลู โดยอาศยั สญั ญาณไมโครเวฟ ซงึ่ เป็นสญั ญาณคลน่ืแมเ่ หล็กไฟฟา้ ไปในอากาศพรอ้ มกบั ข้อมลู ทีต่ อ้ งการสง่ และจะต้องมสี ถานที ีท่ าหนา้ ทสี่ ่งและรับขอ้ มูล และเนื่องจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดนิ ทางเปน็ เส้นตรง ไม่สามารถเลียวหรอื โค้งตามขอบโลกทีม่ ีความโคง้ ได้ จงึ ตอ้ งมีการตังสถานีรบั - ส่งขอ้ มูลเป็นระยะๆ และสง่ ขอ้ มูลต่อกนั เป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทางและแตล่ ะสถานจี ะตังอยู่ในทีส่ งู ซ่งึ จะอยใู่ นชว่ งความถี่ 108 - 1012 เฮริ ตซ์

3) แสงอินฟราเรด (Infrared) คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ท่ีมีความถอ่ี ย่ใู นชว่ ง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ หรอื ความยาวคลน่ื 10-3 – 10-6เมตร เรยี กว่า รังสอี นิ ฟราเรด หรอื เรียกอีกอยา่ งหนึง่ วา่ คลน่ื ความถ่ีสัน (Millimeter waves)ซ่ึงจะมยี า่ นความถี่คาบเกีย่ วกบั ย่านความถข่ี องคลน่ื ไมโครเวฟอยบู่ ้าง วัตถุรอ้ น จะแผร่ ังสีอินฟราเรดที่มคี วามยาวคล่นื สันกว่า 10-4เมตรออกมา ประสาทสัมผสั ทางผวิ หนังของมนษุ ย์สามารถรับรงั สีอนิ ฟราเรด ลาแสงอินฟราเรดเดนิ ทางเปน็ เส้นตรงไม่สามารถผ่านวตั ถทุ ึบแสง และสามารถสะทอ้ นแสงในวัสดผุ วิ เรียบไดเ้ หมอื นกับแสงท่วั ไปใชม้ ากในการส่ือสารระยะใกล้ 4) ดาวเทียม (satilite) ไดร้ ับการพฒั นาขึนมาเพ่ือหลกี เล่ยี งข้อจากัดของสถานรี บั - ส่งไมโครเวฟบนผวิ โลก วัตถปุ ระสงคใ์ นการสร้างดาวเทยี มเพือ่ เปน็ สถานีรบั - ส่งสญั ญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสญั ญาณในแนวโคจรของโลกในการสง่ สัญญาณดาวเทยี มจะตอ้ งมสี ถานีภาคพนื ดนิ คอยทาหนา้ ท่ีรบั และสง่ สญั ญาณขึนไปบนดาวเทียมทีโ่ คจรอยู่สงู จากพนื โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทยี มเหลา่ นนั จะเคลอื่ นที่ดว้ ยความเร็วท่ีเท่ากับการหมนุ ของโลก จึงเสมือนกบั ดาวเทยี มนนั อยู่น่ิงอย่กู ับที่ ขณะทีโ่ ลกหมนุ รอบตวั เอง ทาใหก้ ารส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานหี น่งึ ขนึไปบนดาวเทยี มและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทยี มลงมายงั สถานีตามจดุ ต่างๆ บนผิวโลกเปน็ ไปอยา่ งแมน่ ยาดาวเทียมสามารถโคจรอยไู่ ด้ โดยอาศยั พลงั งานที่ไดม้ าจากการเปล่ียน พลังงานแสงอาทิตย์ ดว้ ย แผงโซลาร์ (solar panel)

5) บลทู ูธ (Bluetooth) ระบบส่ือสารของอุปกรณ์อเิ ล็คโทรนคิ แบบสองทาง ดว้ ยคลื่นวิทยุระยะสัน (Short-Range RadioLinks) โดยปราศจากการใชส้ ายเคเบิล หรอื สายสญั ญาณเชอื่ มตอ่ และไมจ่ าเป็นจะตอ้ งใชก้ ารเดนิ ทางแบบเส้นตรงเหมอื นกบั อินฟราเรด ซงึ่ ถอื วา่ เพมิ่ ความสะดวกมากกว่าการเชอื่ มตอ่ แบบอนิ ฟราเรด ทีใ่ ช้ในการเชอื่ มตอ่ระหวา่ งโทรศพั ทม์ ือถือ กับอุปกรณ์ ในโทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่รี นุ่ ก่อนๆ และในการวิจัย ไมไ่ ด้มุ่งเฉพาะการส่งข้อมลูเพยี งอยา่ งเดียว แต่ยงั ศึกษาถึงการสง่ ขอ้ มูลท่เี ป็นเสยี ง เพอื่ ใช้สาหรับ Headset บนโทรศัพท์มอื ถอื ดว้ ยเทคโนโลยี บลทู ูธ เป็นเทคโนโลยสี าหรับการเชือ่ มตอ่ อุปกรณ์แบบไรส้ ายทน่ี ่าจับตามองเป็นอย่าง ยิง่ ในปัจจบุ นัทังในเรอ่ื งความสะดวกในการใชง้ านสาหรับผ้ใู ช้ทั่วไป และประสทิ ธภิ าพในการทางาน เนอ่ื งจาก เทคโนโลยี บลูทูธ มรี าคาถูก ใช้พลังงานน้อย และใช้เทคโนโลยี short – range ซงึ่ ในอนาคต จะถกู นามาใช้ในการพฒั นาเพอื่ นาไปสูก่ ารแทนทอ่ี ุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีใช้สาย เคเบลิ เช่น Headset สาหรับโทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ เปน็ ต้น ัเทคโนโลยกี ารเชือ่ มโยงหรอื การสอื่ สารแบบใหม่ทีถ่ กู คดิ ค้นขึน เป็นเทคโนโลยขี องอนิ เตอรเ์ ฟซทางคลน่ื วทิ ยุ ตงั อยู่บนพนื ฐานของการส่อื สารระยะใกล้ทปี่ ลอดภยั ผา่ นชอ่ งสญั ญาณความถี่ 2.4 Ghz โดยท่ถี ูกพฒั นาขึนเพอ่ื ลดข้อจากัดของการใช้สายเคเบิลในการเชือ่ มโยงโดยมี ความเร็วในการเช่ือมโยงสูงสุดท่ี 1 mbp ระยะครอบคลมุ 10เมตร เทคโนโลยกี ารส่งคล่นื วทิ ยุของบลทู ธู จะใช้การกระโดดเปล่ยี นความถ่ี (Frequency hop) เพราะว่าเทคโนโลยีนีเหมาะทจ่ี ะใชก้ ับการสง่ คล่นื วทิ ยุที่มกี าลงั สง่ ตา่ และ ราคาถกู โดยจะแบง่ ออกเป็นหลายช่องความถึ่ขนาดเล็ก ในระหวา่ งทม่ี ีการเปลีย่ นชอ่ งความถึ่ทไี่ มแ่ น่นอนทาให้สามารถหลกี หนีสญั ญา นรบกวนที่เขา้ มาแทรกแซงได้ซ่ึงอุปกรณท์ จ่ี ะไดร้ ับการยอมรับวา่ เปน็ เทคโนโลยีบลูทูธ ต้องผา่ นการทดสอบจาก Bluetooth SIG (SpecialInterest Group) เสยี ก่อนเพอื่ ยืนยนั ว่ามนั สามารถที่จะทางานร่วมกบั อปุ กรณ์บลทู ธู ตวั อ่นื ๆ และอินเตอรเ์ นต็ ได้



ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การเลอื กใชส้ อ่ื กลางปจั จยั ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการเลือกใช้สือ่ กลาง หลกั การพจิ ารณาเลือกใชส้ ่อื กลาง การเลอื กใช้งานดา้ นการสือ่ สารข้อมลู หรอื การออกแบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ สง่ิ ทส่ี าคญั ทค่ี วรพจิ ารณาคือการใช้ส่อื กลางทเ่ี หมาะสม เพราะหากเลือกใช้สื่อไม่เหมาะสมแลว้ การเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ยอาจไม่สมบูรณ์ หรอื มปี ญั หาในการใช้งานใหเ้ กดิ ความล้มเหลวได้ซ่ึงควรพจิ ารณาดงั นี1. ต้นทุน - พจิ ารณาต้นทนุ ของตัวอปุ กรณท์ ี่ใช้ - พจิ ารณาตน้ ทุนการตดิ ตงั อปุ กรณ์ - เปรียบเทียบราคาของอปุ กรณ์ และประสิทธภิ าพการใช้งาน2. ความเรว็ - ความเรว็ ในการส่งผา่ นสญั ญาณ จานวนบติ ต่อวินาที - ความเรว็ ในการแพร่สัญญาณ ข้อมูลท่ีสามารถเคลือ่ นท่ีผา่ นสอ่ื กลางไปได้3. ระยะทาง - สื่อกลางแตล่ ะชนิดมคี วามสามารถในการสง่ สญั ญาณข้อมูลไปไดใ้ นระยะทางต่างกัน ดงั นนั การเลอื กใช้สือ่ กลางแต่ละชนิดจะต้องทราบข้อจากัดด้านระยะทาง เพอ่ื ที่จะตอ้ งทาการตดิ ตงั อปุ กรณท์ บทวนสญั ญาณเม่ือใช้ส่อื กลางในระยะไกล4. สภาพแวดล้อม - เป็นปัจจัยสาคัญอยา่ งหน่ึงในเลือกใชส้ อื่ กลาง เช่น สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ป็นโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลจะมีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ตา่ ง ๆ ดังนันการเลือกใช้ส่อื กลางควรเลือกสอื่ กลางทท่ี นทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดี5. ความปลอดภยั ของขอ้ มลู - หากสอ่ื กลางทีเ่ ลอื กใชไ้ มส่ ามารถป้องกนั การลกั ลอบนาข้อมลู ไปได้ ดงั นนั การสื่อสารข้อมลู จะตอ้ งมกี าร เขา้ รหสั ขอ้ มลู ก่อนที่จะสง่ ไปในสอื่ กลาง และผรู้ บั ก็ตอ้ งมกี ารถอดรหัสทใี่ ช้หลกั เกณฑ์เดยี วกัน จงึ จะสามารถนาข้อมลู นนั ไปใชไ้ ด้

ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การขนสง่ ขอ้ มูล1. แบนด์วดิ ธ์ (Bandwidth) คอื ยา่ นความถี่ของช่องสญั ญาณ หากมีช่องสัญญาณขนาดใหญ่ จะสง่ ผลใหใ้ นหนึง่ หน่วยเวลา สามารถเคลือ่ นยา้ ยปริมาณขอ้ มลู ไดจ้ านวนมากขึน2. จานวนโหนดที่เชือ่ มต่อ (Number of Receivers) สือ่ กลางส่งขอ้ มลู แบบใชส้ าย สามารถนามาเชื่อมตอ่เครอื ขา่ ยในรปู แบบ จุดตอ่ จุด หรือแบบหลายจุด เพ่อื แชร์การใช้งานสายส่งขอ้ มลู รว่ มกัน สาหรบั เครือข่ายท่ีใช้สายสง่ ข้อมลู รว่ มกนั จะมีข้อจากดั ดา้ นระยะทางและความเรว็ ทีจ่ ากดั ดงั นนั หากเครือข่ายมีโหนดและอปุ กรณ์เช่อื มต่อเปน็ จ านวนมาก ยอ่ มสง่ ผลให้ ความเร็วลดลง3. ความสูญเสยี ต่อการสง่ ผ่าน (Transmission Impairments) คอื การออ่ นตัวของสญั ญาณ ซ่งึ จะเก่ียวขอ้ งกับระยะทางในการส่งผา่ น ข้อมูล หากระยะทางย่ิงไกล สัญญาณกย็ ิง่ เบาบางลง ไมม่ ีก าลงั สง่ เชน่ สายคู่บติเกลยี วจะมคี วามสญู เสยี ตอ่ การส่งผ่านขอ้ มูลภายในสายมากกว่าสายโคแอกเชยี ล ดังนัน การเลือกใช้สายโคแอกเชียลกจ็ ะสามารถเชื่อมโยงไดไ้ กลกว่า และหากใช้สายไฟเบอรอ์ อปติกจะมีความสญู เสียต่อการส่งผ่านข้อมูลภายในสายน้อยกว่าสายประเภทอน่ื ๆ ดังนันสายไฟเบอร์ออปตกิ จึงเปน็ สายส่ือสารทีส่ ามารถ เชื่อมโยงระยะทางไดไ้ กลท่สี ดุ โดยสามารถลากสายไดย้ าวหลายกิโลเมตรโดยไมต่ ้องใช้ อปุ กรณ์ทวนสญั ญาณชว่ ย4. การรบกวนของสัญญาณ (Interference) การรบกวนของสัญญาณทีค่ าบเกยี่ วกันในย่านความถี่ อาจทาให้เกดิ การบิดเบอื นสญั ญาณได้ โดยไมว่ ่าจะเปน็ ส่อื กลางแบบมีสาย หรือแบบ ไร้สาย เช่น การรบกวนกันของคล่นื วทิ ยุ สญั ญาณครอสทอร์กท่เี กดิ ขนึ ใน สายคบู่ ิตเกลยี วชนิดไม่มีฉนวน ท่ภี ายในประกอบด้วยสายทองแดงหลายคู่ มดั อยรู่ วมกัน วิธีแกไ้ ขคอื เลือกใช้สายคู่บติ เกลียวชนดิ ท่ีมฉี นวนหรอี ชีลด์ เพือ่ ป้องกันสัญญาณรบกวน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook