Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง.ใบความรู้

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง.ใบความรู้

Published by sephiroth7zee, 2020-06-12 11:10:48

Description: การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง.ใบความรู้

Search

Read the Text Version

ใบความรู้เรอื่ ง การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๑. การอ่านบทรอ้ ยแก้ว ร้อยแก้ว หมายถงึ บทประพนั ธท์ ีเ่ รียบเรยี งตามภาษาทใ่ี ช้เขียนหรือพดู กนั ทั่วไป ภาษาที่ใช้สาหรับรอ้ ย แก้วไม่มีการบงั คบั สมั ผสั หรอื กาหนดจานวนคาแต่อย่างใด เป็นภาษาทใ่ี ช้สอื่ สารเพือ่ ให้เกดิ ความเข้าใจเป็น สาคญั รูปแบบของงานเขยี นประเภทร้อยแก้ว แบง่ ออกได้เปน็ ๒ ประเภทใหญๆ่ ดังนี้ ๑. บนั เทิงคดี เป็นลกั ษณะงานประพนั ธท์ ี่มเี นือ้ หาม่งุ จะเสนอเรือ่ งทีแ่ ต่งขึน้ จากจินตนาการเพ่อื ความ เพลดิ เพลนิ เปน็ หลัก งานประพนั ธ์ประเภทบันเทิงคดี ได้แก่ นิทาน เรอื่ งสน้ั นวนยิ าย นยิ ายองิ พงศาวดาร และ นิทานชาดก ๒. สารคดี เป็นลกั ษณะงานประพันธท์ ี่มีเนอ้ื หามุ่งเสนอขอ้ เท็จจริงที่เป็นความรู้ ขอ้ คดิ เป็นหลกั งาน ประพนั ธป์ ระเภทสารคดี ได้แก่ ความเรียง บทความ สารคดี รายงาน ตารา พงศาวดาร กฎหมาย จดหมายเหตุ พระราชหตั ถเลขา จารึก และคัมภรี ศ์ าสนา ๑.๑ หลกั การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว เปน็ การอ่านออกเสยี งธรรมดาหรือสือ่ สารใหผ้ ู้อืน่ เข้าในเร่ืองราวท่ีอา่ นได้ มหี ลักการอา่ นดังน้ี ๑. กอ่ นอา่ นควรศึกษาเร่ืองท่ีอ่านใหเ้ ข้าใจโดยตลอดเสียก่อน โดยเข้าใจทง้ั สาระสาคัญของ เรื่องและขอ้ ความทุกข้อความ เพอ่ื จะแบง่ วรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม ๒. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาทยี่ มื มาจากภาษาอน่ื ๆ เชน่ บาลี สนั สกฤต เขมร เปน็ ต้น รวมท้งั คาท่ีถูกต้องตามความนิยม โดยอาศยั หลกั การอ่านจากพจนานุกรมฉบับ ราชบณั ฑิตยสถานเปน็ สาคญั ๓. ผูอ้ ่านต้องมีสมาธแิ ละความมน่ั ใจในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตก หรืออ่านเติมขณะอา่ น ต้องควบคุมสายตาให้ไลไ่ ปตามตัวอักษรทุกตัวในแตล่ ะบรรทดั จากซา้ ยไปขวา ด้วยความรวดเร็ว ว่องไวและ รอบคอบ แล้วย้อนสายตากลบั ลงไปยงั บรรทัดถดั ไปอย่างแมน่ ยา ๔. อ่านออกเสยี งให้เปน็ เสียงพูดอย่างธรรมชาติ โดยเนน้ เสียงหนัก เบา สูง ตา่ ตามลกั ษณะ การพดู โดยทวั่ ไป ๕. อ่านออกเสยี งใหด้ ังพอสมควร ใหเ้ หมาะกับสถานที่และจานวนผฟู้ ัง ไม่ดงั หรือค่อย จนเกนิ ไป จะทาให้ผู้ฟังเกิดความราคาญและไมส่ นใจ ๖. กาหนดความเรว็ ใหเ้ หมาะสมกับผฟู้ งั และเรื่องที่อา่ น ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป การอ่านเร็ว เกินไปทาให้ผู้ฟงั จบั ใจความไม่ทนั แตก่ ารอ่านช้าเกินไปทาให้ผู้ฟังเกดิ ความราคาญได้ ผอู้ า่ นจงึ ต้องพจิ ารณาพน้ื ความรขู้ องผ้ฟู ังและพจิ ารณาประเภทของเรื่องท่ีอา่ นด้วย ๗. อ่านให้ถกู จังหวะวรรคตอน ตอ้ งอา่ นให้จบคาและได้ใจความ ถา้ เปน็ คายาวหรอื คาหลาย พยางค์ ไมค่ วรหยุดกลางคาหรอื ตัดประโยคจนเสียความ ๘. มีการเน้นคาทส่ี าคัญและคาท่ตี ้องการ เพ่ือใหเ้ กิดจินตภาพทตี่ ้องการ ควรเนน้ เฉพาะคา ไมใ่ ชท่ ัง้ วรรคหรือทั้งประโยค เชน่ “พมิ นิ่งงัน คาพูดของแม่บาดลกึ เข้าไปในความรู้สึก” ๙. เมือ่ อา่ นข้อความท่มี ีเครอื่ งหมายวรรคตอนกากับ ควรอา่ นให้ถกู ต้องตามหลกั ภาษา ส่วน คาท่ใี ช้อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มคา เช่น ทลู เกล้าฯ อา่ นว่า ทนู – เกลา้ – ทนู – กระ – หมอ่ ม พ.ศ. อา่ นว่า พดุ – ทะ – สัก – กะ – หราด ครวู นั เพญ็ ตนั ทะอธพิ านิช หนา้ ๑

ใบความรู้เรือ่ ง การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ๑๐. เมอื่ อ่านจบย่อหนา้ หนงึ่ ควรผ่อนลมหายใจและเมื่อข้นึ ย่อหนา้ ใหม่ควรเน้นเสยี งและ ทอดเสยี งใหช้ ้าลงกว่าปกตเิ ล็กน้อย เพื่อดึงความสนใจจากผู้ฟงั จากนั้นจงึ ใช้เสียงระดับปกติ ๑.๒ การอา่ นในใจ การอ่านในใจ เป็นการทาความเขา้ ใจสัญลกั ษณ์ทม่ี ผี ู้บันทึกไว้เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร รปู ภาพ และ เครือ่ งหมายตา่ งๆ แล้วผอู้ า่ นจะต้องทาความเข้าใจโดยแปลสัญลกั ษณท์ ี่บันทึกไว้นั้นให้ตรงตามความต้องการ ของผบู้ นั ทึก การอา่ นในใจจงึ ใชเ้ พยี งสายตากวาดไปตามตัวอกั ษรหรือสญั ลักษณ์ตา่ งๆ แล้วใชค้ วามคิดแปล ความ ตคี วาม รบั สารตา่ งๆ ที่อ่านนนั้ ทาใหผ้ ู้อ่านได้รับความรู้ ความคิด และความบนั เทิง อนั เปน็ จดุ มุ่งหมาย ของการอ่านโดยท่ัวไป การอ่านท่ีจะช่วยใหผ้ อู้ ่านสามารถบรรลุจดุ มุง่ หมายในการอ่านไม่ว่าจะเปน็ การอ่านเพื่อศึกษาหา ความรู้ เพ่ือหาคาตอบ หรอื เพอ่ื ความบันเทิงนั้น ผู้อ่านต้องอ่านอย่างมีประสทิ ธภิ าพ วิธที ่จี ะช่วยใหอ้ ่านอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพได้นัน้ ผู้อา่ นต้องสามารถจับใจความสาคัญของเรอื่ งท่ีอา่ นได้ ต้องรู้วา่ เรื่องที่ตนอ่านนั้นผูเ้ ขียน กลา่ วถึงอะไร มุ่งเสนอความคิดหลกั ว่าอยา่ งไร และฝึกอย่างสม่าเสมอ เพื่อใหส้ ามารถจับใจความจากข้อความ หรอื เร่อื งราวท่ีอา่ นได้อย่างรวดเร็ว อนั จะเปน็ ประโยชน์อยา่ งยิ่งในการแสวงหาความรู้หรือความบนั เทงิ ในเวลา อันจากัด ๒. การอ่านบทรอ้ ยกรอง คนไทยมนี สิ ยั เจา้ บทเจ้ากลอนมาตัง้ แตโ่ บราณ ด้วยเหตุน้ี ถ้อยคาสานวนท่เี ราได้ยนิ ได้ฟังอยเู่ สมอจึง มักมเี สียงสมั ผสั คล้องจองกัน เชน่ ก่อร่างสรา้ งตัว ข้าวยากหมากแพง คดในข้องอในกระดูก จองหองพองขน แมแ้ ต่เพลงสาหรบั เดก็ ร้องเล่น เช่น รรี ขี ้าวสาร สองทะนานขา้ วเปลือก เลอื กท้องใบลาน คดขา้ วใสจ่ าน เปน็ ตน้ ภาษาไทยเปน็ ภาษาดนตรมี เี อกลกั ษณ์เฉพาะตัว คือ มเี สียงวรรณยุกต์ ๕ ระดบั เสยี ง เมื่อนาถอ้ ยคามา เรยี งรอ้ ยเข้าดว้ ยกันแล้วจะก่อใหเ้ กิดบทร้อยกรองหลายลักษณะ เชน่ กาพย์ กลอน โคลง รา่ ย ฉันท์ นอกจากน้นั ยังมกี ารนาบทร้อยกรองบางรูปแบบมาประสมประสานกันแล้วเรียกว่า กาพยห์ ่อโคลงบ้าง กาพย์ เหบ่ ้าง ลลิ ิตบา้ ง บทร้อยกรองท่ีคนไทยไดส้ รา้ งสรรค์มาแตโ่ บราณนีล้ ้วนงดงามดว้ ยวรรณศลิ ปท์ ง้ั สิน้ ดังนั้น การอ่านบทรอ้ ยกรองใหม้ คี วามไพเราะ เกิดความซาบซ้งึ และมีอารมณร์ ่วมนน้ั ผอู้ ่านต้องอ่าน บทรอ้ ยกรองท้ังอา่ นออกเสยี งเปน็ ทานองต่างๆ ตามลักษณะฉันทลกั ษณ์อันเปน็ สิ่งกาหนดทานองใหแ้ ตกต่าง กนั ออกไป ๒.๑ ลกั ษณะของบทร้อยกรองประเภทตา่ งๆ บทรอ้ ยกรองแต่ละประเภทมีลกั ษณะแตกต่างกัน จึงมีวิธีการอ่านท่ตี ่างกันโดยขนึ้ อยกู่ บั บทรอ้ ยกรอง ประเภทนัน้ ๆ ซงึ่ สามารถแบง่ ประเภทการอา่ นบทร้อยกรองได้ ดงั น้ี ๑. โคลง เป็นคาประพนั ธด์ ั้งเดมิ ของไทย นิยมแตง่ อย่างแพร่หลายอยา่ งนอ้ ยราวตน้ กรงุ ศรี อยุธยา สาหรบั โคลงสสี่ ุภาพถือเปน็ โคลงที่ไดร้ บั อิทธพิ ลจากโคลงทแ่ี พรห่ ลายในลา้ นนาแทนโคลงดนั้ ท่ีใช้อยู่แต่ เดิม และดว้ ยฉันทลักษณ์ทไ่ี ม่ซับซ้อนจงึ ถอื เอาโคลงสีส่ ภุ าพเปน็ พนื้ ฐานสาหรบั การแต่งและอา่ นคาประพนั ธ์ ประเภทโคลงในปัจจบุ ัน ๒. ฉนั ท์ เป็นคาประพนั ธป์ ระเภทหนง่ึ มีการบังคับเสียงหนกั เสยี งเบา (ครุ ลหุ) โดยอาจ จาแนกลักษณะการแต่งออกเป็น ๒ ชว่ ง ได้แก่ ฉันทร์ นุ่ เก่า เชน่ สมุทรโฆษ อนิรทุ ธ์ ฉันท์ปจั จุบัน อาจพจิ ารณา ว่า เรม่ิ ตง้ั แต่สมัยรัชกาลท่ี ๓ เรอ่ื ยมา เรม่ิ มีการนาคาบาลี สนั สกฤต มาใชม้ ากข้ึน คล้ายกับเปน็ การบงั คบั ครุ ลหุ ซึง่ ลักษณะดงั กล่าวมาสมบรู ณป์ รากฏชัดเจนในผลงานของชิต บรุ ทตั ๓. กาพย์ เป็นคาประพนั ธ์รอ้ ยกรองประเภทหนึ่งของไทย ทน่ี ยิ มแตง่ มี ๓ ประเภท คือ กาพย์ ยานี ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ในสมัยโบราณนิยมแต่งกาพย์ท้ัง ๓ ประเภทน้ีสลบั กัน ครวู นั เพญ็ ตนั ทะอธิพานิช หนา้ ๒

ใบความรู้เรือ่ ง การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ๔. กลอน เป็นคาประพนั ธ์ท่ีเกิดหลังสดุ แตง่ ง่ายท่สี ุด และเป็นทน่ี ิยมแพร่หลายมากที่สุด ดว้ ยกลอนจะมจี งั หวะและทานองเฉพาะตวั คือ กลอน ๑ บท มี ๔ วรรค ได้แก่ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง และวรรคส่ง การอ่านคากลอนจะเนน้ ให้เหน็ สัมผสั นอกทถี่ ูกต้องชัดเจนและถา้ มสี ัมผสั ในเพิม่ ด้วยจะชว่ ยให้คา กลอนมีความไพเราะมากยิ่งข้ึน ๕. ร่าย เป็นคาประพันธ์ท่เี ก่าแกท่ ี่สุดของไทย ข้อบงั คบั ต่างๆ มเี พยี งคาสดุ ท้ายส่งสัมผัสไปยงั วรรคถัดไป จะมกี ี่วรรคก็ได้ ร่ายสภุ าพจะมวี รรคละ ๕ คา ส่วนร่ายยาวเปน็ ร่ายทไ่ี มก่ าหนดจานวนคาในวรรค หน่งึ ๆ แต่ละวรรคอาจมคี ามากนอ้ ยแตกตา่ งกัน ถา้ เป็นรา่ ยสุภาพจะจบดว้ ยโคลงสองสุภาพหรอื โคลงสาม สุภาพ หากเป็นรา่ ยดนั้ ๑ จะจบด้วยโคลงสองด้ันหรอื โคลงสามดนั้ การกาหนดจงั หวะในการอ่านร่ายชนิดต่างๆ จงึ ไมแ่ นน่ อน ทั้งนีเ้ พราะจานวนคา คาประพนั ธ์ประเภทรา่ ย ประกอบดว้ ย ร่ายสภุ าพ รา่ ยโบราณ๒ รา่ ยดัน้ และร่ายยาว ๒.๒ การอา่ นบทร้อยกรอง บทร้อยกรองหรือกวนี ิพนธ์๓ มวี ธิ ีการอ่านได้ ๒ ลักษณะ กลา่ วคือ อ่านออกเสยี งธรรมดาโดยอา่ นออก เสียงเชน่ เดยี วกับการอ่านร้อยแก้ว และการอ่านทานองเสนาะ คือ อา่ นเป็นทานองเพ่ือความไพเราะ อ่านออกเสียงธรรมดา เปน็ การอ่านออกเสียงพูดธรรมดาเหมือนอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ แต่ตอ้ งเว้น จังหวะวรรคตอนให้ถกู ต้องตามลักษณะบังคบั ของคาประพันธ์แต่ละชนิด มกี ารเนน้ คารบั สัมผสั เพือ่ เพมิ่ ความ ไพเราะ รวมทงั้ สามารถใส่อารมณ์ให้เหมาะสมสอดคล้องกบั เน้อื หาที่อา่ นได้ อา่ นทานองเสนาะ เป็นการอ่านทม่ี ีสาเนยี งสงู ต่า หนกั เบา ยาว สัน้ ทอดเสยี ง เอ้อื นเสียง เนน้ จังหวะ เน้นสัมผสั ในชดั เจนไพเราะ และทาให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนั้น ผอู้ า่ นต้องมีสาเนียง นา้ เสียงที่ เหมาะสมกับลกั ษณะเน้อื ความที่อ่าน เช่น บทเลา้ โลม เกยี้ วพาราสี ตัดพ้อ โกรธเกรีย้ ว คร่าครวญโศกเศรา้ ซึ่ง เปน็ ส่ิงทตี่ อ้ งฝึกฝนโดยเฉพาะ ๑) คุณสมบตั ขิ องผู้อ่าน ๑. มคี วามรู้เร่ืองฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองทจี่ ะอา่ น เพ่อื ใหส้ ามารถอา่ นได้อยา่ งถูกตอ้ งแม่นยา ๒. มคี วามชา่ งสงั เกต รอบคอบ ปฏภิ าณไหวพรบิ ดี ๓. มที กั ษะและสมาธใิ นการอา่ น ไม่อา่ นผิด อ่านตกหลน่ หรอื ต่อเติม ทาใหเ้ สยี ความไพเราะ ๔. มคี วามเพียรพยายาม มีความอดทนในการฝึกฝนการอ่านอยา่ งสมา่ เสมอ ๕. มคี วามรักและสนใจการอา่ นอย่างแทจ้ รงิ อนั จะนาไปส่คู วามแตกฉานในการอา่ น ------------------------------------------------ ๑ร่ายดน้ั ช่ือรา่ ยชนิดหนงึ่ บทหนึ่งมี ๕ วรรคขน้ึ ไป วรรคหนง่ึ ใช้ต้ังแต่ ๕-๗ คา และจะต้องจบดว้ ย บาทท่ี ๓ และท่ี ๔ ของโคลงดั้นวิวธิ มาลี นอกนนั้ เหมือนร่ายสุภาพ ๒ร่ายโบราณ ช่อื ร่ายชนดิ หนึ่ง นิยมใช้ในวรรณคดีโบราณ ไม่นิยมคาเอกคาโท ไม่จากดั วรรคและคา แต่มกั ใช้วรรคละ ๕ คาและใช้คาเทา่ กันทกุ วรรค ๓กวีนพิ นธ์ คาประพนั ธท์ ี่กวีแต่งข้นึ อย่างมีศลิ ปะ งานประเภทกวีนพิ นธใ์ นปจั จบุ ันมิไดจ้ ากัดเฉพาะบท ประพันธ์ที่มกี ารแต่งสอดคล้องกับฉันทลักษณ์ในบทประพนั ธ์เท่านัน้ แตง่ านกวนี ิพนธ์ยงั มีความหมายรวมถึง บทประพันธ์ทีไ่ ม่บงั คบั ฉันทลักษณ์อยา่ งกลอนเปล่าอกี ดว้ ย การอ่านบทกวนี ิพนธผ์ ้อู ่านจึงควรพินจิ พิจารณา คุณค่าดว้ ย การเปดิ ประสาทสมั ผสั ต่างๆ ไดแ้ ก่ หู ตา จมูก ลน้ิ กาย รวมถึงใจของผู้อ่าน เพ่ือให้เกดิ การรับรู้ และเข้าถงึ อรรถรสท่ีอยู่ในบทกวี เช่น เมอื่ ผูอ้ า่ นอ่านแลว้ เกิดจนิ ตภาพเหน็ แสงหรอื ภาพอย่างไร ไดย้ นิ เสยี ง เชน่ ใด ได้กล่นิ ใด ได้ลม้ิ รสหรือสัมผสั อยา่ งไร ผอู้ ่านควรใชว้ ธิ ีการอ่านออกเสยี ง เพ่ือฝึกให้ประสาทสมั ผสั ได้รับรู้ อยา่ งเต็มท่ี ครูวนั เพ็ญ ตนั ทะอธพิ านชิ หน้า ๓

ใบความรู้เรื่อง การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ๖. มคี วามเชือ่ มัน่ ในตนเอง กล้าแสดงออก ๗. มีสขุ ภาพดี ๘. มีนา้ เสยี งแจม่ ใส อวยั วะในการออกเสยี งไม่ผิดปกติ ๒) หลกั เกณฑใ์ นการอ่าน ๑. ศึกษาคาประพนั ธช์ นิดต่างๆ ใหเ้ ข้าใจถ่องแท้ จดจารูปแบบ และข้อบงั คับใหแ้ มน่ ยา ถ้าจาเปน็ สามารถเขียนคณะ๑ จานวนคา ครุ ลหุ กากับลงในบทร้อยกรองได้ ๒. อา่ นบทร้อยกรองเปน็ สาเนียงการอา่ นรอ้ ยแกว้ ธรรมดา อ่านออกเสยี งดงั ชัดเจนให้ไดจ้ ังหวะ หรอื ชว่ งเสียงตามรูปแบบร้อยกรองชนิดนน้ั ๆ ออกเสียงคาต่างๆ ให้ถกู ตอ้ งชัดเจน โดยเฉพาะการอ่านตวั ร ล ตวั ควบกล้า และออกเสียงให้ถกู ต้องตามระดับเสียงวรรณยุกต์ ๓. ฝึกอา่ นทอดเสยี งโดยอ่านผอ่ นเสยี งและผ่อนจังหวะใหช้ ้าลง เปน็ ข้นั ตอนทีต่ ่อเนื่องจากการอ่าน คาแตล่ ะคาใหช้ ดั เจน โดยใหผ้ ้ฝู ึกอ่านลากเสียงให้ยาวออกไปเลก็ น้อยแล้วจงึ อา่ นทอดเสียงนน้ั ๔. อา่ นใสท่ านองเสนาะ๒ ซ่งึ มลี ักษณะสาคัญ คือ การแบง่ ชว่ งเสียงของคาในวรรคในบาท ในบทได้ ถูกต้อง สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะวรรณศลิ ปท์ ่มี อี ย่ใู นบทร้อยกรองนน้ั ๆ การใส่ทานองเสนาะนีใ้ หเ้ ลือกแบบแผนท่ี นยิ มกนั มาก ผูอ้ า่ นต้องใชค้ วามสามารถเฉพาะตวั ในการอ่านโดยคานึงถึงความไพเราะเป็นสาคัญ ๕. ฝึกอ่านบทรอ้ ยกรองชนดิ ต่างๆ เพื่อใหร้ จู้ งั หวะ วรรคตอน ทว่ งทานอง ลีลา จนเกิดความ แมน่ ยาในทานองแล้ว จงึ เพมิ่ ศิลปะในการอ่านท่จี ะทาใหก้ ารอ่านทานองเสนาะเกดิ ความไพเราะยิ่งขึน้ โดยมี วิธกี าร ดังนี้ - การทอดเสยี ง คือ วธิ ีการอา่ นโดยผ่อนเสียง ผ่อนจังหวะให้ช้าลง - การเอ้อื นเสยี ง คือ การลากเสียงชา้ ๆ เพ่ือใหเ้ ขา้ จังหวะและไวห้ างเสียงเพ่อื ความไพเราะ - การครัน่ เสยี ง๓ คอื การทาเสียงใหส้ ะดุดสะเทอื น เพ่อื ความไพเราะเหมาะสมกบั บทร้อย กรองบางตอน - การครวญเสยี ง คือ การสอดแทรกเสียงเอื้อนหรอื สาเนยี งครวญคร่าราพนั ใชไ้ ดท้ ั้งกรณีที่ ต้องการขอร้อง วิงวอนหรือสาหรับอารมณโ์ ศก - การหลบเสยี ง คือ การเปล่ียนเสยี งหรือหกั เสียงหลบจากสูงลงไปตา่ หรือจากเสียงต่าข้ึนไป สูง เป็นการหลบจากการออกเสยี งท่เี กนิ ความสามารถ - การกระแทกเสียง คือ การลงเสยี งในแตล่ ะคาหนกั เป็นพิเศษ มกั ใช้บรรยายความโกรธ ความเขม้ แขง็ หรือตอนทต่ี ้องการความศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ------------------------------------------------ ๑คณะ กลุ่มคาทจ่ี ดั ให้มลี ักษณะเป็นไปตามรปู แบบของร้อยกรองแตล่ ะประเภท ประกอบดว้ ย บท บาท วรรค และคา ตามจานวนที่กาหนด กลา่ วไดว้ า่ คณะ ซง่ึ เปน็ ข้อกาหนดเกี่ยวกับรปู แบบของร้อยกรองแต่ ละประเภทจะต้องประกอบด้วย บท บาท วรรค และคาจานวนเทา่ ใด นอกจากนี้ ยังสอื่ ถงึ หลักเกณฑ์ที่ใช้ใน การแต่งฉันทว์ รรณพฤติ มี ๘ คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ ภ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะ แต่ ละคณะมี ๓ คา หรือ ๓ พยางค์ โดยถือครุและลหุเปน็ หลกั ๒ทานองเสนาะ วิธกี ารอา่ นออกเสียงอย่างไพเราะตามลลี าของบทรอ้ ยกรองประเภทโคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน เป็นการอา่ นคาประพันธท์ ่ีมที านองเสยี งสงู -ต่า มจี ังหวะลลี าและการเอ้ือนเสียงเปน็ ทานองแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะชนดิ ของคาประพนั ธ์น้ัน มจี ุดมุ่งหมายเพอื่ ใหเ้ กดิ ความไพเราะเปน็ สาคญั ๓การคร่ันเสียง เทคนคิ อย่างหนง่ึ ในการขับร้องเพลงให้มีความไพเราะโดยการทาให้เสียงส่นั สะเทือน ภายในลาคอ ครวู ันเพ็ญ ตนั ทะอธิพานชิ หนา้ ๔

ใบความรู้เร่อื ง การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ๖. ฝึกการใสอ่ ารมณ์ให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อความที่อา่ น การใสอ่ ารมณ์ความรู้สึกลงในการ อ่านบทร้อยกรอง ทาไดโ้ ดยการออกเสยี งหนักเบา อ่อนโยน ช้าเรว็ กระแทกกระทัน้ ทอดเสียงเนิบชา้ ละมุนละไม เสยี งสงู ต่า โดยเปลย่ี นแปลงเสียงไปตามอารมณ์ความรูส้ กึ ของบทร้อยกรองแต่ละวรรคแตล่ ะตอน ๓) วธิ กี ารอา่ น ในการอา่ นทานองเสนาะของคาประพนั ธ์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันด้านทานอง ลีลา การ ทอดเสยี งและความสามารถของผอู้ ่าน ส่วนจังหวะจะคลา้ ยคลึงกนั สว่ นมากจะอ่านตามทานองลีลาท่ีไดร้ ับการ สั่งสอนกนั มา การอ่านจะไพเราะหรือไม่ ขึน้ อยกู่ บั น้าเสยี งและความสามารถของผู้อา่ น โดยมเี ครอ่ื งหมายวรรคตอนในการอ่าน ดังนี้ เครอ่ื งหมาย / หมายถึง การหยดุ เวน้ ช่วงจังหวะส้ันๆ เครือ่ งหมาย // หมายถงึ การหยดุ เว้นชว่ งจงั หวะท่ยี าวกวา่ เครือ่ งหมาย / ๓.๑) การอ่านกลอนสุภาพ ๑. การแบ่งชว่ งเสียง หรอื จังหวะกลอนของกลอนสภุ าพ โดยมลี ีลาการอ่าน ดังน้ี หลวงธรรมาภมิ ณฑ์ (ถึก จติ รกถกึ ) นกั เลงกลอนในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ได้กล่าวถงึ ลีลาของ กลอนสภุ าพไว้ ดังนี้ กลอนสภุ าพ/แปดคา/ประจาบอ่ น// อา่ นสามตอน/ทุกวรรค/ประจักษแ์ ถลง// ตอนต้นสาม/ตอนสอง/ต้องแสดง// ตอนสามแจ้ง/สามคา/ครบจานวน// กาหนดบท/ระยะ/กะสมั ผัส// ให้ฟาดฟัด/ขัดความ/ตามกระสวน๑// วางจังหวะ/กะทานอง/ต้องกระบวน๒// จงึ จะชวน/ฟงั เสนาะ/เพราะจับใจ// (ประชุม ลานา  หลวงธรรมาภมิ ณฑ์ (ถกึ จิตรกถกึ ) เนอื่ งจากกลอนสภุ าพวรรคหนึ่งอาจมีจานวนคา ๖-๙ คา มไิ ดม้ ี ๘ คาเสมอไป ดังนนั้ ถ้าจะ อา่ น “ตอนต้นสาม ตอนสอง ต้องแสดง ตอนสามแจ้ง สามคา ครบจานวน” ก็คงจะไม่ได้ ต้อง “กาหนดบท ระยะ กะสัมผัส” และ “วางจังหวะ กะทานอง ต้องกระบวน” “จึงจะชวน ฟงั เสนาะ เพราะจับใจ” ๒. การเออ้ื นเสียงทอดเสยี ง การอ่านทานองเสนาะ นิยมอ่านเสียงสูง ๒ วรรค ในวรรคท่ี ๑ และ ๒ ลดเสยี งต่าลงในวรรคท่ี ๓ และลดเสยี งต่าลงไปอกี จนเป็นเสยี งพ้นื ระดับต่าในต้นวรรคที่ ๔ การ ทอดเสยี ง นิยมทอดเสยี งระหวา่ งวรรคไปยงั คารับสมั ผัสซึง่ เป็นตาแหนง่ ทีแ่ บ่งชว่ งเสยี งดว้ ย นอกจากนี้การออก เสยี งสงู ตา่ สน้ั ยาว หนกั เบา และการทอดเสียง ต้องพิจารณาลีลาและเนอ้ื ความของบทร้อยกรองประกอบด้วย ข้อควรคานึงในการอ่านทานองเสนาะประเภทกลอน ๑. อ่านให้ถูกทานองของกลอนประเภทนน้ั ๆ ๒. อา่ นออกเสยี งคาให้ถูกต้องตามอักขรวธิ ี ออกเสยี งตัว ร ล ตวั ควบกล้า และเสียง วรรณยกุ ต์ใหถ้ ูกตอ้ ง ------------------------------------------------ ๑กระสวน แบบ เชน่ อยา่ คบพวกหญงิ พาลสันดานช่วั ทแี่ ต่งตัวไวจ้ รติ ผิดกระสวน (สุภาษิตสุนทรภ่)ู ถึงแบบตัวอย่างสาหรับสรา้ งหรอื ทาของจริง เช่น กระสวนเรือน กระสวนเสื้อ เป็นตน้ ๒กระบวน ขบวน แบบแผน เช่น กระบวนหนงั สือไทย ชน้ั เชิง เชน่ ทากระบวนงามกระบวนเนตรเงา เสนห่ ง์ า หรือหมายถงึ ลาดบั เช่น แลขุนหม่นื ชาวสวนท้งั ปวงเฝ้าตามกระบวน สว่ นในกฎหมายตราสามดวง หมายถงึ วิธกี าร เชน่ จดั กระบวนพจิ ารณา ครวู นั เพ็ญ ตนั ทะอธิพานชิ หนา้ ๕

ใบความรู้เรื่อง การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ ๓. อ่านคาให้เอ้อื สมั ผัสในเพ่อื เพ่มิ ความไพเราะ เช่น คดิ ถึงบาทบพิตรอดศิ ร อ่านว่า อะ – ดดิ – สอน เพื่อเอ้ือสมั ผัสกบั คาวา่ บพิตร ข้าอตุ ส่าห์มาเคารพอภิวันท์ อ่านวา่ อบ – พิ – วนั เพอ่ื เอ้ือสัมผัสกับคาวา่ เคารพ บุญบันดาลดลจิตพระธดิ า อา่ นว่า ทดิ – ดา เพอื่ เอ้ือสัมผสั กับคาว่า จิต ๔. ต้องใสอ่ ารมณ์ให้เหมาะสมกบั เน้ือความ หากผอู้ า่ นเขา้ ใจเนื้อความของเร่ืองทั้งหมด หรือเนือ้ ความในตอนที่อา่ น และมลี ลี าอารมณต์ ามนั้น เช่น เน้อื ความบรรยายธรรมชาติควรอา่ นด้วยเสยี งเนบิ นมุ่ กังวาน แจม่ ใส ชัดเจน ความดังของเสยี งประมาณ ๓ ใน ๔ ของเสียงตน ส่วนบทต้ืนตันตอ้ งอา่ นด้วยลีลา ช้าบา้ ง เรว็ บ้าง ดงั บา้ ง ค่อยบ้าง เพ่อื ให้ตน่ื เตน้ เร้าใจตามความหมายของเนื้อความ ท้ังนีเ้ พ่ือให้กระทบอารมณ์ ของผู้ฟงั ๕. อ่านให้ถกู ชว่ งเสียงหรือจงั หวะของกลอน และต้องคานงึ ถึงความเหมาะสม ความ ถกู ต้องตามความหมายและเน้ือความของบทกลอนท่ีอ่านดว้ ย มิฉะนัน้ อาจสือ่ ความหมายผิดพลาดได้ เชน่ “แขกเต้าจับเตา่ รา้ งร้อง เหมอื นร้างหอ้ งมาหยารศั มี” หากอ่าน แขกเต้า / จับเต่า / รา้ งรอ้ ง ถกู ตามจังหวะของกลอน แต่ความหมายจะผิดไป ควรอ่าน แขกเตา้ / จับเต่ารา้ ง / รอ้ ง จึงจะได้ความ เพราะเต่าร้างเปน็ ชอ่ื ของต้นไมช้ นิดหนึง่ ๓.๒) การอา่ นกาพย์ ๑. กาพย์ยานี ๑๑ (๑) การแบง่ ชว่ งเสยี ง หรอื จังหวะของกาพย์ยานี ๑๑ วรรคหนา้ ๕ คา อ่านแบ่งเสยี ง ๒ ช่วง เปน็ oo / ooo วรรคหน้า ๖ คา อา่ นแบง่ เสียง ๒ ชว่ ง เปน็ ooo / ooo พระเสดจ็ /โดยแดนชล// ทรงเรือต้น/งามเฉิดฉาย// กิ่งแกว้ /แพรว้ พรรณราย//พายอ่อนหยับ/จับงามงอน// นาวา/แน่นเปน็ ขนัด//ลว้ นรูปสตั ว์/แสนยากร// เรอื รว้ิ /ทิวธงสลอน// สาครลัน่ /ครนั่ คร้ืนฟอง// (กาพย์เห่เรือ  เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศร์) ............................................. ครวู นั เพญ็ ตนั ทะอธพิ านิช หน้า ๖

ใบความรู้เรอ่ื ง การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง วชิ าภาษาไทย ท๓๑๑๐๑ แบบฝึกหดั จงตอบคาถามต่อไปน้ี (ให้นกั เรียนทาลงสมดุ ) ๑. การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ เป็นทักษะที่จาเป็นต้องฝึกฝนหรอื ไม่ อย่างไร ๒. การอา่ นออกเสียงและการอา่ นในใจมเี ปา้ หมายในการสื่อสารท่แี ตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร ๓. จดุ มุ่งหมายในการอ่านที่มีความแตกตา่ งกันส่งผลต่อหลกั การอ่านที่มีความแตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร ๔. นักเรยี นมวี ิธกี ารฝกึ ฝนตนเองอย่างไร เพือ่ ให้นักเรียนมีคุณสมบตั ใิ นการอ่านออกเสียงท่ีดี ๕. การอา่ นออกเสียงธรรมดาและการอ่านทานองเสนาะมีหลกั เกณฑ์ในการอา่ นอย่างไร ผอู้ า่ นตอ้ งคานึงถึงประเดน็ ใดบ้าง อยา่ งไร ๖. การศกึ ษาฉนั ทลักษณข์ องคาประพนั ธ์แต่ละประเภทก่อนอา่ นบทร้อยกรอง มคี วามจาเป็นหรือไม่ อยา่ งไร ๗. การอ่านบทร้อยกรองแบบออกเสยี งธรรมดาและอ่านแบบทานองเสนาะ มีความแตกต่างกันอย่างไร ๘. การอ่านบทรอ้ ยกรองประเภทคาฉนั ท์ มีหลักในการอ่านอยา่ งไร จงอธิบาย และยกตวั อยา่ งประกอบ ๙. คณุ สมบตั ขิ องผ้ทู ่จี ะอ่านทานองเสนาะไดด้ ีมอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย ๑๐. การอา่ นทานองเสนาะแบบกระแทกเสียง มักจะใชก้ บั การอา่ นเน้ือหาในลักษณะใด จงอธิบาย และยกตัวอย่าง ครวู นั เพญ็ ตนั ทะอธพิ านิช หน้า ๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook