Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูชำนาญการพิเศษหน่วยที่3

ครูชำนาญการพิเศษหน่วยที่3

Published by ppnok2001, 2017-05-04 03:13:18

Description: ครูชำนาญการพิเศษหน่วยที่3

Keywords: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนท่ี 3 การเตรียมความพร้อมสําหรับการประเมนิ ผลจุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง) ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การเตรียมความพรอ้ มสาํ หรบั การประเมินผล สามารถอธิบายการเตรียมความพร้อมของผปู้ ระเมิน ผถู้ ูกประเมิน องคป์ ระกอบของการประเมินผลท่ีประสบผลสาํ เร็จ และแนวทางในการจดั ทาํ แผนดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมินผลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเป็นผทู้ ม่ี ีบคุ ลิกภาพท่ดี ีจุดประสงค์การเรียนรู้ (นําทาง) 1. อธิบายวธิ ีการเตรียมความพร้อมของผปู้ ระเมินและผถู้ ูกประเมิน 2. อธิบายองคป์ ระกอบของการประเมินผลทปี่ ระสบผลสาํ เร็จ 3. บอกแนวทางในการจดั ทาํ แผนดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมินผล 4. มีบุคลิกภาพท่ีดี แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบของวทิ ยาลยั และเหมาะสมกบั กาลเทศะสาระสําคญั ลกั ษณะ คุณสมบตั ิและประสบการณ์ของผปู้ ระเมินมีอิทธิพลตอ่ การประเมิน เพราะเขาสามารถนาํ เอาสิ่งเหล่าน้ีมาช่วยในการพจิ ารณา การประเมินผลทตี่ ้งั อยบู่ นพน้ื ฐานความยตุ ิธรรมและการตดั สินอยา่ งเป็นธรรม จะช่วยใหก้ ารประเมินผลน้นั มีประสิทธิภาพ ก่อนท่จี ะทาํ การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ควรระบแุ ละจดั ทาํ หวั ขอ้ ทีจ่ ะใหก้ ารประเมินผลน้นั ครอบคลุมถึง เนื่องจากหวั ขอ้ หลกั คอื ผลการปฏิบตั งิ านของพนกั งานในงานปัจจบุ นัจึงจาํ เป็นตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลทีเ่ กี่ยวขอ้ งในเร่ืองความตอ้ งการของงานและเป้ าหมายหรือมาตรฐานที่ไดต้ ้งั ไว้ ตอ่ จากน้นั ใหป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานตามแนวทางทไ่ี ดก้ าํ หนดไว้ การเตรียมตวั สาํ หรบั การสนทนาเพอ่ื การประเมินน้ัน จึงมีความสาํ คญั ต่อท้งั พนกั งานและผจู้ ดั การ จึงควรมีการแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบถึงจุดมุ่งหมายของการประเมิน กระบวนการและวธิ ีการทจ่ี ะนาํ เอาผลท่ไี ดไ้ ปใชอ้ ยา่ งชดั เจน การเนน้ ใหม้ ีการส่ือสารท่เี ป็ นไปในลกั ษณะสองทาง(Two-way) จะกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานแบ่งปันความเขา้ ใจของเขา และสามารถนาํ เอาความเขา้ ใจดงั กล่าวมาเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงในการกาํ หนดผลลพั ธก์ นั ต่อไป นอกจากน้นั ควรตกลงกนั ใน

61หวั ขอ้ ของการสนทนาและระยะเวลาเอาไวล้ ่วงหนา้ ดว้ ย ซ่ึงจะช่วยใหพ้ นกั งานมีเวลาเตรียมพร้อมไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเนื้อหา 1. การเตรียมความพร้อมของผปู้ ระเมิน 2. ส่ิงท่ีผปู้ ระเมินควรหลีกเลี่ยงเมื่ออยใู่ นกระบวนการประเมิน 3. การเตรียมความพรอ้ มของผถู้ ูกประเมิน 4. องคป์ ระกอบของการประเมินผลทป่ี ระสบความสาํ เร็จ 5. แนวทางในการจดั ทาํ แผนดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมินผล 6. กระบวนการท่ีเปิ ดใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วม 7. ผงั ความคดิ (Mind Mapping)การเตรียมความพร้อมของผ้ปู ระเมิน ก่อนทีจ่ ะทาํ การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ควรระบุและจดั ทาํ หวั ขอ้ ที่จะใหก้ ารประเมินผลน้นั ครอบคลุมถึง เน่ืองจากหวั ขอ้ หลกั คอื ผลการปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานในงานปัจจุบนัจึงจาํ เป็นตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลทเี่ ก่ียวขอ้ งในเรื่องความตอ้ งการของงานและเป้ าหมายหรือมาตรฐานท่ีไดต้ ้งั ไว้ ต่อจากน้นั ใหป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานตามแนวทางที่ไดก้ าํ หนดไวข้ า้ งตน้ดงั น้ี1 1. ทบทวนความตอ้ งการของงาน เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ คุณเขา้ ใจมนั อยา่ งแทจ้ ริง 2. ทบทวนเป้ าหมายและมาตรฐาน ทคี่ ุณไดพ้ ดู คุยไวก้ ่อนหนา้ น้ี และทไ่ี ดต้ กลงร่วมกนักบั พนกั งาน 3. ทบทวนประวตั ิของพนกั งานในดา้ นต่าง ๆ รวมถึงทกั ษะในงาน การฝึกอบรมงานในอดีตและผลการปฏิบตั งิ านทผี่ า่ นมา 4. ระบุงานพเิ ศษใด ๆ ก็ตามท่ีไดม้ อบหมายใหพ้ นักงานปฏิบตั ิในรอบของการประเมินไม่วา่ จะอยภู่ ายใตก้ ารดูแลของคุณหรือไม่กต็ าม โดยพจิ ารณาวา่ มีอะไรบา้ งทีแ่ ลว้ เสร็จ? มีการบรรลุถึงสิ่งทคี่ าดหวงั หรือไม่? ส่ิงใดบา้ งที่พนกั งานมีส่วนร่วมจนบรรลุผลสาํ เร็จ 5. ทบทวนผลการปฏิบตั ิงานในทมี ของพนกั งาน ไม่วา่ จะเป็ นงานทม่ี อบหมายเป็ นการถาวรหรือเป็นโครงการคร้ังเดียวจบ ผลการปฏบิ ตั งิ านสามารถวดั ไดจ้ ากสิ่งทีท่ ีมงานส่งมอบ ถา้ ทมีท่เี กี่ยวขอ้ งมาจากหลาย ๆ ส่วนงาน ผลการปฏิบตั ิงานของสมาชิกแตล่ ะคนสามารถวดั ไดจ้ ากสิ่งที่

62แต่ละคนมีส่วนช่วยเหลือในผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ นอกจากน้นั ยงั สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากผลการประเมินตนเองของทมี 6. ลองขอขอ้ มลู จากลกู คา้ ทพี่ นกั งานไดม้ ีการติดต่อโดยตรง และติดต่ออยเู่ ป็ นประจาํ“ลูกคา้ ” อาจรวมถึงใครก็ไดท้ ่ีใชส้ ินคา้ หรือบริการจากหน่วยงานหรือแผนกของคุณ 7. ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โดยเทยี บกบั สิ่งท่คี าดหวงั ของงานในรอบของการประเมินและใหล้ าํ ดบั จากยอมรบั ไมไ่ ดไ้ ปจนถึงยอดเยยี่ ม 8. บนั ทกึ ความแปรปรวน ในการปฏิบตั ิงานของพนกั งานทีจ่ าํ เป็ นตอ้ งพดู คุย โดยใหม้ ีตวั อยา่ งทชี่ ดั เจนประกอบไวด้ ว้ ย 9. พจิ ารณาโอกาสในอาชีพหรือขอ้ จาํ กดั ของบุคคลน้นั และเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมที่จะพดู คุยในเร่ืองดงั กล่าว หลักปฏบิ ตั ิของผู้บงั คบั บัญชาในการประเมินผลการปฏิบัติงาน เม่ือจะตอ้ งทาํ การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาของตนข้ึน ผบู้ งั คบั บญั ชาหรือหวั หนา้ งานควรจะดาํ เนินการอยา่ งรอบคอบเป็ นกระบวนการดงั น้ี2 1. ศึกษาระบบการประเมินผลท่ใี ชใ้ นหน่วยงานอยา่ งละเอียด เช่น วธิ ีการท่ีนาํ มาใช้และวตั ถุประสงคใ์ นการประเมินแตล่ ะคร้ัง เป็ นตน้ 2. ทาํ ความคุน้ เคยถึงแบบของการประเมินทีจ่ ะตอ้ งใชน้ ้ัน เช่น ให้เขา้ ใจถึงปัจจยั ต่าง ๆและความหมาย การใหค้ า่ ในปัจจยั ต่าง ๆ เป็ นตน้ 3. วิเคราะหห์ นา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหน่งงานทจี่ ะทาํ การประเมิน เช่น ดูจากรายละเอียดของงาน (Job Description) เป็นตน้ 4. กาํ หนดมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานในตาํ แหน่งน้นั ๆ วา่ ควรเป็ นอยา่ งไร เพอ่ื เป็ นเกณฑ์ใชใ้ นการประเมิน เช่น อยา่ งไรจะเรียกวา่ “พอใช”้ อยา่ งไรจึงจะเรียกไดว้ า่ “ดีมาก” หรือ“ไม่พอใช”้ ฯลฯ (โดยการตกลงกบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาดว้ ย) 5. ช้ีแจงเร่ืองวตั ถุประสงคแ์ ละมาตรฐานในการปฏบิ ตั งิ านแก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 6. ศึกษาขอ้ มูลที่เก่ียวกบั การปฏบิ ตั ิงานของผถู้ ูกประเมิน 7. บนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานอยา่ งสม่าํ เสมอ 8. ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งสม่าํ เสมอ 9. ทาํ การประเมินผลตามวธิ ีที่กาํ หนดไว้ 10. แจง้ และช้ีแจงผลการประเมินใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาไดท้ ราบ โดยตอ้ งให้ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาเกิดความเขา้ ใจและยอมรบั ดว้ ย

63 11. ติดตามผลการประเมิน วา่ ในการประเมินผลแตล่ ะคร้ังมีความเชื่อถอื หรือถูกตอ้ งเพยี งใด 12. นาํ ผลการประเมินไปวางแผนเพอื่ พฒั นาหรือปรบั ปรุงส่งเสริมการทาํ งานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา หรือนาํ ไปใชใ้ นเร่ืองอื่นใดที่ตอ้ งการ แบบทดสอบ “คณุ เป็ นผู้ประเมนิ ทม่ี ีประสิทธิผลหรือไม่?”4 ก่อนทจ่ี ะเป็นผปู้ ระเมิน ลองทดสอบคุณสมบตั ิส่วนตวั ดงั ตอ่ ไปน้ี ซ่ึงก่อใหเ้ กิดการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานท่มี ีประสิทธิผล มาตรวดั น้ีจะช่วยช้ีจุดแขง็ (Strengths) ของคุณพร้อมบอกถึงส่วนทค่ี ุณควรจะตอ้ งปรบั ปรุง จงเขียน ลอ้ มรอบตวั เลขทีต่ รงกบั ตวั คุณ ตวั เลขท่ีมากข้ึนเป็ นการบอกลกั ษณะของคุณไดต้ รงข้ึน เม่ือคุณทาํ เสร็จรวมคะแนนทไ่ี ดจ้ ากตวั เลขทไ่ี ดว้ งกลมไวแ้ ละนาํ ไปเขียนไวใ้ นช่องวา่ งดา้ นล่าง 1. ฉนั ชอบทจ่ี ะรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลผลิต 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 2. ฉนั ชอบผคู้ นและสนุกที่จะพดู คุยกบั พวกเขา 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 3. ฉนั ไม่รงั เกียจท่ีจะใหค้ าํ วจิ ารณ์ในเชิงสร้างสรรค์ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 4. ฉนั ใหค้ าํ ชมเชยอยา่ งเปิ ดเผยเม่ือถึงเวลาอนั สมควร 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 5. ฉนั ไม่รูส้ ึกกลวั เมื่อพนกั งานบอกถึงสิ่งทีพ่ วกเขาคิดจริง ๆ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 6. ฉนั มองหาความคิดใหม่ ๆ และนาํ มนั ไปใชเ้ ม่ือใดก็ตามทีเ่ ป็ นไปได้ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 7. ฉนั เคารพต่อความรู้และทกั ษะของผทู้ ่ที าํ งานใหฉ้ นั 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 8. ฉนั เฝ้ าติดตามเพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ ไดบ้ รรลุถึงขอ้ ตกลง เป้ าหมายและมาตรฐาน 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 9. ฉนั รู้สึกไวต่อความตอ้ งการและความรูส้ ึกของผอู้ ื่น 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1

64 10. ฉนั ไม่รู้สึกกงั วลกบั พนกั งานท่รี ู้เรื่องงานของเขาดีมากกวา่ ตวั ฉนั 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 รวม………………………. คุณอยู่ตรงไหน? คะแนนระหวา่ ง 90-100 ช้ีใหเ้ ห็นวา่ คุณมีลกั ษณะทยี่ อดเยย่ี มในการประเมินผลอยา่ งมี ประสิทธิผล คะแนนระหวา่ ง 70-89 บอกวา่ คุณมีจุดแขง็ ทีด่ ี แตย่ งั มีลกั ษณะบางประการที่ตอ้ ง ปรับปรุง คะแนนระหวา่ ง 50-69 สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ คุณมีปัญหาในหลาย ๆ ดา้ น คะแนนต่าํ กวา่ 50 บอกวา่ คุณตอ้ งใชค้ วามพยายามอยา่ งมากในการปรบั ปรุงหมายเหตุ ใหเ้ พมิ่ ความพยายามเป็นพเิ ศษในขอ้ ใดก็ตามที่คุณได้ 6 คะแนนหรือต่าํ กวา่ โดยไม่ คาํ นึงถึงวา่ คะแนนรวมของคุณจะเป็ นเท่าใดส่ิงทผ่ี ู้ประเมนิ ควรหลกี เลีย่ งเมอื่ อยู่ในกระบวนการประเมนิ ในกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน สิ่งทผ่ี ปู้ ระเมินควรหลีกเล่ียงเม่ืออยใู่ นกระบวนการประเมิน มีดงั น้ี3 1. ความเอนเอียงหรืออคติ ผปู้ ระเมินไม่นาํ สิ่งตา่ ง ๆ ทีไ่ ม่เกี่ยวขอ้ งกบั ผลการปฏบิ ตั งิ านเขา้ มาเก่ียวขอ้ ง เช่น เช้ือชาติ ศาสนา การศึกษา พ้นื ฐานครอบครัว อายุ เพศ ฯลฯ 2. การประเมินอุปนิสยั เป็ นการใหค้ วามสนใจมากเกินไปกบั ลกั ษณะใด ๆ ทไ่ี ม่เกี่ยวขอ้ งกบั งานและเป็นลกั ษณะทวี่ ดั ไดย้ าก ตวั อยา่ งของลกั ษณะต่าง ๆ น้ีไดแ้ ก่ ความยดื หยนุ่ความจริงใจ หรือความมีอธั ยาศยั 3. การเนน้ ผลของการปฏบิ ตั งิ านท่พี งึ พอใจหรือไม่พงึ พอใจในงานไมก่ ี่งาน ซ่ึงอาจนาํ ไปสู่การประเมินภาพรวมท่ีไม่สมดุลกนั 4. ต้งั อยบู่ นความประทบั ใจมากกวา่ ขอ้ เทจ็ จริง 5. ใหพ้ นกั งานรับผดิ ชอบต่อผลท่มี ีปัจจยั อ่ืนนอกเหนือการควบคุมของเขามาเก่ียวขอ้ ง 6. ไม่ไดเ้ ปิ ดโอกาสใหพ้ นกั งานเตรียมตวั ล่วงหนา้

65การเตรียมความพร้อมของผู้ถูกประเมนิ การสนทนาเพอ่ื การประเมินผลน้นั เป็นการประชุมระหวา่ งบคุ คลแบบมีโครงสร้างและมีการวางแผนไว้ มิใช่เป็ นการพดู คุยกนั ตามปกติ ดงั น้นั การเตรียมตวั สาํ หรบั การสนทนาเพอื่ การประเมินน้นั จึงมีความสาํ คญั ตอ่ ท้งั ผปู้ ระเมินและผถู้ ูกประเมิน และควรมีการแจง้ ให้ผถู้ ูกประเมินทราบถึงจดุ มุ่งหมายของการประเมิน กระบวนการและวธิ ีการทจ่ี ะนาํ เอาผลทีไ่ ดไ้ ปใชอ้ ยา่ งชดั เจนการเนน้ ใหม้ ีการส่ือสารท่ีเป็นไปในลกั ษณะสองทาง (Two-way) จะกระตนุ้ ใหผ้ ถู้ ูกประเมินแบ่งปันความเขา้ ใจของเขา และสามารถนาํ เอาความเขา้ ใจดงั กล่าวมาเป็ นองคป์ ระกอบหน่ึงในการกาํ หนดผลลพั ธก์ นั ต่อไป นอกจากน้นั ควรตกลงกนั ในหวั ขอ้ ของการสนทนาและระยะเวลาเอาไว้ล่วงหนา้ ดว้ ย ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ถู้ ูกประเมินมีเวลาเตรียมพร้อมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม5 คาํ ถามกระต้นุ ความคดิ เพื่อประเมินตนเอง คาํ ถามดา้ นล่างน้ีจะช่วยใหผ้ ถู้ ูกประเมินเตรียมพร้อมสาํ หรบั การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานซ่ึงในขณะที่อ่านคาํ ถามแตล่ ะขอ้ ใหค้ ิดเก่ียวกบั ผลการปฏิบตั ิงาน ความกา้ วหนา้ และแผนการเติบโตของคุณในอนาคต เพราะในการตอบคาํ ถามเหล่าน้ีจะช่วยให้ผถู้ ูกประเมินไดร้ วบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ ไวใ้ ชใ้ นการสนทนาในการประเมินผล ซ่ึงมีคาํ ถามตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. งานของฉนั ตอ้ งการความสามารถท่ีสาํ คญั ๆ อะไรบา้ ง? ฉนั ไดบ้ รรลุถึงระดบั ไหนแลว้ บา้ ง? …………………………………………………………………………………………… 2. สิ่งท่ีฉนั ชอบมากทีส่ ุดเกี่ยวกบั งานคืออะไร?…………………………………………. สิ่งทช่ี อบนอ้ ยทสี่ ุดเก่ียวกบั งานคืออะไร?……………………………………………. 3. ส่ิงใดบา้ งทฉ่ี นั ทาํ ไดส้ าํ เร็จในระยะของการประเมินคร้ังน้ี?………………………….. 4. มีเป้ าหมายหรือมาตรฐานใดบา้ งที่ฉนั ทาํ ไดต้ ่าํ กวา่ ?………………………………….. 5. ผจู้ ดั การของฉนั สามารถช่วยให้ฉนั ปฏิบตั งิ านไดด้ ีข้ึนอยา่ งไรบา้ ง?………………….. 6. องคก์ ารหรือผจู้ ดั การของฉนั ทาํ สิ่งใดบา้ งที่ขวางก้นั ความมีประสิทธิผลในงานของฉนั ?...................................................................................................................................................... 7. มีการเปล่ียนแปลงใดบา้ งที่สามารถช่วยปรับปรุงผลการปฏบิ ตั งิ านของฉนั ?………… 8. งานปัจจบุ นั ของฉนั ใชค้ วามสามารถของฉนั เตม็ ท่ีแลว้ หรือยงั ?……………………… 9. ฉนั ต้งั ใจจะทาํ อะไรบา้ งในระยะเวลาหา้ ปี นบั จากน้ี?…………………………………. 11. ฉนั ตอ้ งการประสบการณ์หรือการฝึกอบรมเพมิ่ เติมในงานปัจจบุ นั ของฉนั หรือไม่?ฉนั จะไดร้ ับสิ่งดงั กล่าวไดอ้ ยา่ งไร?………………………………………………………………….

66 12. ควรจะตอ้ งกาํ หนดเป้ าหมายและมาตรฐานใหม่ ๆ อะไรบา้ งสาํ หรบั การประเมินในคร้ังต่อไป? เป้ าหมายและมาตรฐานอนั ใดบา้ งทจี่ าํ เป็ นตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขหรือเลิกใช?้ …………..องค์ประกอบของการประเมินผลทปี่ ระสบความสําเร็จ ในการสนทนาระหวา่ งการประเมินผล จาํ เป็ นตอ้ งครอบคลมุ ประเด็นหลกั ๆ 5 ประการดงั น้ี6 1. การวดั ผลลพั ธท์ ่ไี ดจ้ ากการปฏิบตั งิ านของพนกั งาน เทยี บกบั เป้ าหมายและมาตรฐานต่าง ๆ 2. การรบั รูถ้ ึงสิ่งท่ีพนกั งานไดม้ ีส่วนร่วม 3. การแกไ้ ขปัญหาในผลการปฏิบตั งิ าน ไม่วา่ จะเป็ นปัญหาใหม่หรือเป็ นปัญหาทก่ี าํ ลงัดาํ เนินอยู่ 4. ความจาํ เป็นในการฝึกอบรมและการพฒั นาบุคลากรเพอ่ื การนาํ ไปใชท้ ้งั ในปัจจบุ นั และอนาคต 5. การกาํ หนดเป้ าหมาย และ/หรือมาตรฐานเพอ่ื การประเมินผลในคร้ังตอ่ ไปแนวทางในการจดั ทําแผนดําเนินการสําหรับการประเมินผล การจดั ทาํ แผนดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมินผล มีแนวทางในการจดั ทาํ ดงั น้ี7 1. อยา่ ใหค้ รอบคลุมเน้ือหามากจนเกินไป ในการประเมินผลแต่ละคร้ังใหเ้ นน้ ถึงส่วนท่ีควรใหค้ วามสนใจมากทส่ี ุด 2. ใหแ้ น่ใจวา่ มีตวั อยา่ งทช่ี ดั เจน (และไม่มอี คต)ิ ที่สามารถนาํ มาสนบั สนุนสิ่งท่คี ุณพดูแตก่ ย็ งั เปิ ดโอกาสใหม้ ีการช้ีแจงกนั 3. จดั ทาํ แนวทางในแง่บวกเพอื่ แกป้ ัญหา เปิ ดโอกาสใหพ้ นกั งานเสนอแนะแนวทางการแกไ้ ขปัญหากอ่ นที่จะมีการตดั สินใจในข้นั สุดทา้ ย 4. พรอ้ มท่จี ะใหค้ าํ ชมเชยและใหก้ ารสนบั สนุนตอ่ สิ่งท่ีสมควรจะไดร้ ับ 5. ระบุกิจกรรมการพฒั นาในดา้ นต่าง ๆ ท่ีจะช่วยปรับปรุงผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานท่ไี ดร้ ับมอบหมายท้งั ในปัจจบุ นั และ/หรือเป็นการเตรียมพร้อมสาํ หรับงานทจ่ี ะไดร้ ับมอบหมายในอนาคต 6. ทาํ การบนั ทกึ โครงการ เป้ าหมาย และ/หรือมาตรฐานใด ๆ กต็ ามทีจ่ ะตอ้ งดาํ เนินการใหแ้ ลว้ เสร็จก่อนการประเมินทจ่ี ะมีข้ึน จากน้นั จงึ พดู คุยและบรรลุขอ้ ตกลงร่วมกนั ในสิ่งต่าง ๆเหล่าน้นั ในช่วงของการประเมิน

67 7. วางแผนที่จะให้พนกั งานมีส่วนร่วมในการสนทนาทุก ๆ เร่ืองกระบวนการทเ่ี ปิ ดให้พนักงานมสี ่วนร่วม การที่หวั หนา้ งานกาํ หนดเป้ าหมายไวล้ ่วงหนา้ จนเสร็จสรรพ โดยมากแลว้ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาก็จะรบั เอามาเพยี งเพอื่ ทาํ งานใหผ้ า่ นการอนุมตั ิจากหวั หนา้ งานเท่าน้นั ยงิ่ ไปกวา่ น้นั พวกเขายงั จะเชื่อวา่ ความสามารถของเขามีจาํ กดั แคเ่ ป้ าหมายทีไ่ ดร้ ับจากผบู้ งั คบั บญั ชาเท่าน้นั เคลด็ ลบั ทจี่ ะช่วยใหก้ ารประเมินผลงานไดร้ บั ประโยชนโ์ ดยทวั่ หนา้ กนั ถอื วา่ เป็ นสิ่งท่สี าํ คญั ท่ีสุด ท้งั น้ี สิ่งสาํ คญัทีส่ ุดอนั เป็นผลทไี่ ดร้ ับจากการทาํ ประเมินผลน้นั มิไดอ้ ยทู่ ีก่ ารวดั คุณภาพของคนทาํ งาน มิใช่การท่ีผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาออกจากที่ประชุมพรอ้ มกบั วตั ถปุ ระสงคใ์ หม่ ๆ ในเรื่องงานและเป้ าหมายในอาชีพการงานของเขา และมิใช่การชมเชยผลงานเพอ่ื เป็ นกาํ ลงั ใจใหก้ บั คนทาํ งาน เพอ่ื เป็ นการต่ออายไุ ปอีกสกั 6 เดือนหรือ 1 ปี สิ่งสาํ คญั ท่สี ุดทเี่ ราไดร้ บั จากการประเมินผลเกิดจากกระบวนการทีเ่ รากระทาํ อยา่ งถูกตอ้ งนนั่ เอง เพราะการไดว้ เิ คราะห์และประเมินผลงานของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาร่วมกนัไดร้ ูส้ ถานภาพของเขาในหน่วยงานและในองคก์ รโดยรวม และร่วมกนั วางเป้ าหมายสาํ หรับอนาคตอนั ใกลแ้ ละในระยะยาวแลว้ จะช่วยสร้างความสมั พนั ธท์ ่แี น่นหนาระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชากบัผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา จนเป็นทมี งานของผทู้ ถ่ี ึงพร้อมดว้ ยวฒุ ิภาวะ ซ่ึงร่วมงานกนั ภายใตจ้ ุดประสงคท์ ี่รวมเป็ นหน่ึงเดียว แบบทดสอบต่อไปน้ีจะเป็นการทดสอบตนเอง วา่ เทคนิคทีค่ ุณใชอ้ ยเู่ ปิ ดโอกาสให้พนกั งานไดม้ ีส่วนร่วมในการกาํ หนดเป้ าหมายของการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน แบบทดสอบตนเอง8 คาํ กล่าวต่อไปน้ีขอ้ ใดท่คี ุณรู้สึกเห็นดว้ ยวา่ มีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การประเมินผลงาน ใหต้ อบวา่ “ใช่” ถา้ รู้สึกวา่ ไม่มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ใหต้ อบวา่ “ไม่ใช่” ใช่ ไม่ใช่1. คุณเก็บสมุดบนั ทึกผลงานของลูกนอ้ งแตล่ ะคนไวโ้ ดยละเอียดและปรบั ปรุง ……. ……. ใหท้ นั การอยเู่ สมอ2. คุณบอกใหล้ ูกนอ้ งรูต้ วั ก่อนเสมอเมอ่ื มีการพจิ ารณาผลงานและบอกใหพ้ วกเขา……. ……. จดั ทาํ ใบประเมินผลงานตนเองดว้ ย (Self-evaluation sheet)3. ประเดน็ เร่ืองเกี่ยวกบั รายไดผ้ ลตอบแทน คุณจะแยกคุยตา่ งหากไม่ปะปนกบั ……. ……. เรื่องการประเมินผลงาน 4. คุณเปิ ดโอกาสใหล้ ูกนอ้ งแสดงความคดิ เห็นก่อนจะตดั สินใจกาํ หนดแบง่ สรร ……. ……. งานใหม่ หรือวา่ มอบหมายงานใหม่ทุก ๆ คร้ังท่มี ีการประชุมพจิ ารณาผลงาน

