ก รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
ข คานา รายงานประจาปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 25๖๔ ฉบับน้ี โรงเรียนบ้านแพะ ได้จัดทาข้ึน ตามกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา 2561 ข้อ 3 ที่ระบุให้สถานศึกษาแต่ละแห่ง จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรอื หน่วยงานทก่ี ากบั ดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจาทกุ ปี เอกสารรายงานประจาปีของสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบด้วยส่วนสาคัญ คือ บทสรุปของผู้บริหาร สถานศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนท่ี 3 สรุปผลการ ประเมินและแนวทางการพฒั นา และสว่ นที่ 4 ภาคผนวก โรงเรียนบ้านแพะ ขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงาน และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ท้ังภายใน และภายนอกโรงเรียน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทาเอกสารรายงานฉบับน้ี และหวังว่า เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการ กาหนดนโยบายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพื้นท่ีการศึกษา ตลอดจน เพ่ือประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป โรงเรียนบ้านแพะ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
ค สารบญั หน้า ก เร่ือง ข คานา ค สารบัญ 1 บทสรุปของผูบ้ ริหารสถานศึกษา 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 2 3 1.1 ขอ้ มูลทัว่ ไป 3 1.2 ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา 3 1.3 ขอ้ มลู นักเรียน 4 1.4 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 4 5 -ระดับปฐมวยั 6 -ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 6 1.5 ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 17 1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ช้นั ป. 6 23 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 24 ระดบั ปฐมวยั 24 ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 25 ผลการประเมนิ เมอ่ื เทยี บกับค่าเป้าหมายความสาเร็จที่สถานศึกษากาหนด 28 สว่ นท่ี 3 สรุปผลและแนวทางการพัฒนา 29 ระดบั ปฐมวัย 37 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 37 ภาคผนวก 37 ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ปีการศกึ ษา 2564 38 ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนทุกระดับชัน้ ผลการประเมินคุณภาพ (NT) ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-Net) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 คาสง่ั รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
ง บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร โรงเรียนบ้านแพะ ท่ีอยู่ เลขท่ี 254 หมู่ 4 บ้านแพะ ตาบลเมืองปาน อาเภอเมืองปาน จังหวัด ลาปาง 52240 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จัดการศึกษาในระดับชั้น ปฐมวัย ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจานวนนักเรียน ๑๐2 คน มีจานวนข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา ๑2 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 256๕) ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย โ ด ย ภ า พ ร ว ม แ ล ะ ร า ย ม า ต ร ฐ า น ทงั้ 3 มาตรฐานมีคุณภาพอยูใ่ นระดบั ดเี ลศิ ทางโรงเรยี นมีโครงการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ประกอบด้วยกิจกรรม ตา่ ง ๆ ที่กาหนดใหค้ รอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน มีกิจกรรมเสริมสร้างวินัยนักเรียน กิจกรรมส่งเสริมการ เรียนรู้นอกสถานที่ กิจกรรมสร้างความเข้าใจระหว่างครูและผู้ปกครอง กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย นักเรียน กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการเสริมสร้างความพร้อมปฐมวัยกิจกรรม จดั หอ้ งปฐมวัยให้น่าอยู่ กจิ กรรมพัฒนาเทคโนโลยีปฐมวัย แผนการยกระดับให้สูงขึ้นในปีต่อไปคือ โครงการ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และโครงการอนื่ ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง เนน้ การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนาในทกุ ด้าน ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยภาพรวมและรายมาตรฐานทั้ง 3 มาตรฐาน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีเลิศ ทางโรงเรียนมีโครงการดังน้ี โครงการพัฒนาหลักสูตร โครงการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โครงการนิเทศภายใน โครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียน กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษา O-NET และ NT โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมอบรมประจาสัปดาห์ โครงการสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน กิจกรรมการเรียน การสอนเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมส่งเสริมการเล่นกีฬาและออกกาลังกาย โครงการพัฒนาระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรยี น ความโดดเด่นของโรงเรียน คือ สถานศึกษามีผลการดาเนินการด้านกระบวนการจัดการเรียน การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในระดับคุณภาพดีเลิศ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ มีการใช้สื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษาใน มีการประเมินผลและนาผลการประเมินมาวางแผน พฒั นาผู้เรียนในการจดั การเรียนรู้ในคร้ังต่อไป มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการ กิจกรรมต่างๆ มีการนาเสนอต่อท่ีประชุมครู ผู้ปกครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานให้ทราบอย่างตอ่ เนอ่ื ง การปฏบิ ัตทิ ด่ี ี คือ นาผลจากการนเิ ทศภายใน ในปที ีผ่ า่ นมาดาเนนิ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อกาหนดแผนในการพัฒนาครูให้มีทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ความตอ้ งการช่วยเหลือจากหน่วยงานต้นสงั กัด โรงเรียนต้องการงบประมาณเนื่องจากไมเ่ พยี งพอ อีกท้ังทางโรงเรยี นยงั ต้องการสอ่ื เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และงบประมาณในการบรหิ ารจัดการ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
จ ระดบั ปฐมวัย ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา : ดีเลิศ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั ยอดเยย่ี ม ผลการประเมินมาตรฐานระดับปฐมวยั ในภาพรวมอย่ใู นระดบั “ด”ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมมีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมมีคณุ ภาพอยู่ใน ระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เป็นสาคัญ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมมคี ุณภาพ อยูใ่ นระดับ ยอดเย่ียม ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลิศ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ดเี ลิศ ผลการประเมินมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมอย่ใู นระดับ “ดเี ลิศ” มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคณุ ภาพผ้เู รียน ผลการประเมินตนเองอยู่ในระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ผลการประเมินตนเองอยู่ในระดบั ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ผลการประเมนิ ตนเองอยูใ่ น ระดับ ดีเลศิ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๑ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา 1.1 ขอ้ มูลทัว่ ไป โรงเรียนแพะ ตั้งอยูเ่ ลขที่ 254 หมู่ 4 ตาบลเมืองปาน อาเภอเมืองปาน จงั หวดั ลาปาง รหสั ไปรษณยี ์ 52240 จงั หวัดลาปาง โทรศัพท์ : .............-........... E-mail : [email protected] Website : https://sites.google.com/view/banpaeschool/home สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปางเขต 3 เปิดสอนต้ังแตร่ ะดบั ชัน้ อนุบาล 2 ถึงระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เขตพ้ืนท่ี บรกิ ารการศึกษา ไดแ้ ก่ บา้ นแพะ หมู่ 4 และบ้านสบปาน หมู่ 7 วิสัยทศั น์ จัดการศึกษาให้ทีคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม นอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ ปรัชญา โยคา เว ชายเต ภรู ิ ปัญญายอ่ มเกดิ เพราะการฝึกฝน พนั ธกิจ 1. พฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพผเู้ รียนทุกช่วงวัยท่มี ที ักษะจาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มีความเป็นเลิศ ด้านวิชาการ มีทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ มีนิสัยรักการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง 2. สง่ เสรมิ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ให้มพี ฒั นาการศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล 3. ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรักในสถาบันชาติ ยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นาหลักธรรมทางพุทธศาสนา ในการดาเนนิ ชีวติ เป็นพลเมอื งของชาติ และเป็นพลโลกที่ดี 4. ส่งเสริมผูเ้ รียนนาหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดาเนินชวี ิต เป้าหมาย ๑. ผเู้ รยี นเป็นผู้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา เปน็ คนเกง่ คนดี มคี วามสุข มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความรับผดิ ชอบ ตอ่ ตนเองและสงั คม บน พน้ื ฐานความเปน็ ไทย นอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การดารงชวี ติ ๒. ครู และบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถ จดั การเรียนการสอนตามมาตรฐาน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๒ ๓. โรงเรยี นมหี ลักสตู รสถานศกึ ษาที่สง่ เสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล ตอบสนองความถนัดและความต้องการของผูเ้ รยี น ชมุ ชน และสังคม ๔. โรงเรียนพฒั นาส่ือเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษาเพือ่ ส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้ครแู ละ นักเรยี นใชใ้ นการจัดการศึกษาทมี่ คี ุณภาพ ๕. โรงเรยี นมีการจัดกระบวนการเรยี นการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลท่ีมี คณุ ภาพ ท่เี อือ้ ตอ่ การพัฒนานักเรยี นอย่างรอบด้าน ๖. โรงเรยี นมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างมรี ะบบตามหลกั ธรรมาภิบาล ๗. โรงเรียนพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ และสภาพแวดล้อมให้เออื้ ต่อการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ ๘. ชมุ ชน ผ้ปู กครอง และภาคเี ครอื ขา่ ยมีสว่ นร่วมในการส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาทม่ี ี คุณภาพ 1.2 ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศกึ ษา 1) ขอ้ มลู ผบู้ รหิ าร นายโชคอนนั ต์ อนันตสิทธิโชติ ผอู้ านวยการโรงเรียน โทรศัพท์ 0๘๔ ๒๐๔ ๑๑๐๐ e-mail: [email protected] วฒุ ิการศกึ ษา การศึกษามหาบณั ฑติ ดารงตาแหน่งที่โรงเรยี นน้ตี ้งั แต่ 3 ตลุ าคม ๒๕๖4 ถงึ ปจั จบุ ัน 2) จานวนบคุ ลากร บคุ ลากร ผบู้ รหิ าร ครผู ้สู อน พนักงาน ครอู ตั รา เจ้าหน้าท่ี รวมท้ังหมด ราชการ จา้ ง อนื่ ๆ 12 ๑ ปีการศกึ ษา 2564 1 6 0 4 3) วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุดของบุคลากร วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาเอก ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี ตา่ กวา่ รวมทั้งหมด ป.ตรี 12 จานวน(คน) 039 0 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓ 1.3 ข้อมูลนักเรียน (ณ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน ของปกี ารศึกษา 256๔) ระดบั ชั้นเรียน จานวนหอ้ งเรียน จานวนนักเรียน เฉล่ียต่อห้อง ชาย หญงิ รวม อ.2 1 ๙ ๖ ๑๕ ๑๕ อ.3 1 ๘ ๘ ๑๖ ๑๖ ป.1 1 ๕ ๗ ๑๒ ๑๒ ป.2 1 ๓ ๗ ๑๐ ๑๐ ป.3 1 ๑๑ ๙ ๒๐ ๒๐ ป.4 1 ๒๗๙ ๙ ป.5 1 ๘ ๓ ๑๑ ๑๑ ป.6 1 ๗๒๙ ๙ รวมทั้งหมด 8 ๕๓ ๔๙ ๑๐๒ ๑๐๒ 1.4 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดับสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับปฐมวยั รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีผลการประเมนิ พัฒนาการแตล่ ะดา้ นในระดบั 3 ข้นึ ไป ระดบั ช้ัน จานวนนกั เรยี น ผลการประเมนิ พัฒนาการนักเรียนด้าน ครบทง้ั 4 ดา้ น รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปญั ญา อ.2 1๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ อ.3 ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ ๑๖ รวม ๓๑ ๓๑ ๓๑ ๓๑ ๓๑ ๓๑ รอ้ ยละ 100 100 100 100 100 รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๔ ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ร้อยละของนักเรยี นท่ีมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนแตล่ ะรายวิชาในระดบั 3 ขึน้ ไป ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 256๔ รายวิชา (พ้ืนฐาน) ระดับชนั้ จานวน ภาษาไทย นกั เรยี น ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ัสงคมศึกษาฯ ประ ัวติศาสตร์ ุสข ึศกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพฯ ภาษา ัองกฤษ ป.1 12 10 10 11 9 12 12 12 12 11 ป.2 10 8 7 8 8 8 10 9 8 8 ป.3 20 17 16 17 16 17 20 20 20 18 ป.4 9 988899997 ป.5 12 10 10 8 12 12 12 12 12 7 ป.6 9 7 4 6 8 10 7 9 9 6 รวม 72 61 55 58 61 68 70 71 70 57 ร้อยละ 84.72 76.39 80.56 84.72 94.44 97.22 98.61 97.22 79.17 1.5 ผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 1) ผลการประเมนิ คุณภาพผ้เู รียน (NT) ปีการศึกษา 256๔ ความสามารถ ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ระดบั ประเทศ ระดบั สพฐ. 56.14 49.44 ด้านภาษาไทย 71.47 55.48 52.80 ดา้ นคณติ ศาสตร์ 62.44 48.73 รวมความสามารถทัง้ 2 ดา้ น 66.95 52.11 รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๕ 2) การเปรียบเทยี บคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ปีการศึกษา 256๓-256๔ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ความสามารถ ปีการศึกษา 256๓ ปีการศึกษา 2564 รอ้ ยละของผลตา่ ง ระหว่างปกี ารศกึ ษา ดา้ นภาษาไทย 66.87 71.47 +4.99 ด้านคณติ ศาสตร์ 60.12 62.44 +2.32 รวมความสามารถท้งั 2 ดา้ น 63.50 66.95 +3.45 1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ป. 6 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 256๔ รายวิชา ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศ ระดับ สพฐ. ภาษาไทย 57.67 49.54 50.38 คณติ ศาสตร์ 43.08 35.85 36.83 วิทยาศาสตร์ 30.42 33.68 34.31 ภาษาอังกฤษ 43.23 35.46 39.22 ค่าเฉล่ยี รวม 43.60 38.63 40.19 2) การเปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (O-NET) ปกี ารศึกษา 256๓-256๔ รายวิชา ปกี ารศกึ ษา 256๓ คะแนนเฉลยี่ เพ่ิม/ลด ปีการศกึ ษา 256๔ ภาษาไทย 45.55 57.67 +13.12 คณติ ศาสตร์ 30.00 43.08 +13.08 วทิ ยาศาสตร์ 36.20 30.42 -5.78 ภาษาอังกฤษ 35.50 43.23 +7.73 ค่าเฉลี่ยรวม 33.90 43.60 +9.70 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๖ ส่วนท่ี 2 ระดบั คุณภาพ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ดีเลิศ ระดับปฐมวยั ดีเลิศ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา : ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ผลการประเมินคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมต่างๆ โดยให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแล รักษาสุขภาพอนามยั ของตนเองอย่างสม่าเสมอ โครงการอาหารกลางวัน โรงเรยี นได้จัดอาหารกลางวันสาหรับ นักเรยี นโดยใหน้ ักเรียนได้รับประทานอาหารท่ีม่ีประโยชน์ครบท้ัง 5 หมู่ครบทุกคน เพื่อให้นักเรียนมีร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ในการรับประทานอาหารทดี่ ี มนี า้ หนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์ รู้จักการปฏิบัติตนที่ถูกต้องใน การรับประทานอาหาร ซึ่งได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเป็นอย่างดี โครงการเฝ้าระวังและดูแลช่วยเหลือ นักเรียน โรงเรยี นได้ให้ความรูแ้ ละกาหนดเน้อื หาไวใ้ นหลกั สตู รสถานศึกษา เพื่อปลูกฝังและป้องกันมิให้ได้รับ อนั ตรายจากสารเสพตดิ ภาวะเส่ียงต่อความรุนแรงทางเพศ อุบัติเหตุ โรคภัย โดยจัดหน้าที่ให้ครูประจาชั้น และครูฝ่ายปกครองและคณะกรรมการนักเรียนช่วยกันดูแลความประพฤติ และการปฏิบัติตนของนักเรียน และประสานงาน พบปะกับผปู้ กครองนกั เรยี น โรงเรยี นจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ครูจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน มีความอารมณ์ แจ่มใส ฝึกให้มีความมั่นใจ และกล้าแสดงออก รู้จักยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย เช่น การเข้าแถวรอรับบริการต่างๆ ยอมรับและ พอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อ่ืน มีจิตสานึก และค่านิยมที่ดี มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้า แสดงออก ชอบช่วยเหลือแบ่งปันแก่เพื่อนและเด็กท่ีเล็กกว่า มีน้าใจช่วยเหลืองานครู เคารพสิทธิ รู้หน้าท่ี รับผิดชอบหน้าท่ีที่ตนได้รับมอบหมาย เช่น การบ้านที่ได้รับมอบหมาย เวรทาความสะอาดห้องประจาวัน เป็นต้น รจู้ ักอดทนอดกล้ัน มีความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ เชน่ เมือ่ เก็บเงนิ หรอื สิ่งของท่ีไม่มีเจ้าของได้ จะนาส่งครูเพ่ือ ประกาศหาเจ้าของ โดยไมเ่ อามาเป็นของตน มีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถานศึกษากาหนด รู้จักช่ืนชมและ มคี วามสขุ กับศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียน มีวินัย รับผิดชอบ เช่ือฟังคาส่ัง สอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ปฏิบัติตามขอ้ ตกลงรว่ มกนั ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บของสถานศึกษา ส่งเสริมให้มีความ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๗ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ และประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและ ศาสนาท่ตี นนับถือ โรงเรียนบ้านแพะมีจุดเน้นทางด้านเด็กมีคุณธรรมจริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยม หลักของคนไทย 12 ประการและโรงเรียนบ้านแพะมีกระบวนการพัฒนาเด็กท่ีหลากหลาย มีการปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จัดทาแผนแบบบูรณาการและส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม จติ ใจ สังคมและสติปญั ญา รวมถึงการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ที่สามารถพัฒนาคุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงคเ์ ดก็ อยา่ งมเี ปา้ หมาย รวมถึงการจัดกิจกรรมบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โรงเรียน ไดด้ าเนนิ การจัดทาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย และยังได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทีเ่ กยี่ วข้องในการส่งเสริมพัฒนาการเดก็ 1. มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนบ้านแพะ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และการ ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ จดั ให้เด็กรับประทานอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตาม วยั มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจาทุกวันอย่างสม่าเสมอ มีการช่ังน้าหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 คร้ังเป็นอย่างน้อย มีกิจกรรมออกกาลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนาม เด็กเล่นให้มคี วามปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไมม่ ีจดุ ทีเ่ ป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงใน การดูแลตนเองใหป้ ลอดภยั หลกี เลยี่ งจากอนั ตราย มกี ารจดั บอรด์ ให้ความรูแ้ ก่เดก็ เก่ียวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนได้ในชีวิตประจาวัน มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัด กิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาล เมืองปาน ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากน้ียังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตาม ความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับอาเภอ มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพ่ือ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมา คารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทท่ีดี ย้ิม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน สามารถ รับประทานอาหารดว้ ยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายใน และนอกห้องเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบ่งเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพ่ือนในห้องเรียน ทางานร่วมกับเพ่ือนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุม่ ในการจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของ เครือ่ งใช้ ของตน และของสว่ นรวม 2. มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ โรงเรยี นบา้ นแพะไดร้ บั การความอนุเคราะหจ์ ากเทศบาลเมอื งปาน สนับสนุนครูผู้สอนดนตรี ไทย ให้กบั นักเรยี นทกุ วนั ศกุ ร์ โดยจัดกิจกรรมสปั ดาหล์ ะ 1 วัน เพอื่ เป็นการเสริมสร้างพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจให้นักเรียนมีอารมณ์ท่ีผ่องใส เกิดความสนุกสนานและอารมณ์สุนทรี เป็นการเสริมสร้าง ความสามารถพเิ ศษให้กบั นกั เรยี น จัดกจิ กรรมร้อง เล่น เต้น ให้นักเรียนรู้จักการแสดงออกตามความสามารถ ของนกั เรียน สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นรจู้ กั ยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และ ผลงานของตนเองและผู้อื่นมีจิตสานึกและค่านิยมที่ดีมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าท่ี รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามท่ีสถานศึกษากาหนด ชืน่ ชมและมีความสขุ กับศลิ ปะ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๘ 3. มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ดี ีของสังคม โรงเรยี นบ้านแพะมีการจดั กจิ กรรมเรียนรู้สู่โลกกวา้ งเพือ่ ส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการด้าน สังคมและสามารถช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียนมี มารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้มทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ยอมรับหรือเคารพ ความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พน้ื ฐานครอบครัว ชาติเช้ือศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ แก้ไขข้อขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรง ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เด็กจะได้ เล่น และทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีการทางานกลุ่ม เล่นกิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง การปฏิบัติตนตาม วัฒนธรรมท้องถ่ินโดยได้สอดแทรกในกิจวัตรประจาวันตอนเช้าในช่วงกิจกรรมหน้าเสาธง เคารพธงชาติ ร้อง เพลงชาติ สวดมนต์ไหวพ้ ระ ฝกึ การสวสั ดที กั ทายครู เพ่ือน การขอบคุณเม่ือรับของจากผู้ใหญ่ การขอโทษเม่ือ ทาผิดโดย ไม่ได้ตัง้ ใจ ฝึกการทาสมาธิ เป็นต้น ทุกวันศุกร์จะมีการแต่งชุดพื้นเมือง และในวันพระจะมีการแต่ง กายชุดขาวเปน็ ประจา 4. มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้ โรงเรียนบ้านแพะได้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านสติปัญญาโดยทุกวันจันทร์ในภาคเช้าจะให้ นักเรียนได้เข้าห้องสมุดเพ่ือได้ฝึกการใช้และค้นหาหนังสือภาพที่นักเรียนชอบและฝึกให้ เด็กสนทนาโต้ตอบ และเลา่ เรือ่ งให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ ต้งั คาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรือสงสัยและพยายามค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและ เล่าเร่ืองทต่ี นเองอา่ นได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด สามารถตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคล่ือนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ และใช้ ส่ือเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอลเป็นต้น เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ ครูมีการออกแบบเรียนรู้ โดยอาศัยโครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” โดยเด็กได้ฝึกทักษะปฏิบัติการ ทดลอง การสังเกต ความคดิ สรา้ งสรรค์ รจู้ ักแก้ปัญหา มกี ารจดั กจิ กรรมโครงงานเพือ่ การเรยี นรู้โดยส่งเสริมให้ เด็กมีการเรียนรู้ส่ิงต่างๆรอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคาตอบ มีการบูรณาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ กิจกรรมเกมการศึกษา การจาแนก การจัดหมวดหมู่ บอกความเหมือน ความต่าง ทาให้เกิดการ เรยี นรดู้ ว้ ยตัวเอง ฝึกการต้ังคาถามเกยี่ วกับส่งิ ท่ีตนเองอยากรใู้ นทุกกจิ กรรม ขอ้ มูล หลักฐาน ประกอบ - รายงานสรปุ โครงการอาหารกลางวัน - บันทึกการรบั ประทานอาหาร - รายงาน SAR ระดับปฐมวัย - แบบบนั ทกึ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนประจาปีการศกึ ษา - โครงการส่งเสริมนิสัยรกั การอา่ น ระดบั ปฐมวัย - โครงการหนนู ้อยรกั การออม - โครงการออกกาลังกายเพอื่ สขุ ภาพ - โครงการพฒั นาระเบยี บวินัยและความรบั ผดิ ชอบ - โครงการรักษาสขุ ภาพฟนั สวยสะอาด - โครงการอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มและธรรมชาติ - แบบบันทกึ พัฒนาการเด็กนักเรียนปฐมวยั - แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้สู าหรบั เดก็ ปฐมวัย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๙ - รายงานผลการดาเนินงานโครงงานบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย - รายงานผลการดาเนินงานกิจกรรมการทดลองบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย - แบบบนั ทกึ น้าหนักสว่ นสงู นักเรยี น - แบบบันทึกอาหารเสรมิ นม - แบบรายงานข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล - แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน - สมุดบนั ทกึ สุขภาพนักเรยี น - ภาพกจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอนดนตรีไทย - ภาพกจิ กรรมร้องเตน้ / เลน่ ตามมุม - ภาพมุมการจัดประสบการณน์ ักเรยี น/บอรด์ - ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนระดับปฐมวยั ชื่อข้อมูลและหลักฐานแสดงพฒั นาการ ๓ ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๖๑, ๒๕๖๒, ๒๕๖๓) - แบบรายงานระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการพฒั นา เด็กปฐมวยั มาตรฐานแห่งชาติ https://nccs.dcy.go.th/nccs/application/main/module_login/v/login.php - โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย - รายงานผลการทาโครงงานโดยใช้กระบวนการสบื เสาะของเด็กปฐมวัยตามโครงการบ้าน นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย - รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรม 20 กิจกรรม - สมุดรายงานประจาตวั เด็ก ระดับปฐมวยั - บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรม ชั้นอนุบาล 3 - บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรม ช้ันอนุบาล 2 - บันทึกนา้ หนักและส่วนสูงนักเรยี น - รายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั - เกยี รติบัตรนักเรยี นได้รบั รางวลั - เกียรติบัตรหอ้ งเรยี นคณุ ภาพ ระดบั ทอง ประจาปกี ารศึกษา 2561 ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ชอ่ื ข้อมูลและหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับแบบอย่างทด่ี ี (Best Practice) ๑) ประกาศผลการผา่ นการประเมินกิจกรรมการทดลอง / โครงงานบ้านนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยแห่ง ประเทศไทย 2) ปา้ ยประกาศบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย 2. ผลการพฒั นา โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณ์ โดยสอดแทรก เนื้อหาวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษเข้ากับหน่วยการเรียนของแต่ละสัปดาห์เพื่อพัฒนา รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๑๐ สติปัญญาให้กับเด็ก การจัดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เช่น กจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรียนร้ทู ั้งในและนอกสถานศึกษา เพอื่ ให้ผู้เรียนมีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 3. จุดเด่น เด็กมีพัฒนาการท้ัง 4 เหมาะสมกับวัย ด้านร่างกายเด็กมีร่างกายแข็งแรง ใช้กล้ามเนื้อได้อย่าง คล่องแคล่ว ด้านอารมณ์ สังคม เด็กเล่นและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานของตนเอง และนาเสนอผลงานอย่างภาคภูมใิ จ 4. จุดท่ีควรพัฒนา - การพฒั นาปลกู ฝงั ในเรือ่ งสขุ นสิ ัยท่ดี ี เชน่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจาก ห้องนา้ ห้องส้วม และการเลอื กรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมินคุณภาพอยใู่ นระดับ ดเี ลิศ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 มีการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ผ่าน การเล่น ให้เด็กได้เรียนรู้แบบ Active Learning ได้ลงมือปฏิบัติเรียนรู้ด้วยตนเอง ตอบสนองความต้องการ และความแตกต่างของเดก็ มีความสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถ่ิน โรงเรียนได้จัดครูผู้สอนท่ีจบการศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัยโดยเฉพาะ เพื่อให้เหมาะสมกับภารกิจ การเรียนการสอนอยา่ งพอเพียงกับช้ันเรียน โรงเรียนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมเพื่อเตรยี มความพรอ้ มแกเ่ ดก็ โดยไม่เรง่ รัดดา้ นวิชาการ ส่งเสริมให้ครูจัดประสบการณ์ เน้นการเลน่ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ และพัฒนาเดก็ ตามศักยภาพโดยความร่วมมือกบั ผ้ปู กครอง ชุมชนและบุคลากร อ่ืนทกุ ฝา่ ย โรงเรยี นได้จดั ครทู ี่มีความรูด้ ้านปฐมวัยเข้าสอน โดยได้จ้างครูเอกปฐมวัยเพ่ือให้การจัดประสบการณ์ แก่เด็กอย่างพอเพียง มีการพัฒนาครูและบุคลากร โดยการพัฒนาประสิทธิผลของการดาเนินการของ สถานศึกษา มีกิจกรรมส่งครูเข้าอบรมกับหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอ่ืนๆ มีการเผยแพร่ผลงานทาง วชิ าการ ครูจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร มีการนิเทศช้ันเรียน กาหนดให้ครูทาวิจัยในชั้นเรียน และการ วิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบคุ คล อยา่ งมคี ุณภาพและตอ่ เนื่อง โรงเรียนได้ดาเนินการจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนให้มีความปลอดภัย และอานวยความ สะดวกแกค่ รแู ละเดก็ และสง่ เสริมการเรียนรู้แก่เด็กที่รายบุคคลและรายกลุ่ม มีห้องสื่อปฐมวัยต้นแบบ คลัง สอ่ื ท่ีสามารถนามาใชจ้ ัดประสบการณอ์ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยความร่วมมือของชุมชนและศิษย์เก่าเพ่ือจัดหา ทุนสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๑๑ โรงเรียนได้กาเนินการจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนให้มีความปลอดภัย และอานวยความ สะดวกแก่ครูและเด็ก และส่งเสริมการเรียนรู้แก่เด็กท่ีรายบุคคลและรายกลุ่ม มีห้องส่ือปฐมวัยต้นแบบ สื่อ โทรทัศน์ DLTV และส่ือทัศนูปกรณ์ คลังส่ือที่สามารถนามาใช้จัดประสบการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ความรว่ มมอื ของชุมชน และหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง โรงเรียนบา้ นแพะมีจุดเนน้ การบริหาร จดั การแบบมีสว่ นรว่ มดงั นี้ ๑) มีหลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถิน่ โรงเรียนบ้านแพะมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สาคัญเพื่อท่ีจะขับเคลื่อนการศึกษา ระดับปฐมวัยได้แก่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มี การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยขอ งเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และ สติปัญญา เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สาหรับด้าน ระบบกลไก การเสริมสร้างความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วม ทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพ่ือร่วมกันพัฒนา ผูเ้ รยี นตามศกั ยภาพ ๒) จัดครูใหเ้ พียงพอกับชัน้ นักเรียน ด้วยโรงเรียนบ้านแพะ มีการจัดครูผู้สอนที่มีความรู้และวุฒิทางการศึกษาปฐมวัยใน ระดบั ช้นั ละ 1 คน โดยครูผ้สู อนระดับชนั้ อนบุ าลปีท่ี 2 เป็นครูอตั ราจ้าง ที่ทางโรงเรียนจ้างข้ึนเพื่อพัฒนาเด็ก ให้มีประสิทธภิ าพเหมาะสมกบั วัย โดยครทู ี่จา้ ง จบวุฒทิ างการศกึ ษาปฐมวัย และมใี บประกอบวิชาชีพครู และ ครูประจาชนั้ อนบุ าล ปที ่ี 3 เปน็ ครปู ระจาการบคุ ลากรโรงเรียนบา้ นแพะ ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ ๓) ส่งเสริมใหค้ รูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ โรงเรยี นบา้ นแพะสง่ เสรมิ ให้ครูมีความร้คู วามเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ จัดทา โครงการพัฒนาบุคลากรและโครงการพฒั นาทักษะการจัดการเรียนรู้ ครมู กี ารจดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ ทส่ี อดคล้องกับหลักสูตรโดยครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ นและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ี หลากหลาย สอดคลอ้ งกับความแตกต่างระหว่างบุคคล 4) จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ โรงเรยี นบา้ นแพะมีการจัดสภาพแวดลอ้ มที่มกี ารเช่ือมโยงบูรณาการ การใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ มีการประเมินพัฒนาการเด็กท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลทุกหน่วยการเรียนรู้ให้ น่าสนใจและเหมาะสมกับวัยของเด็ก มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล จัด มุม ประสบการณ์ให้กับนักเรียนตามกิจกรรมเล่นเสรี ทั้งน้ีโรงเรียนบ้านแพะมีการจัดทาประกันอุบัติเหตุให้แก่ นักเรียนทุกคนเพ่ือเป็นการเบาเทาความเดือดร้อนของผู้ปกครองเมื่อนักเรียนเกิดอุบัติเหตุ และยังได้จัด สิ่งแวดล้อมตา่ ง ๆ ให้ปลอดภยั 5) ให้บริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการเรยี นรูเ้ พ่อื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๑๒ โรงเรียนบ้านแพะมีการจัดแหล่งเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ สาหรับครู ได้จดั สง่ิ อานวยความสะดวกที่จาเป็นเอ้ือประโยชน์ และอานวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทั้ง ด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพและมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการเพ่ือการจัดการเรียนรู้เช่น ในห้องเรียนมีสื่อโทรทัศน์ เพื่อให้ครูได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดให้มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เคร่ือง นอน เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆ พอสมควรเหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือท่ีจาเป็นต่อ พัฒนาการของเด็ก ให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม ที่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มี พืน้ ที่สาหรบั แปรงฟนั ล้างมือเหมาะสมกบั เดก็ 6) มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม โรงเรียนบ้านแพะมีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โรงเรียนได้มีโครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของ โรงเรียนในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านการบริหารงานและการดูแลส่งเสริมพัฒนานักเรียน พร้อมกบั ชแ้ี จงเกี่ยวกบั นโยบายของโรงเรียนใหผ้ ู้ปกครองรบั ทราบ โรงเรยี นไดก้ าหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากาหนดจัดทา แผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดรับกับมาตรฐานการศึกษากาหนดและดาเนินการตามแผน มีการ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทาผลการประเมิน ตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วมและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองใหห้ น่วยงานตน้ สังกดั ข้อมูล หลักฐาน ประกอบ - แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี - แผนนเิ ทศตดิ ตาม - หนังสือเชญิ ประชมุ /รายงานการประชมุ ผู้ปกครอง - หนงั สอื เชญิ ประชมุ /รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา - ไลน์กลุ่มโรงเรียนบา้ นแพะ - เฟสบคุ๊ โรงเรยี นบ้านแพะ - รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจาปี - รายงานผลการเข้ารว่ มอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร - แผนพัฒนาตนเองของขา้ ราชการครู (ID PLAN) - แผนการจัดประสบการณน์ ักเรียนปฐมวัย - แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - บันทกึ การใช้สื่อ / แหลง่ เรียนรู้ - หลกั สูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนบา้ นแพะ พุทธศักราช 2561 - คาสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ งานโรงเรียน - ภาพการประชุมผปู้ กครองนักเรียนระดับโรงเรยี น - ภาพการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา - ภาพถา่ ยการจัดห้องเรียนปฐมวัย รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๑๓ ช่ือข้อมูลและหลกั ฐานแสดงพัฒนาการ ๓ ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. ๒๕๖๑, ๒๕๖๒, ๒๕๖๓) 1) แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2) รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาของครแู ละบุคลากร 3) รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจาปี 4) แผนการจดั ประสบการณ์นักเรยี นปฐมวัย 5) เกียรตบิ ตั รจากสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 3 ดา้ นการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน (ITA Online) ประจาปีการศึกษา 256๔ ชือ่ ข้อมูลและหลกั ฐานท่ีเกย่ี วข้องกบั แบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) ๑) เกยี รติบตั รจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 3 ดา้ นการประเมิน คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งาน (ITA Online) ประจาปกี ารศึกษา 256๔ ๒) เกียรติบัตรจากครสุ ภา หน่ึงแสนครูดี (นางสาววลยั พร พรมจินา) 3) เกยี รติบตั รการเปน็ วทิ ยากรบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย ระดบั อาเภอเมืองปาน (คณุ ครูวลัยพร พรมจนิ า) 2. ผลการพัฒนา โรงเรียนได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในระดับ โดยการกาหนดอัตลักษณ์ของ สถานศึกษามาตรการส่งเสริมโดยจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของโรงเรียนท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีกาหนดไว้ มีการ จดั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ ติดตามตรวจสอบ และ ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและ ภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง และได้จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงาน ประเมนิ คณุ ภาพภายในเปน็ ประจาทุกปีเพ่ือรายงานต่อผปู้ กครอง ชมุ ชนและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง 3. จดุ เดน่ - มหี ลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิ่น - โรงเรียนมมี าตรการสง่ เสริมใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั ธรรมชาติในตวั เดก็ และกระบวนจดั การเรียนร้ขู อง เด็กแก่ผปู้ กครอง ส่งเสริมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มรว่ มกบั ชุมชน 4. จุดท่ีควรพฒั นา - ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ - จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียงควรพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรยี นให้มคี วามน่าสนใจ กระตุน้ ให้เกิดการเรียนร้อู ยา่ งเหมาะสม ตามวัย รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๑๔ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สาคัญ ผลการประเมินคุณภาพอยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนไดส้ นบั สนุนส่งเสริมให้ครูใช้หลักสูตร แผนการจัดประสบการณ์ วัสดุ อุปกรณ์ส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศทั้งการเล่น การปฏิบัติจริงในการพัฒนาเด็กอย่างเต็มศักยภาพครอบคลุมทุกด้าน ครูวิเคราะห์ ข้อมลู เด็กเปน็ รายบุคคล จากการออกเยี่ยมบ้าน และสัมภาษณ์ผู้ปกครอง รวมทั้งการคัดกรองพัฒนาการเด็ก โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังเด็กและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM, DAIM) จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ เพ่ือจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งได้จาก การวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กได้ เรียนรู้อย่างมีความสุข มีการบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ การรายงานผลการพัฒนาการแก่ผู้บริหารและ ผปู้ กครอง ครบทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อย่างเป็นองค์รวม ไม่มงุ่ เนน้ การพัฒนาด้านใดดา้ นหน่ึงเพียงด้านเดียว โรงเรียนได้จัดหาส่ือ เทคโนโลยีและ วัสดุเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอย่างสมวัยโดยจัดภาพ ห้องเรยี น ห้องสื่อปฐมวยั ต้นแบบอยา่ งพอเพียง โรงเรียนบ้านแพะมีจุดเน้นส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล ตอบสนองความ ถนัดและความตอ้ งการของผเู้ รยี น ชมุ ชน และสงั คม ดงั นี้ 1. จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ โรงเรียนบ้านแพะได้จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ มุ่งเน้นความสาคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และ สตปิ ัญญา มีความรู้คุณธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชวี ิต ซ่งึ เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเพ่ือสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างเป็นสุข ครูมีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคลมี กจิ กรรมรูจ้ กั นักเรยี นเป็นรายบุคคล ครูมแี ผนการจดั ประสบการณ์ จากการวิเคราะห์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยผ่านกิจกรรม เช่น เด็กได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมอบรม คุณธรรม จริยธรรม โครงการส่งเสริมด้านกีฬา โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการทัศนศึกษา โครงการส่งเสริมพฒั นาการเรยี นรู้ 2. สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสขุ โรงเรียนบ้านแพะสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข โดยครูจัดประสบการณ์ที่เช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กได้มีโอกาสเลือกทากิจกรรมอย่างอิสระ ตาม ความต้องการ ความสนใจ ความสารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งในและนอกห้องเรียน เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทา และสร้างองค์ ความรู้เอง โดยผ่านกิจกรรม นอกจากน้ัน ยังมีโครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ีเพื่อเด็กจะได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง เช่น ทศั นศกึ ษา สวนสัตว์ เปน็ ต้น รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๑๕ 3. จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วยั โรงเรียนบ้านแพะมีการจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้ส่ือ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กับวัย ครูมีการจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเทได้สะดวก ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก เด็กจะนา ผลงานไปแสดงไว้พื้นท่ีจัดแสดงผลงานเพ่ือให้เด็กได้ชื่นชมผลงานของตัวเอง มีพื้นที่สาหรับมุมประสบการณ์ และการจัดกิจกรรม ในห้องเรียนจะมีมุมอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 3 มุม เด็กมีส่วนร่วม รักษาความสะอาดของ ห้องเรียน ครใู ชแ้ หล่งเรยี นรไู้ ดแ้ ก่ห้องสมุดกระตุ้นใหค้ ิดและหาคาตอบ 4. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ คุณครูมีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วย เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย โดยครูสังเกตพฤติกรรมและบันทึกในบันทึกหลังการจัดประสบการณ์ มี การบันทึกการชั่งน้าหนักส่วนสูง มีระเบียนสะสม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน มีการบริการตรวจสุขภาพจาก หนว่ ยงานองคก์ รภายนอก เช่น เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลเมืองปานเป็นต้น ทุกภาคเรียนจะมีการสรุปพัฒนาการ ในสมุดรายงานประจาตัวนักเรียนให้ผู้ปกครองรับทราบถึงพัฒนาการเด็ก ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการ วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก ครยู ังไดจ้ ัดทาแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล(ID Plan) เพ่ือใช้เป็นข้อมูล การพฒั นาตนเองและปรับปรุงการจัดประสบการณ์ให้นักเรยี นในปีการศกึ ษาถัดไป ข้อมูล หลักฐาน ประกอบ - มมุ ประสบการณ์ - แบบบันทกึ การพัฒนาการของเด็ก - รายงานผลการประเมินตนเอง - โครงการส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่าน ระดับปฐมวัย - โครงการหนูน้อยรักการออม - โครงการออกกาลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ - โครงการพฒั นาระเบียบวินัยและความรับผดิ ชอบ - โครงการรักษาสุขภาพฟนั สวยสะอาด - โครงการอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมและธรรมชาติ - รายงานผลการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน - แบบบนั ทกึ การเรยี นรนู้ อกสถานที่ - บรรยากาศห้องเรยี นแจ่มใสมีมมุ สง่ เสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้ - การจดั กิจวัตรประจาวัน - แบบบนั ทกึ ข้อมูลนักเรยี นรายบคุ คล - แบบบันทกึ นา้ หนกั และส่วนสงู - บนั ทึกการเยยี่ มบ้านนักเรยี น - รายงานการประชมุ ผปู้ กครองประจาช้นั - ระเบยี นสะสม - แฟ้มสะสมผลงานนักเรยี น - บนั ทกึ การตรวจสุขภาพ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๑๖ - สมดุ รายงานประจาตวั นกั เรียน - ไลน์กลมุ่ โรงเรยี นบ้านแพะ - เฟสบุ๊ค โรงเรยี นบ้านแพะ - โครงการส่งเสรมิ กิจกรรมวันสาคัญ - กจิ กรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรม - โครงการสง่ เสริมดา้ นกีฬา - โครงการโรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ - โครงการทศั นศึกษา - โครงการส่งเสริมพฒั นาการเรยี นรู้ - โครงการทศั นศึกษานอกสถานที่ - ภาพการจดั กิจกรรมนกั เรยี นปฐมวยั -สรุปผลการจดั กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย ชอ่ื ข้อมูลและหลักฐานแสดงพัฒนาการ ๓ ปี ยอ้ นหลัง (พ.ศ. ๒๕๖๑, ๒๕๖๒, ๒๕๖๓) ๑) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและผลการประเมินตนเองรายบุคคล (SAR) ๒) แผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (Individual Development Plan : ID PLAN) ๓) บันทึกการศึกษาดงู าน / อบรม เพอื่ พัฒนาตนเอง 4) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและผลการประเมนิ ตนเองรายบคุ คล 5) บนั ทึกการศึกษาดูงาน / อบรม เพ่อื พฒั นาตนเอง ประจาปกี ารศึกษา 6) แบบบนั ทึกการพัฒนาการของเด็ก 7) บนั ทกึ การเย่ยี มบ้านนักเรียน 8) รายงานการประชุมผ้ปู กครองประจาชั้น 9) แฟ้มสะสมผลงานนกั เรียน 10) สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน 11) ไลน์กลมุ่ โรงเรียนบ้านแพะ ไลนก์ ลุม่ ประจาช้นั อนบุ าลโรงเรียนบา้ นแพะ 12) เฟสบคุ๊ โรงเรียนบ้านแพะ 13) ป้ายประกาศโรงเรยี นผ่านการประเมินรอบทส่ี อง “บ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย” ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 14)ผลการประเมนิ โรงเรยี นผ่านการประเมินรอบทีส่ าม “บา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย” ปกี ารศึกษา 2563 – 2567 15) โครงงานการทดลองบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย 16) สรปุ กิจกรรมการทดลองบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย ชอ่ื ข้อมลและหลักฐานท่ีเก่ียวขอ้ งกับแบบอย่างทด่ี ี (Best Practice) ๑) ปา้ ยประกาศโรงเรยี นผา่ นการประเมนิ รอบทีส่ อง “บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย” ปีการศึกษา 2560 – 2562 2) ผลการประเมินโรงเรียนผ่านการประเมินรอบทสี่ าม “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” ปกี ารศกึ ษา 2563 – 2567 3) โครงงานการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๑๗ 4) สรปุ กิจกรรมการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย 2. ผลการพัฒนา โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูมีการประเมินตามสภาพจริง โดยประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและ กิจวัตรประจาวันด้วยเคร่ืองมือและวิธีการที่หลากหลาย โดยผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วม และนาผล การประเมนิ ที่ได้มาวิเคราะห์พัฒนาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ ท่ีมีประสิทธิภาพ ทั้งกับครูผู้สอนในโรงเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัยในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียน และบุคลากร ทางการศึกษา และสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Leaning Community: PLC) ให้ เกิดในสถานศึกษาและกลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เพื่อนาไปปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์และวิธีการจัด ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทีด่ ีข้นึ 3. จุดเด่น - เดก็ มพี ัฒนาการการอยา่ งสมดลุ - เด็กเรียนรู้ จากการเล่นและปฏบิ ัตกิ ิจกรรม - มบี รรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรยี นรู้ - ประเมินผลเดก็ ดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย 4. จุดทคี่ วรพัฒนา เนื่องจากเด็กส่วนใหญ่อยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย เพราะพ่อ แม่ไปทางานต่างจังหวัด และพ้ืนฐานของแต่ ละครอบครัวมีความแตกต่างกัน ครูต้องใช้ความพยายามท่ีจะประสานความร่วมมือกับทางบ้านและชุมชน เพอ่ื ใหก้ ารพฒั นาเดก็ และการจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพท่ีดีมากยงิ่ ขึ้น ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา : ดีเลศิ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ดเี ลิศ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๑๘ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม ศักยภาพผู้เรียน เป็นไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร มีการออกแบบจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้ กระบวนการคิด กระบวนการใชป้ ญั หาเปน็ หลัก และเนน้ เรือ่ งการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเร่ืองสาคัญ โดยมุ่ง พัฒนาใหผ้ ้เู รยี นทกุ คนอ่านออกและเขียนไดต้ ้งั แต่ระดับช้ัน ป. 1 พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนา เทคนิควธิ กี ารสอนให้ตรงตามศกั ยภาพของผ้เู รยี น ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ครูร่วมกันกาหนด แผนการจดั การเรยี นรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คาถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิด ของผ้เู รยี น นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดาเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้ อยา่ งมคี วามสขุ เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ ผู้เรียน มวี ินยั มีความรบั ผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง มีน้าใจเอื้ออาทรผู้อื่น ส่งเสริมให้มีความซ่ือสัตย์สุจริต โดยเนน้ กิจกรรมหน้า เสาธง เน้นในเรื่องความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมท่ี แตกต่าง ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียน มีนิสัยรักการอ่าน ศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน และนานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เพ่ือให้ผู้เรียนมีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ 2. ผลการพฒั นา ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทางที่ดี มีทักษะในการทางานร่วมกับผู้อ่ืนและ รู้จักใช้การคิดวิเคราะห์ในการทางานมากข้ึน มีสุขภาพดี ใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬา สนใจดนตรีและชอบ งานศิลปะ สามารถดาเนินชีวิตประจาวัน เรียนรู้ด้วยตนเอง ทางานและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล รู้จักปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมสภาพแวดล้อม และ หลกี เลยี่ งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน รู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม มีผลการดาเนินงานเชิงประจักษ์จากการ ประเมินในด้านตา่ งๆ 3. จุดเดน่ ผ้เู รียน มีพฒั นาการและทักษะด้านการเรียนรู้ ตามคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เพ่ือยกระดับคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นตามศักยภาพ โดยในปีการศึกษา 2564 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๑๙ และคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าเขตและระดับประเทศ ส่งเสริม การจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยี และการผลิตส่ือที่ตรง กับหลกั สูตรและความต้องการของท้องถ่ิน สนับสนุนการพานักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษาในชุมชน และนอกชมุ ชนเพ่ือเสริมสรา้ งวสิ ัยทัศน์ และความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ ผูเ้ รยี นมีสขุ ภาพอนามัยทส่ี มบรู ณ์ แข็งแรง ร่างกายสะอาด มีภาวะโภชนาการที่ดี ปลอดจากสารเสพ ตดิ มีผลงานเข้าร่วมแข่งขนั ทกั ษะวชิ าการ ดา้ นดนตรี กฬี า ดา้ นศิลปะ มีความสามารถในการใช้ส่ือเทคโนโลยี เปน็ ทย่ี อมรบั ของชมุ ชนในเร่อื งความมีวินัย เคารพกฎ กติกา มารยาทางสังคม 4. จดุ ควรพฒั นา - ควรพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหเ้ กดิ การพฒั นาเปน็ ระบบอย่างตอ่ เน่ืองทกุ ปีการศึกษา - การจัดกิจกรรมการเรยี นรคู้ วรพฒั นาตามความสนใจของผ้เู รยี นและชุมชน - ผเู้ รยี นยังต้องได้รบั การสง่ เสริมพัฒนาทักษะในด้านภาษาองั กฤษ และทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นได้ดาเนินการวิเคราะห์ปัญหา มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน คุณภาพผู้เรียนท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ มีการคิด วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผเู้ รียน ออกแบบและจดั การเรียนรทู้ ตี่ อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ผนวกกับการนาบริบท และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศ ติดตาม ประเมินผลจัดการศึกษาตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจาปใี หส้ อดคล้องกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายปฏิรูปการศึกษา พร้อมทั้งจัดหา ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการพัฒนาตามแผนงาน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และสรุปผลการ ดาเนนิ งาน โรงเรียนมกี ารกาหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั นแ์ ละพันธกจิ สอดคล้องกบั สภาพปัญหาความต้องการพัฒนา ของสถานศึกษา นโยบายปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน และสอดคล้องกับแนว ทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๒๐ สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้และ ความเชีย่ วชาญ ตามมาตรฐานตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ ได้ ดาเนินการอย่างเปน็ ระบบ มกี จิ กรรมจดั สภาพแวดลอ้ มทางกานภาพและสังคมทกี่ ระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ ต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วม รับผิดชอบ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา มีการนิเทศ กากับ ติดตาม และ ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีรูปแบบการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึด หลกั ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผเู้ รียนตามแนวปฏิรูปการศึกษา มี การระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้โรงเรียนมีส่ือ และแหล่ง เรยี นร้ทู มี่ ีคุณภาพ 2. ผลการพฒั นา โรงเรียนบริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ท้ังด้านพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร ท่ีเน้น ผเู้ รยี นรอบด้าน เชอ่ื มโยงวถิ ีชีวติ จริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการจัดการเรียนการสอนกลุ่มท่ี เรียนร่วมด้วยส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนการ เรยี นรทู้ างวชิ าชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรยี นรขู้ องผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายใน และภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม ท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย จัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการ จดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรยี น 3. จุดเด่น โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมและพัฒนาครู มีการกาหนดเป้าหมาย ได้ดาเนินการพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหาร ให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด การศึกษาเต็มศักยภาพและ เต็มเวลา มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี ผู้บริหารมีความเป็นผู้นาทางวิชาการ มีการบริหารงานโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ครูมี ความรู้โดยส่งเข้าศึกษาและอบรมเพื่อนาความรู้มาจัดการเรียนการสอน สามารถจัดครูเข้าสอนตาม ความสามารถส่งผลให้ครูสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน มีการ แตง่ ตง้ั มอบหมายงานให้บุคลากรทางทกุ คนในสถานศึกษามสี ว่ นรับผิดชอบในการบรหิ ารงานทงั้ 4 ฝา่ ย รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๒๑ 4. จดุ ควรพฒั นา 1. โรงเรียนควรพัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เหมาะสมกับบริบทของ สถานศึกษาผา่ นกระบวนการวจิ ยั 2. โรงเรยี นควรเพิม่ การมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานสถานศึกษา 3. โรงเรยี นควรพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ใหม้ ีความหลากหลายตามความต้องการของผู้เรียนและ ผปู้ กครอง 4. โรงเรยี นควรจัดหาครใู หค้ รบทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคญั โดยจัดกิจกรรมอยา่ งหลากหลายได้แก่ กิจกรรมส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน มีนสิ ยั รักการอ่าน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในปีการศึกษา 2564 ทางโรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตัวเองโดย พัฒนาแหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องภมู ิปัญญาท้องถ่ิน สวนสมุนไพรฯลฯ และนานักเรียน ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา นักเรียนได้แสวงหาความรู้ รักท่ีจะแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง จัด กิจกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เช่นกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพื่อให้ ผู้เรียนมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ งานด้านหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการ ภาระงาน ช้ินงาน โดยทุก ระดับช้ันจดั ทาหน่วยบรู ณาการอาเซยี น เศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน การสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริง สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง มอบหมายให้ นักเรยี นทาปา้ ยนิเทศ ครูใช้ส่ือการเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ ผู้เรยี นได้เรียนรูโ้ ดยผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง มีแผนจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง มรี ปู แบบจัดการเรยี นรู้เฉพาะสาหรบั ผู้ที่มีความจาเปน็ และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึก ทักษะ กล้าแสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ได้ โรงเรียนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการ จดั การเรยี นรู้ โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๒๒ ครผู ้สู อนมกี ารบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และ เด็กรกั เด็ก เด็กรักทจี่ ะเรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อนาไปใช้พฒั นาการเรยี นรู้ ครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์ รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อ นาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 2. ผลการพัฒนา - ผู้เรยี น มรี ะดบั ผลทางการเรียนเฉลี่ยอยูใ่ นระดับดีและในบางรายวชิ ามผี ลการทดสอบระดบั ชาติ เฉลยี่ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ - ผูเ้ รยี นมนี สิ ัยรกั การอ่าน และเห็นความสาคัญของการอา่ นการเรยี นรทู้ ั้งในและนอกห้องสมุด มที ักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ มีทศั นคติทีด่ ีต่อการอา่ น รคู้ ณุ คา่ ของการอ่านและมีนสิ ัยรกั การค้นคว้า - ผเู้ รียนสามารถส่ือความคดิ ผา่ นการพดู เขยี น หรือนาเสนอด้วยวิธตี ่าง ๆ - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ - ครูมีความรูค้ วามเขา้ ใจเป้าหมายการจดั การศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน - ครู มกี ารวิเคราะห์ศกั ยภาพของผเู้ รยี นและเขา้ ใจผ้เู รียนเป็นรายบุคคล - ครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั - ครูมีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรยี น - ครู มกี ารประเมนิ ผลการเรยี นการสอนทีส่ อดคล้องกับสภาพการเรียนรทู้ ี่จัดให้ผูเ้ รยี น และองิ พัฒนาการของผเู้ รียน - ครู มีการนาผลการประเมินมาปรับเปลย่ี นการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ต็ม ศกั ยภาพ - ครู มีการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นและนาผลไปใชพ้ ฒั นาผเู้ รียน 3.จดุ เด่น ครูมีความต้ังใจมงุ่ มั่นในการพัฒนาการสอน โดยจดั กจิ กรรมให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรูโ้ ดยการคิด ได้ลงมือ ปฏิบัติจริง มกี ารใชว้ ธิ ีการและแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย ใหน้ กั เรียนแสวงหาความรูจ้ ากส่ือเทคโนโลยดี ว้ ย ตนเองอย่างต่อเนือ่ ง นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้ ครูทกุ คนมี ผลงานวิจัยในชนั้ เรยี น ๔. จดุ ควรพฒั นา 1. ส่งเสริมให้ครูจัดทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนาผลของการวิจัยนั้นไปพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๒๓ 2. ส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาใช้กระบวนการ PLC ในการแก้ปัญหา การจัดการเรยี นการสอน และการเรียนรู้ของนักเรยี น 3. สง่ เสริมครจู ัดทาแผนพฒั นาตนเอง พัฒนาตนเองตามแผน 4. ส่งเสรมิ ครหู าวธิ ีปฏิบัตทิ ่ดี ี และวิธปี ฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ ( Good Practice , Best Practice) 5. ส่งเสรมิ ครูพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษ และสอื่ สารภาษาอังกฤษกับนักเรียนทกุ ระดับชั้น ผลการประเมินเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมายความสาเร็จทส่ี ถานศึกษากาหนด ระดับปฐมวัย มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน บรรลเุ ป้าหมาย ความสาเรจ็ ตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ดี ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ ดี ยอดเย่ยี ม สาคัญ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ บรรลเุ ป้าหมาย ความสาเร็จ ตนเอง มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ดี ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดี ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ ดี ดเี ลิศ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๒๔ สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลและแนวทางการพัฒนา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา (3-5 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ัน จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควร พัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทง้ั แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลอื ได้ดงั น้ี ระดบั ปฐมวยั สรุปผล จดุ เด่น จุดควรพฒั นา คุณภาพของเดก็ คณุ ภาพของเด็ก - เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายแขง็ แรง - ดา้ นการมคี วามคิดรวบยอด การแก้ปัญหาทเี่ กิดจาก - เด็กมที กั ษะการเคลื่อนไหวตามวัย การอา่ น - การทากิจกรรมเสรมิ สตปิ ญั ญาใหเ้ หมาะสมตามวยั กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ กระบวนการบริหารและการจดั การ - มหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น - จดั ครใู หเ้ พยี งพอต่อชนั้ เรยี น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่ิน - ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจัด - การจดั สิ่งอานวยความสะดวกให้บริการดา้ น ประสบการณ์ ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณเ์ พ่ือสนับสนนุ - จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อยา่ ง การจัดประสบการณ์ ปลอดภยั และพอเพยี ง - ครไู ด้รบั การพัฒนาดา้ นวิชาชพี - กาหนดแผนการพัฒนาครอู ย่างชดั เจน กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ สาคัญ - เดก็ มีพฒั นาการการอย่างสมดลุ - จัดอุปกรณ์ส่ือการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย - เดก็ เรียนรู้ จากการเล่นและปฏิบัติกจิ กรรม - พฒั นาเครอื่ งเลน่ สนามและระบบสาธารณูปโภค - มบี รรยากาศ สภาพห้องเรียนเออื้ ต่อการ - จัดกิจกรรมส่งเสริมเด็กเรียนรูก้ ารอยูร่ ่วมกัน เรยี นรู้ - ประเมนิ ผลเด็กด้วยวธิ ีการหลากหลาย รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๒๕ แนวทางการพัฒนาในอนาคต นาผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียน เพ่ือพัฒนาครูอย่างเพียงพอและท่ัวถึง มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ - การจัดสรรบุคลากรท่จี บเอกปฐมวัยใหค้ รบชั้นทเี่ ปดิ สอนเพ่ือการพฒั นาการจัดประสบการณท์ ม่ี ี คุณภาพ ประสิทธิภาพและมีบุคลากรที่สอนตรงกบั สาขาวิชาที่เรียนมา ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน จุดควรพฒั นา สรปุ ผล ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน - ควรพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหเ้ กดิ การ จุดเด่น พัฒนาเปน็ ระบบอยา่ งต่อเน่ืองทุกปีการศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรยี น - การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ควรพฒั นาตามความ - ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ขึน้ และนักเรียน สนใจของผเู้ รยี นและชมุ ชน กล้าแสดงออกร่าเรงิ แจม่ ใส สขุ ภาพกายแข็งแรงและ - ผูเ้ รียนยังตอ้ งไดร้ ับการสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะใน เป็นผู้มีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ด้านภาษาอังกฤษ และทักษะกระบวนการทาง - ผูเ้ รียนอ่านหนงั สอื ออกและอา่ นคล่อง รวมทงั้ วิทยาศาสตร์ และต้องเร่งพฒั นาทักษะการ สามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ทกุ คน สามารถใช้ แก้ปญั หาตามสถานการณ์ได้อยา่ งเหมาะสม เทคโนโลยีในการแสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง - ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทาง กายและนา้ หนัก ส่วนสงู ตามเกณฑ์ร้อยละ 90 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๒๖ จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ - ผูบ้ รหิ ารมีความตัง้ ใจมคี วามมุ่งมัน่ มีหลักการ - โรงเรียนควรพัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ บรหิ ารและมีวิสัยทัศน์ท่ดี ใี นการบริหารงานสามารถ ทางการเรียนของผู้เรียนท่ีเหมาะสมกับบริบทของ เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีในการทางานและคณะกรรมการ บริหารโรงเรียนมคี วามตง้ั ใจและมีความพร้อมในการ สถานศกึ ษาผา่ นกระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิหน้าทต่ี ามบทบาท - โรงเรยี นควรเพ่ิมการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น - โรงเรียนมกี ารบริหารและการจดั การอย่างเป็น ในการพฒั นาสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพตาม ระบบโรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนคิ การประชุมทห่ี ลากหลายวิธี มาตรฐานสถานศึกษา เชน่ การประชุมแบบมสี ่วนรว่ ม การประชุมระดมสมอง - โรงเรยี นควรพฒั นาแหลง่ เรียนรใู้ ห้มคี วาม การประชมุ กลมุ่ เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการ หลากหลายตามความตอ้ งการของผู้เรียนและ กาหนดวสิ ัยทัศน์พนั ธกจิ เป้าหมายทช่ี ัดเจนมกี ารปรับ ผปู้ กครอง แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการ - โรงเรียนควรจดั หาครใู หค้ รบทุกกลุ่มสาระการ ประจาปที ่สี อดคลอ้ งกบั ผลการจัดการศึกษาสภาพ เรยี นรู้ ปัญหาความต้องการพฒั นาและนโยบายการปฏริ ูป การศึกษาที่ม่งุ เนน้ การพัฒนาให้ผู้เรยี นมคี ุณภาพตาม มาตรฐานหลกั สูตรของสถานศึกษาครูผ้สู อนสามารถ จัดการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมีคุณภาพมกี ารดาเนินการนเิ ทศ กากบั ติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงานและจัดทา รายงานผลการจดั การศกึ ษาและโรงเรียนไดใ้ ช้ กระบวนวิจยั ในการรวบรวมข้อมูลมาใชเ้ ปน็ ฐานใน การวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา - โรงเรียนให้ความสาคัญกบั การดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา เนน้ การสรา้ งความ เขา้ ใจและให้ความรูด้ ้านการประกันคุณภาพการศึกษา กับคณะครบู ุคลากรทุกฝา่ ยทเี่ ก่ียวข้องอย่างชดั เจน เปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาการ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้น การมสี ่วนร่วมโดยดาเนินการในรปู ของคณะกรรมการ สร้างวฒั นธรรมการประกันคุณภาพภายในของ สถานศกึ ษาให้กบั บคุ คลที่เกีย่ วขอ้ งทุกระดบั รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๒๗ จดุ เด่น จุดควรพัฒนา ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็น ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี น สาคญั เป็นสาคัญ - ส่งเสริมให้ครูจัดทาวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือนาผล - ครูพัฒนาตนเองอยเู่ สมอมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการ ของการวิจัยน้ันไปพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ย่างเต็มเวลาและความสามารถ - ครูจดั กิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความร้จู ากสอ่ื ประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้ึน เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง - ส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการ - ครูให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สถานศึกษาใช้กระบวนการ PLC ในการแก้ปัญหา สภาพแวดล้อมที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ของ - ครจู ดั กจิ กรรมใหน้ ักเรียนเรียนรจู้ ากการคิดได้ ปฏบิ ัตจิ รงิ ดว้ ยวิธกี ารและแหลง่ เรียนร้ทู หี่ ลากหลาย นกั เรียน - ผลงานวจิ ยั ในช้ันเรยี นของครูทกุ คนไดร้ ับการตรวจ - สง่ เสริมครจู ดั ทาแผนพัฒนาตนเอง พัฒนาตนเอง ประเมินและคาแนะนา ตามแผน - ส่งเสริมครูหาวิธีปฏิบัติท่ีดี และวิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศ ( Good Practice , Best Practice) - ส่งเสริมครูพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และ สื่อสารภาษาองั กฤษกับนักเรียนทกุ ระดบั ชน้ั แนวทางการพฒั นาในอนาคต - การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ การพฒั นาผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลใหช้ ดั เจนขึน้ - การพฒั นาครูผสู้ อนในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ส่ี อดคล้องกบั การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 - การสง่ เสรมิ ให้ครเู ห็นความสาคญั ของการจดั การเรยี นรู้โดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ การจัดทาการวจิ ยั ใน ชน้ั เรียนอยา่ งต่อเน่ืองเพ่ือพฒั นาผู้เรยี นใหส้ ามารถเรียนรู้ได้เตม็ ศกั ยภาพ - การพัฒนาบคุ ลากรโดยส่งเขา้ รับการอบรมแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายติดตามผลการ นาไปใชแ้ ละผลทีเ่ กิดกับผู้เรยี นอย่างต่อเนือ่ ง - การพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรูข้ องชมุ ชน - การนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในชนั้ เรียนอยา่ งมีคุณภาพ ความต้องการการชว่ ยเหลอื - การจดั สรรครผู ู้สอนให้ครบช้นั เรยี น และตรงตามวชิ าเอกเฉพาะดา้ นทีโ่ รงเรยี นมีความต้องการและ จาเป็น คอื วิชาเอกคณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ - ขอรับการสนับสนนุ งบประมาณเพื่อพัฒนาดา้ นสอื่ และเทคโนโลยีทางการเรยี นการสอน รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๒๘ ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๒๙ ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปกี ารศึกษา 2564 รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๑ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๒ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๓ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๔ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๕ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๓๗ ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนทุกระดับชัน้ (ป.1-ป.6) ปีการศึกษา 2564 จานวน/รอ้ ยละของ ระดบั ช้ัน จานวน นักเรยี นตามระดบั จานวน นร. ร้อยละ นร. นร.ทั้งหมด คณุ ภาพ ทผ่ี ่าน ที่ผ่าน (กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน) ผา่ น ไมผ่ า่ น ประถมศกึ ษาปีที่ 1 12 12 0 12 100.00 ประถมศึกษาปที ่ี 2 10 10 0 10 100.00 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 20 20 0 20 100.00 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 9 9 0 9 100.00 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 12 12 0 12 100.00 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 9 9 0 9 100.00 รวม 72 72 0 72 100.00 เฉลย่ี ร้อยละ 100.00 100.00 0 100.00 100.00 ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 สาระวิชา จานวนคน คะแนนเฉล่ีย เฉล่ียรอ้ ยละ ด้านคณิตศาสตร์ 20 62.44 62.44 ดา้ นภาษาไทย 20 71.47 71.47 66.95 66.95 ค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 รายวิชา จานวนคน คะแนนเฉลยี่ เฉลี่ยรอ้ ยละ ภาษาไทย 9 57.67 57.67 ภาษาองั กฤษ 9 43.23 43.23 คณติ ศาสตร์ 9 43.08 43.08 วิทยาศาสตร์ 9 30.42 30.42 43.60 43.60 ค่าเฉลี่ย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๓๘ (สาเนา) คาสง่ั โรงเรยี นบ้านแพะ ท่ี 20/25๖5 เรือ่ ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินผลคุณภาพการจัดการศกึ ษาและจัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาการศกึ ษา 25๖4 ……………………....................................................................…………….. ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการสาคัญในการจัดการศึกษา ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และประเภทการศึกษา โดยในหมวด 6 มาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกัน คุณภาพภายนอก มาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร การศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนบ้าน แพะ อาเภอเมืองปาน จังหวัดลาปาง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและถูกต้องตามระเบียบราชการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และมาตรา 85 และมาตรา 86 แหง่ พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา จงึ แต่งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 25๖4 ดงั น้ี 1. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 1.1 นายสงกรานต์ โนจากุล ผู้ทรงคุณวุฒิ 1.2 นายธนภัทร นิวนั ติ กรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 1.3 นายนิรตุ ติ ชนี าวุธ กรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 1.4 นายเจรญิ จดั สวย กรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 1.5 นายมนตรี หน้าใหญ่ กรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 1.6 นายเพม่ิ สวสั ด์ิ ปัญญาวงษ์ กรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 1.7 นายถนอม ต้อนรับ มหี นา้ ที่ ใหค้ าปรึกษา แนะนา ตอ่ คณะกรรมการดาเนินงานการประกันคณุ ภาพภายใน สถานศึกษาให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 2. คณะกรรมการดาเนินงานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย 2.1 นายโชคอนันต์ อนนั ตสิทธิโชติ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ 2.๒ นางปทมุ พร ไพรพนาพฤกษ์ ครู รองประธานกรรม รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๓๙ 2.3 นางสาวจินดา เครืออนิ ตา ครู กรรมการ 2.4 นางนางสาววลยั พร พรมจินา 2.5 นางสาวรักษิณา สุวาท ครู กรรมการ 2.6 นางสาวแวววรรณ ถอื สัตย์ 2.7 นางสาววารณุ ี ธรรมขนั ท์ ครู ผู้ช่วย กรรมการ 2.8 นางสาวชรินดา วังมูล 2.9 นายทิวัตถ์ แสนปญั ญา ครู ผู้ช่วย กรรมการ 2.10 นางแววดาว ขัดธะสีมา 2.11 นางสาวมทั นา กาละ ครูอัตราจา้ ง กรรมการ ครูอตั ราจ้าง กรรมการ ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ ครู กรรมการและเลขานกุ าร ธรุ การ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร มีหน้าที่ความรับผดิ ชอบดงั น้ี พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย (1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา (3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ (4) ดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา (5) จดั ให้มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา (6) จดั ใหม้ กี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา (7) จดั ทารายงานประจาปีท่ีเป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน (8) จัดให้มีการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง ให้ผูท้ ีไ่ ด้รบั มอบหมายหน้าท่ดี ังกลา่ วปฏิบตั หิ นา้ ที่ ด้วยความตัง้ ใจอย่างเต็มศกั ยภาพ ด้วยความ วริ ิยะอตุ สาหะ ความรบั ผิดชอบ เพอื่ เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ต่อสถานศึกษาตอ่ ไป ทั้งน้ี ตงั้ แต่วันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป สัง่ ณ วันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ลงช่อื (นายโชคอนนั ต์ อนนั ตสทิ ธิโชต)ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านแพ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๔๐ (สาเนา) คาส่งั โรงเรยี นบ้านแพะ ท่ี 21/2565 เรอ่ื ง การแต่งตงั้ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ……………...........................................................…………………….. ตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการสาคัญในการจัดการศึกษา ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และประเภทการศึกษา โดยในหมวด 6 มาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกัน คุณภาพภายนอก มาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนบ้าน แพะ อาเภอเมอื งปาน จังหวดั ลาปาง สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เป็นไป ด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและถูกต้องตามระเบียบราชการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แหง่ พระราชบญั ญัติบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และมาตรา 85 และมาตรา 86 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงแต่งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ การดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 ดังนี้ 1. คณะกรรมการทป่ี รึกษา ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1.1 นายโชคอนนั ต์ อนันตสิทธโิ ชติ ผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 1.2 นางแววดาว ขัดธะสีมา ครู กรรมการ 1.3 นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ ครู กรรมการ 1.4 นางสาวลยั พร พรมจินา ครู กรรมการ 1.5 นางสาวจินดา เครืออินตา ครู มีหนา้ ท่ี ให้คาปรึกษา แนะนา ตอ่ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 2. คณะกรรมติดตามตรวจสอบการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย 2.1 นายโชคอนันต์ อนนั ตสิทธิโชติ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ 2.๒ นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ ครู รองประธานกรรม 2.3 นางสาววลยั พร พรมจนิ า ครู กรรมการ 2.4 นางสาวจินดา เครืออินตา ครู กรรมการ 2.5 นางสาวรกั ษณิ า สวุ าท ครผู ชู้ ่วย กรรมการ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 256๔
๔๑ 2.6 นางสาวแวววรรณ ถือสัตย์ ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ 2.7 นางสาววารุณี ธรรมขนั ท์ 2.8 นางสาวชรนิ ดา วังมูล ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ 2.9 นายทิวตั ถ์ แสนปญั ญา 2.10 นางแววดาว ขัดธะสมี า ครูจา้ งสอน กรรมการ 2.11 นางสาวมทั นา กาละ ครูอัตราจ้าง กรรมการ ครู กรรมการและเลขานกุ าร ธรุ การ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ มหี นา้ ที่ ติดตามตรวจสอบการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาในระดับผ้ปู ฏบิ ัติ ระดบั กลุม่ งาน/ฝา่ ยงาน และระดับสถานศึกษา พรอ้ มทง้ั จัดทารายงานการตดิ ตามตรวจสอบเสนอต่อผบู้ ริหาร สถานศกึ ษา อย่างนอ้ ย 2 คร้ัง/ปีการศึกษา ใหผ้ ทู้ ี่ได้รบั มอบหมายหน้าทีด่ ังกลา่ วปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ดว้ ยความตง้ั ใจอย่างเตม็ ศักยภาพ ดว้ ยความ วริ ิยะอตุ สาหะ ความรับผดิ ชอบ เพือ่ เกดิ ประโยชน์สงู สุดต่อสถานศกึ ษาตอ่ ไป ทงั้ น้ี ตง้ั แตว่ นั ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 25๖5 เป็นตน้ ไป ส่งั ณ วนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 25๖5 (ลงชอ่ื ) (นายโชคอนันต์ อนนั ตสทิ ธิโชติ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านแพะ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๔๒ ประกาศโรงเรยี นบา้ นแพะ เรอ่ื ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2563 นโยบายการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ใน การพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมิน และการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จาเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้สอดคล้องกัน กระทรวงศึกษาธิการได้ยกเลิก ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองให้ใช้มาตนฐานการศึกษาระดับปฐมวัยเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ลงวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2559 และประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 11 ตลุ าคม 2559 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 9 (3) มาตรา 31 และมาตรา 48 แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเตอม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับ มตคิ ณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานในการประชุม ครั้งที่ 4/ 2562 เมอื่ วันจนั ทร์ ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 โรงเรียนบา้ นแพะโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา จึงประกาศให้ใช้มาตรฐาน การศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ตามเอกสารแนบท้าย ประกาศฉบบั นี้ ประกาศ ณ วันท่ี 12 พฤษภาคม 2565 (นายโชคอนันต์ อนนั ตสิทธโิ ชติ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นแพะ (นายนายสงกรานต์ โนจากุล) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ผใู้ ห้ความเห็นชอบ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 256๔
๔๓ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบ้านแพะ เรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ฉบับลงวนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ----------------------------------------- มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ. 2563 มีจานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 2 การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเปน็ สาคญั แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ 1. เดก็ ทุกคนไดร้ บั อาหารหลกั ครบทุกมื้อและอาหารเสริม (นม) 1 ม้อื (เวลาเช้า) และเด็กร้อยละ 85 มีน้าหนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ และสามารถเคลอ่ื นไหว รา่ งกายไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ 2. เด็กรอ้ ยละ 80มีสขุ ภาพอนามยั และสุขนิสยั ที่ดี ดแู ลตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วตั รประจาวันได้ดี และมวี ินัยในการรกั ษาความสะอาดตนเอง ห้องเรยี นและสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี น 3. เดก็ ร้อยละ 85 เข้าใจและปฏิบตั ติ นตามข้อตกลงของห้องเรียนและโรงเรียน เล่นและปฏิบตั ิ กิจกรรมไดอ้ ย่างปลอดภัยและมีความสุข และสามารถทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมายจนสาเร็จไดด้ ้วยตนเอง 4. เด็กทกุ คนมีผลงานดา้ นศิลปะท่เี กิดจากการลงมือทาดว้ ยตนเองสามารถเลา่ เรอ่ื งตามจินตนาการ จากผลงานท่ที านัน้ 5. เดก็ รอ้ ยละ 80 รู้จักอดทนในการรอคอย (เชน่ คอยผู้ปกครอง คอยรอรบั ของจากครู) 6. เด็กทุกคนมีมารยาท \"งามอยา่ งไทย\" ไหว้ ยิ้ม และกล่าวทกั ทายด้วยความสุภาพ มสี มั มาคารวะ ต่อผู้ทีอ่ าวุโสกว่าจนไดร้ ับคาชื่นชม 7. เดก็ ทุกคนกล้าต้ังคาถามในสงิ่ ที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และสามารถอธบิ ายเหตุและผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากเหตุการณ์หรือการกระทาตา่ ง ๆ ได้ 8. เด็กร้อยละ 85 ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามแบบทดสอบของสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจดั การ 1. โรงเรยี นมีนโยบายรบั ฟงั ทกุ ความคิดเห็นของผู้ปกครอง ตามนโยบาย\"ทุกความคิดเห็นมีคณุ ค่าต่อ การพัฒนาลกู ของเรา\" มหี ลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยทมี่ งุ่ พฒั นาการเด็กรอบด้าน จัดกิจกรรมครบ หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย 2560 และปรบั กจิ กรรมให้ยดื หยนุ่ ตามความสนใจและวุฒภิ าวะของเด็ก รวมทั้ง รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 256๔
๔๔ ใช้วถิ ีชีวติ ทอ้ งถิ่นมาบรู ณาการในกิจกรรม มีส่ือการเรียนรู้ท่ีจบั ต้องได้อย่างหลากหลายและเพียงพอ เชน่ ของ เลน่ หนังสือนทิ าน สอ่ื จากธรรมชาติ สือ่ สาหรับเด็กมดุ ลอด ปนี ปา่ ย รวมทั้งสื่อเทคโนโลยใี นการคน้ หาความรู้ ท่เี หมาะสมกับวยั ของเด็ก 2. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรยี นที่ปลอดภยั มีครูดแู ลเด็กอย่างใกลช้ ดิ อยา่ ง พอเพียง ผปู้ กครองสามารถพบครปู ระจาชนั้ ได้ตลอดเวลา 3. โรงเรียนจัดให้เด็กได้ทศั นศกึ ษานอกสถานที่ท่ีใกลเ้ คยี งโรงเรียน เช่นวดั ตลาด พพิ ธิ ภณั ฑ์ หอ้ งสมุดประชาชน อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ ฯลฯ อยา่ งน้อยปีการศกึ ษาละ 1 ครัง้ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสาคญั 1. ครทู ุกคนมีขอ้ มูลและเข้าใจเดก็ เป็นรายบุคคล และใชข้ ้อมูลของเด็กร่วมกบั ผปู้ กครองในการช่วย สง่ เสริมให้เด็กมีพัฒนาการอย่างสมดลุ ครบทัง้ ด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา 2. ครูทกุ คนจดั ประสบการณ์การเรยี นรตู้ ามหลกั มอนเตสซอรี ท่สี ่งเสรมิ พฒั นาเดก็ โดยความ ร่วมมอื ของพ่อแม่ ครอบครัว และผู้เก่ียวข้อง 3. ครูทุกคนใชส้ ่ือเทคโนโลยี เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แทบ็ เล็ตที่เหมาะสมกับชว่ งอายุ ระยะ ความสนใจ และวถิ ีการเรยี นรู้ของเด็ก 4. ครทู ุกคนมีความเชี่ยวชาญในการประเมินพฒั นาการเด็กดว้ ยเครือ่ งมือและวิธกี ารทห่ี ลากหลาย และเหมาะสมตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวันครูทกุ คนและผปู้ กครองมกี ารแลกเปล่ียน เรียนรรู้ ว่ มกนั จากกจิ กรรม\"พบปะกันวนั ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC)\" อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านแพะ เรอ่ื ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ฉบับลงวนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ----------------------------------------- มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2564 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ดดงั นี้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
๔๕ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการ 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คานวณ 2) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 5) มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด 2) ความภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย 3) การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. โรงเรยี นมีระบบการบริหารและการจดั การทม่ี ุ่งเนน้ การกระจายอานาจ และการมีสว่ นรว่ มในการ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้อย่างมีคุณภาพ 2. โรงเรยี นจัดหลกั สตู รท่เี นน้ วชิ าการ และจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรท่ีเน้นงานอาชพี ผนวกกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. โรงเรยี นมรี ะบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทนั สมัย เพียงพอต่อการจดั การเรียนรู้และการบรหิ าร จัดการ มรี ะบบไวไฟต่อการแสวงหาความรู้ 4. โรงเรียนมเี ครอื ข่ายท่ีเข้มแข็งในการสนับสนนุ การพฒั นาการศึกษาของโรงเรียน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 1. ครทู กุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้จัดการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน (Project based learning) เพอ่ื พัฒนา ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ และสร้างผลงานเชิงสร้างสรรค์ โดยบรู ณาการกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.ครใู ห้นักเรียนทุกคนได้สาธิตและฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ (Learning by Doing)ทัง้ ด้านวิชาการและกจิ กรรม เสริมหลกั สตู ร โดยเฉพาะงานฝีมือและการอนรุ กั ษ์ศลิ ปไทย 3. ครูทุกคนพฒั นาตนเองให้สามารถใชส้ อื่ เทคโนโลยีและสารสนเทศได้อย่างคล่องแคลว่ และจัดหา แหลง่ สืบคน้ ทีห่ ลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนไดค้ วามรทู้ นั สมยั 4. ครูทุกคนประเมินและประมวลผลการเรยี นรจู้ ากขอ้ มลู หลายแหล่งเช่น การทดสอบ การเขยี น รายงาน การอภปิ รายกลุ่มการพูดบนเวที ผลงาน การพฒั นาตนเอง เป็นต้น และให้ข้อมลู ย้อนกลบั ทันทเี พื่อ รายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 256๔
Search