685. ทุก ๆ คร้ังท่ีมีการประชุมพจิ ารณาผลงาน คุณจะคุยกบั ลูกนอ้ งในทท่ี ่คี ุณ ……. …….สามารถคุยกนั ไดต้ ามลาํ พงั และเลือกเวลาทีไ่ ม่มีใครเขา้ มารบกวน ……. …….6. คุณรูว้ ธิ ีที่จะวจิ ารณ์ลูกนอ้ งโดยไม่ก่อใหเ้ กิดการต่อตา้ น ……. …….7. คุณรู้ดีวา่ คาํ พดู เช่นไรท่ี “ไม่ควรพดู ” ในระหวา่ งการพจิ ารณาผลงาน ……. …….8. คุณรูส้ ึกวา่ ช่วงเวลาระหวา่ งการพจิ ารณาผลงานเป็ นการใชเ้ วลาทีม่ ีคุณคา่ ……. …….9. คุณไม่รู้สึกหนกั ใจเลยกบั การประเมินผลงานลูกนอ้ ง ……. ……10. คุณมกั จะติดตามเร่ืองทอี่ ยใู่ นความสนใจทบี่ งั เกิดข้ึนในระหวา่ งการประชุม ……. …….ประเมินผลงานเสมอ ๆ11. ระหวา่ งการพจิ าณาผลงาน คุณมีการคุยถกกบั ลูกนอ้ งท้งั ในส่วนทเ่ี ขาทาํ ได้ ……. …….ถูกตอ้ ง และส่วนท่ที าํ พลาดพล้งัข้นั ตอนท่สี ามารถนําไปใช้เพอ่ื ดําเนินการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านได้ผลสําเร็จ การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานจะดาํ เนินการไดผ้ ลสาํ เร็จ ควรใชข้ ้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี9 1. ต้งั เป้ าหมายและกาํ หนดหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบต้งั แตเ่ ริ่มเขา้ ทาํ งาน เมื่อมีการจา้ งงานมีการเลื่อนตาํ แหน่ง หรือมีการโอนยา้ ยพนกั งาน ควรใชเ้ วลาอธิบายกบั พนกั งาน และเขยี นหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบท้งั หมดทีอ่ ยใู่ นขอบขา่ ยของเขา นอกจากน้นั อาจจะคน้ หาจุดท่ียงั บกพร่องอยู่ และกาํ หนดเป้ าหมายวา่ จะมีการฝึกอบรมและเพมิ่ เตมิ ประสบการณ์ใหแ้ ก่พนกั งาน เพอื่ ช่วยใหเ้ ขาได้กา้ วหนา้ ตอ่ ไปในส่วนงานทรี่ ับผดิ ชอบ 2. จดบนั ทึกการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิงาน จดบนั ทึกรายงานของพนกั งานแต่ละคนอยเู่ สมอ(ไม่มีขอ้ ยกเวน้ ใด ๆ แมว้ า่ หน่วยงานของคุณจะเลก็ สกั ปานใดกต็ าม) จดบนั ทึกท้งั เร่ืองทเ่ี ป็ นผลบวกและเป็นผลลบ และในกรณีทม่ี ีการปรบั โทษตามระเบียบหรือมีการกล่าวตกั เตอื น ก็ควรลงบนั ทึกไวด้ ว้ ยเช่นกนั 3. เตรียมความพร้อมของพนกั งานเพอ่ื ใหม้ ีส่วนร่วมในกระบวนการพจิ ารณาประเมินผลแจกแบบฟอร์มเอกสารประเมินตนเองใหก้ บั พนกั งานล่วงหนา้ ก่อนจะถึงวนั ประชุมประเมินผล ย้าํเตอื นใหเ้ ขาทราบวา่ ในระหวา่ งการประชุมจะคุยเร่ืองอะไรบา้ ง และบอกใหเ้ ขาคิดเผอื่ ไวล้ ่วงหนา้ในเร่ืองเป้ าหมายอนาคตของเขาเอง รวมท้งั ขอ้ สงสยั ทเี่ ก่ียวเนื่องกบั งานทกี่ าํ ลงั อยใู่ นความสนใจของเขา 4. เตรียมตวั เองใหพ้ ร้อมสาํ หรับกระบวนการพิจารณาประเมิน อยา่ กาํ หนดใหม้ ีการประชุมประเมินผลในเวลาทคี่ ุณตอ้ งเร่งรีบหรือมีเรื่องแทรกเขา้ มามากมาย ควรเตรียมเอกสาร

69เหล่าน้ีก่อนมกี ารประชุมการพจิ ารณาเรื่องแผนงานหรือแนวทางอนาคตสาํ หรบั พนกั งาน และอยา่ลืมจดบนั ทกึ ไวเ้ พอื่ ทีค่ ุณจะไดใ้ ชค้ ุยกบั พนกั งานในทปี่ ระชุม พยายามคดิ มาก่อนล่วงหนา้ วา่ ลูกนอ้ งจะสนใจและปรึกษาเร่ืองใดบา้ ง ทาํ โตะ๊ ให้วา่ ง จดั หอ้ งประชุมใหป้ ราศจากสิ่งรบกวน อยา่ คิดที่จะ“วา่ กนั ไปตามอาํ เภอใจ” แต่ควรเตรียมหวั ขอ้ ที่จะคุยไวใ้ หพ้ ร้อม 5. เปิ ดใจใหก้ วา้ งในเร่ืองเป้ าหมายอนาคตของลูกนอ้ ง เปิ ดโอกาสใหล้ ูกนอ้ งไดแ้ สดงความคดิ ของเขาเอง ซ่ึงอาจไม่ตรงกบั สิ่งทีค่ ุณคาดคะเนไว้ และพยายามช่วยลูกนอ้ งวางแนวทางที่จะทาํ ใหเ้ ป้ าหมายเหล่าน้ีประสบผลสาํ เร็จ และคุณเองก็อาจจะเสนอความคดิ ของคุณไดเ้ ช่นกนัอยา่ ลืมวา่ การประเมินผลเป็นกระบวนการทต่ี อ้ งออกความเห็นร่วมกนั 6. อยา่ คุยเร่ืองรายไดผ้ ลตอบแทนจนกวา่ จะถึงวนั ประชุมภายหลงั การประเมินผล ถึงข้นัตอนน้ี คุณควรไดร้ ับคาํ ยนื ยนั จากผบู้ ริหารหรือฝ่ ายบุคคลเสียก่อนเกี่ยวกบั เร่ืองการข้ึนเงนิ เดือนโปรแกรมฝึกอบรม การเล่ือนตาํ แหน่ง หรือการโอนยา้ ยตามท่คี ุณต้งั ใจจะตระเตรียมสาํ หรับพนกั งาน อยา่ เพงิ่ รบั ปากในเรื่องทคี่ ุณยงั ไม่มีอาํ นาจการตดั สินใจอยา่ งเตม็ ท่ี 7. ดาํ เนินการตามแผนงานท่คี ุณและลูกนอ้ งเป็ นผกู้ าํ หนดข้ึน โดยการกระทาํ ตอบสนองและแสดงความเห็นต่องานท่ลี ูกนอ้ งทาํ ในแตล่ ะวนั กระบวนการประเมินผลควรกระทาํ ต่อเนื่องโดยเฉพาะยามเมื่อคุณตอ้ งการจะกล่าวชม ควรตรวจสอบดูวา่ ลูกนอ้ งมีความคบื หนา้ แคไ่ หนในการกา้ วไปสู่เป้ าหมาย นอกจากน้ี คุณควรมีการประชุมติดตามผลเพอ่ื ทบทวนกลยทุ ธท์ ่ีนาํ มาใชใ้ นกรณีที่ลูกนอ้ งมีอตั ราความคบื หนา้ ต่าํผังความคดิ (Mind Mapping)10 ผงั ความคดิ (Mind Mapping) คอื การเชื่อมโยงขอ้ มูลระหวา่ งเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ระหวา่ งความคิดหลกั ความคิดรองและความคิดยอ่ ยท่เี กี่ยวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั เป็ นเทคนิคทีจ่ ะช่วยให้เราสามารถจดจาํ ไดด้ ีข้ึน ช่วยให้เราคดิ อยา่ งรอบดา้ นและเป็ นระบบ ทาํ ใหเ้ ราเห็นแผนผงั ความเช่ือมโยงของประเดน็ ต่าง ๆ มีประโยชนต์ ่อการเตรียมตวั สอบ การเตรียมการสอน การคิดประเด็นเพอ่ื ทาํ รายงานและการประชุมเพอ่ื ระดบั สมอง ดงั ตวั อยา่ งท่แี สดงในรูปที่ 2

70 รูปท่ี 2 ลักษณะการเขียนผงั ความคดิ เทคนิคการคดิ คอื การนาํ ประเดน็ ใหญ่ ๆ มาเป็ นเป็ นหลกั การนาํ ไปใช้ มีหลกั การใช้ดงั น้ี 1. ใชร้ ะดมพลงั สมอง 2. ใชน้ าํ เสนอขอ้ มลู 3. ใชจ้ ดั ระบบความคิดและช่วยความจาํ 4. ใชว้ เิ คราะห์เน้ือหาหรืองานต่าง ๆ 5. ใชส้ รุปหรือสร้างองคค์ วามรู้ ข้นั ตอนการสร้างผงั ความคดิ (Mind Mapping) ในการสรา้ งผงั ความคิด มีข้นั ตอนดงั น้ี11 1. เขียน/วาดมโนทศั น์หลกั ตรงก่ึงกลางหนา้ กระดาษ 2. เขียน/วาดมโนทศั นร์ องทีส่ มั พนั ธก์ บั มโนทศั นห์ ลกั ไปรอบ ๆ 3. เขยี น/วาดมโนทศั นย์ อ่ ยท่สี มั พนั ธก์ บั มโนทศั น์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ 4. ใชภ้ าพหรือสญั ลกั ษณ์ส่ือความหมายเป็ นตวั แทนความคิดใหม้ ากทสี่ ุด 5. เขียนคาํ สาํ คญั (Key word) บนเสน้ และเสน้ ตอ้ งเช่ือมโยงกนั 6. กรณีใชส้ ี ท้งั มโนทศั น์รองและยอ่ ยควรเป็ นสีเดียวกนั 7. คดิ อยา่ งอิสระมากทีส่ ุดขณะทาํ

71 ตัวอย่างการเขยี นผงั ความคดิ จากการทผี่ เู้ รียนไดเ้ รียนวชิ าการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน (3207-2009) ในหน่วยท่ี 1ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ซ่ึงผเู้ รียนจะไดเ้ รียนเน้ือหาเกี่ยวกบัความหมาย ประโยชน์ ความสาํ คญั วตั ถุประสงค์ หลกั การประเมินผล และระบบของการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ผเู้ รียนสามารถใชห้ ลกั การเขยี นผงั ความคดิ มาช่วยในการจดจาํ และสร้างความเขา้ ใจในเน้ือหาไดอ้ ยา่ งครบถว้ นสมบูรณ์ โดยสามารถเขียนเน้ือหาท่เี รียนในรูปผงั ความคดิเพอื่ ป้ องกนั การลมื และใหเ้ ขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน ดงั แสดงในรูปท่ี 3 รูปที่ 3 ตัวอย่างการเขยี นผงั แนวคดิ

72กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ข้นั นําเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูผสู้ อนให้ผเู้ รียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนท่ี 3 1.2 ครูผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มตามท่ีจดั แบ่งไว้ เขียนสิ่งทีผ่ ปู้ ระเมินและผถู้ ูกประเมินควรจะเตรียมความพรอ้ มอยา่ งไรก่อนการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน แลว้ นาํ มานาํ เสนอในช้นั เรียนดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 2. ข้นั ดาํ เนินการสอน 2.1 ครูผสู้ อนบรรยายเน้ือหาดว้ ยโปรแกรมนาํ เสนอ Microsoft PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน ตามหวั ขอ้ ในเน้ือหาของหน่วยการเรียน พร้อมท้งั บรูณาการสอนโดยให้ผเู้ รียนใชโ้ ปรแกรมนาํ เสนอจากการเรียนวิชาการใชโ้ ปรแกรมชุดสาํ นกั งานในงานเลขานุการมานาํ เสนอหนา้ ช้นั เรียน 2.2 ครูผสู้ อนอธิบายและยกตวั อยา่ งสิ่งที่ผปู้ ระเมินและผถู้ ูกประเมินควรเตรียมความพรอ้ มก่อนการประเมิน เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจมากยงิ่ ข้นึ 3. ข้นั นําไปใช้หรือประเมนิ ผล 3.1 ครูผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยการเรียน โดยตอนท่ี 1 ใหท้ กุ คนทาํดว้ ยตวั เองส่งครูผสู้ อน เพอื่ ใหค้ รูผสู้ อนตรวจสอบความถูกตอ้ งและแกป้ ัญหาในขอ้ บกพร่อง และตอนท่ี 2 ใหท้ าํ เป็นกลุ่ม โดยให้ผเู้ รียนช่วยกนั แสดงความคิดเห็นในการตอบคาํ ถามจากการศึกษากรณีศึกษาและสรุปความคิดเห็นของกลุ่มส่งครูผสู้ อน 3.2 ครูผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย โดยครูผสู้ อนอธิบายในประเด็นทสี่ าํ คญั ทีผ่ เู้ รียนส่วนใหญย่ งั ทาํ ไม่ไดห้ รือไม่เขา้ ใจ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจมากยงิ่ ข้นึ 3.3 ครูผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนส่งตวั แทนกลุ่มมานาํ เสนอความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การศึกษากรณีศึกษาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ในช้นั เรียน 3.4 ครูผสู้ อนให้ผเู้ รียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรียนท่ี 3 4. ข้นั สรุป 4.1 ให้ผเู้ รียนช่วยกนั สรุปเน้ือหาทเี่ รียนในหน่วยน้ี และครูผสู้ อนสรุปซ้าํ ในเน้ือหาที่สาํ คญั 4.2 ครูผสู้ อนนาํ ผลจากการตรวจสมุดแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยท่ผี เู้ รียนไดท้ าํ ส่ง มาช้ีแจงใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบเพอื่ นาํ มาปรบั ปรุงแกไ้ ขใหด้ ีข้ึน 4.3 ครูผสู้ อนเฉลยคาํ ถามจากการศกึ ษากรณีศึกษาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน

73 4.4 ให้ผเู้ รียนสรุปเน้ือหาของหน่วยการเรียนที่ 3 โดยใชว้ ธิ ีการและหลกั การของผงั ความคิด (Mind Mapping) 4.5 ครูผสู้ อนแจง้ ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 4.6 ครูผสู้ อนนดั หมายใหผ้ เู้ รียนเตรียมตวั เก่ียวกบั เน้ือหาที่จะเรียนในหน่วยการเรียนต่อไป 5. จริยธรรมสอดแทรก ครูผสู้ อน อบรมผเู้ รียนในเรื่องการแตง่ กายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บของวทิ ยาลยั และเหมาะสมกบั กาลเทศะ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเป็ นผทู้ ี่มีบุคลิกภาพท่ดี ีสื่อการเรียนการสอน 1. คอมพวิ เตอร์ 2. โทรทศั น์ 3. เอกสารประกอบการสอนหน่วยการเรียนท่ี 3 การเตรียมความพรอ้ มสาํ หรบั การประเมินผลวธิ ีการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ประเมินจากความสนใจในการฟังครูผสู้ อนบรรยายและขณะทาํ กิจกรรม 2. สงั เกตพฤติกรรมจากการตอบคาํ ถาม 3. ประเมินจากการทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยการเรียนทผ่ี เู้ รียนแต่ละคนทาํ ส่ง 4. ประเมินจากการทาํ กิจกรรมกลุ่ม 5. ประเมินจากการทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนตําราและหนังสืออ่านประกอบ ชลิดา ศรมณี การบริหารงานบคุ คล กรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง,2532 หนา้ 246-247 ชญั ญา ชยากร เทคนิคประเมนิ ผลงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ กรุงเทพฯ: บริษทั ซีเอด็ยเู คชนั่ จาํ กดั (มหาชน), 2538, หนา้ 17-20, 146-148 วิชิต ชาวะหา ผังความคดิ Mind Mapping มหาสารคาม: ศนู ยพ์ ฒั นาทรพั ยากรการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา http://www.jcu.edu.au/studying/services/studyskills/mindmap/howto.htm/(15 มกราคม, 2549)

74 วเิ ชียร มหาพรหม ผังความคดิ Mind Mapping เชียงใหม่: หมวดวชิ าคอมพวิ เตอร์,โรงเรียนยพุ ราชวทิ ยาลยั . (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า http://61.19.145.15/CAI2006/ 33102/m3/plan1/mapping.html/(15 มกราคม, 2549) วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม การประประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานอย่างมีประสิทธิภาพกรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พ์ Be Bright Books, 2546 หนา้ 40-52, 57

75 แบบทดสอบประเมนิ ผลด้วยตนเองท้ายหน่วยการเรียนที่ 3คาํ สั่ง จงตอบคาํ ถามต่อไปน้ีโดยอธิบายมาใหเ้ ขา้ ใจ 1. ผปู้ ระเมินควรเตรียมความพร้อมอยา่ งไรก่อนทจ่ี ะทาํ การประเมิน 2. สิ่งท่ผี ปู้ ระเมินควรหลีกเล่ียงเม่ืออยใู่ นกระบวนการประเมิน 3. ผถู้ ูกประเมินควรเตรียมความพรอ้ มอยา่ งไรในการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน 4. จงอธิบายแนวทางในการจดั ทาํ แผนดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมิน

76 แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยการเรียนท่ี 3ตอนที่ 1 จงตอบคาํ ถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. ผปู้ ระเมินควรจะเตรียมความพร้อมก่อนการประเมินอยา่ งไรบา้ ง 2. จงอธิบายสิ่งทีผ่ ปู้ ระเมินควรหลีกเล่ียงในขณะทอ่ี ยใู่ นกระบวนการประเมิน 3. จงอธิบายองคป์ ระกอบของการประเมินผลทีป่ ระสบผลสาํ เร็จ 4. จงอธิบายแนวทางในการจดั ทาํ แผนการดาํ เนินการสาํ หรบั การประเมินตอนท่ี 2 ให้ศึกษากรณศี ึกษาต่อไปนี้ แล้วตอบคาํ ถามท้ายกรณศี ึกษา กรณศี ึกษาที่ 2 อะไรทาํ ให้สันติไม่พอใจ?12 มยรุ ีเพงิ่ จะเสร็จสิ้นการประเมินผลกบั พนกั งานคนหน่ึงของเธอ และพนกั งานผนู้ ้นั กม็ ีความ รูส้ ึกทไ่ี ม่คอ่ ยพอใจเธอนกั เธอเล่าใหผ้ จู้ ดั การคนหน่ึงฟังในช่วงอาหารกลางวนั วา่ “ฉนั เพงิ่ประเมินสนั ตไิ ปเมื่อเชา้ น้ี ฉนั ตอ้ งเรียกใหเ้ ขาออกจากการประชุมงบประมาณ เพราะเพิง่ นึกข้ึนได้วา่ การประเมินท้งั หมดจะมีข้ึนในวนั น้ี ฉนั แทบไม่เช่ือปฏกิ ิริยาของเขาเลย เขาบอกวา่ ไม่มีเวลาเตรียมตวั และอยากใหฉ้ นั ยกตวั อยา่ งประกอบสิ่งทฉี่ นั ไดพ้ ดู ออกไป ท้งั หมดท่เี ขาทาํ ก็คอื วจิ ารณ์ตาํ แหน่งงานของฉนั ใน 2-3 เรื่อง ฉนั บอกเขาหลายอยา่ งถึงสิ่งท่ฉี นั ไม่ชอบเกี่ยวกบั ผลการปฏิบตั ิงานของเขา และฉนั เองกพ็ รอ้ มทจ่ี ะบอกถงึ วธิ ีแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่อเขา แต่ทวา่ ท้งั หมดท่ีฉนัไดร้ บั กค็ อื ความโมโหและความเงียบ คุณอาจจะคิดวา่ เขารูส้ ึกขอบคุณตอ่ ผลสะทอ้ นกลบั แตฉ่ นัวา่ ผคู้ นสมยั น้ีไม่ไดใ้ ส่ใจมากนกั เกี่ยวกบั การปรบั ปรุง ตามปกติเขาเป็ นพนกั งานท่ดี ีคนหน่ึง แต่เขารูส้ ึกไม่พอใจแน่ ๆ ในช่วงการประเมินผล คุณคดิ วา่ เขาเป็ นอะไรของเขา? จากการศึกษากรณศี ึกษา คณุ คดิ ว่าอะไรทําให้สันตไิ ม่พอใจ?คาํ ตอบ สนั ติไม่พอใจเพราะ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

77บันทกึ หลังการสอน ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน ครูผสู้ อนสามารถนาํ เอาเอกสารประกอบการสอนหน่วยการเรียนที่ 3 การเตรียมความพร้อมสาํ หรบั การประเมินผล ไปใชป้ ระกอบการสอนในช้นั เรียน ตามกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีไดก้ าํ หนดไวเ้ ป็นแผนการสอนประจาํ หน่วยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และบรรลุวตั ถุประสงคข์ องการเรียนรู้ (ปลายทาง) คอื ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจในการเตรียมความพร้อมของผปู้ ระเมินและผถู้ ูกประเมิน องคป์ ระกอบ แนวทางและข้นั ตอนต่าง ๆ ทสี่ ามารถนาํ ไปใชเ้ พอื่ ดาํ เนินการประเมินผลอยา่ งมีประสิทธิภาพใหไ้ ดผ้ ลสาํ เร็จ ผลการเรียนของผู้เรียน ผลการเรียนของผเู้ รียนเนื่องมาจากการท่คี รูผสู้ อนไดใ้ ชเ้ อกสารประกอบการสอนทผ่ี ลิตข้นึสามารถทาํ ใหผ้ เู้ รียนบรรลุวตั ถุประสงค์ ตามจุดประสงคก์ ารเรียน (นาํ ทาง) ท้งั 4 ขอ้ ผลการสอนหลังเรียน คะแนน จํานวน (คน) ร้อยละ8 คะแนนข้ึนไป 22 59.45 10 27.03 7 1 2.70 6 4 10.82 5 - ต่าํ กวา่ 5 37 - รวม 100.0 ผลการสอนของครู ครูผสู้ อนสามารถทาํ การสอนไดต้ ามกิจกรรมการเรียนการสอนที่กาํ หนดไวใ้ นเอกสารประกอบการสอนไดท้ นั ตามเวลาและบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องหน่วยการเรียนท่ี 3ลงช่ือ...............................................ผสู้ อน (นางสาวพรสวรรค์ ปันธิ)ลงชื่อ...............................................หวั หนา้ แผนกวชิ าการเลขานุการ (นางปิ ยะพนั ธ์ ตนั มา)ลงชื่อ...............................................รองผอู้ าํ นวยการฝ่ ายวชิ าการ (นางคนั ธาภรณ์ เวชศลิ ปคอง)

78 เชิงอรรถหน่วยการเรียนท่ี 3 1วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม การประประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านอย่างมปี ระสิทธิภาพกรุงเทพฯ: สาํ นกั พมิ พ์ Be Bright Books, 2546 หนา้ 48-49 2ชลิตา ศรมณี การบริหารงานบคุ คล กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, หนา้246-247 3วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดิม, หนา้ 50 4วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดมิ , หนา้ 40-42 5วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดมิ , หนา้ 44-47 6วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดมิ , หนา้ 51 7วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดิม, หนา้ 52 8ชญั ญา ชยากร เทคนิคประเมนิ ผลงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ กรุงเทพฯ: บริษทั ซีเอ็ดยเู คชนั่ จาํ กดั (มหาชน), 2538, หนา้ 17-20 9ชญั ญา ชยากร, จากแหล่งเดมิ , หนา้ 146-148 10วชิ ิต ชาวะหา ผงั ความคดิ Mind Mapping มหาสารคาม: . (ออนไลน์). แหล่งท่มี าhttp://www.jcu.edu.au/studying/services/studyskills/mindmap/howto.htm/(15 มกราคม, 2549) 11วเิ ชียร มหาพรหม ผังความคดิ Mind Mapping เชียงใหม่: หมวดวิชาคอมพวิ เตอร์,โรงเรียนยพุ ราชวทิ ยาลยั . (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา http://61.19.145.15/CAI2006/33102/m3/plan1/mapping.html/(15 มกราคม, 2549) 12วฒุ ิพงษ์ ยศถาสุโรดม, จากแหล่งเดิม, หนา้ 57


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook