Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร

Published by moungpok207, 2020-05-02 03:08:51

Description: ระบบย่อยอาหาร

Search

Read the Text Version

ระบบย่อยอาหาร

ระบบยอ่ ยอาหาร หมายถงึ ระบบที่ทาหน้าท่ี ยอ่ ยอาหารใหล้ ะเอยี ด จนร่างกายสามารถ ดูดซมึ สารอาหารผา่ นเขา้ ส่กู ระแสเลือด เพอื่ นาไปเลีย้ งสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ การย่อยอาหารในรา่ งกายมี 2 วธิ ี คอื 1. การย่อยเชงิ กล คอื การเปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกลุ ทาให้ อาหารมขี นาดเล็กลงโดย การบด การเคยี้ วอาหาร 2. การยอ่ ยเชงิ เคมี คือ การเปล่ยี นแปลงขนาดโมเลกลุ ของ อาหารโดยใช้เอนไซมท์ ่ีเก่ียวขอ้ งทาใหโ้ มเลกุลของอาหารเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมไี ดโ้ มเลกุลทมี่ ขี นาดเล็กลง

โครงสร้างของระบบย่อยอาหาร ปาก อ คอหอย อ หลอดอาหาร อ กระเพาะ ลาไสเ้ ลก็

โครงสร้างระบบย่อยอาหาร ปาก มที ้งั การยอ่ ยเชิงกลและการย่อยเชิงเคมโี ดย 1. การย่อยเชงิ กล โดยอาศัยฟนั ในการ เค้ยี ว บด 2. การย่อยเชิงเคมี โดยอาศัย เอนไซม์อะไมเลส ในการยอ่ ยแปง้

โครงสร้างระบบย่อยอาหาร คอหอย/หลอดอาหาร เป็นเพียงทางผา่ นของอาหารไปยงั กระเพาะอาหาร

โครงสร้างระบบยอ่ ยอาหาร กระเพาะอาหาร มีทง้ั การยอ่ ยทัง้ เชิงกลและเชิงเคมี 1. การยอ่ ยเชิงกล มีการบีบตวั ของกล้ามเนอ้ื กระเพาะอาหาร 2. การย่อยเชิงเคมี โดยเอนไซม์เพปซนิ (pepsin) ซึ่งจะทางานได้ดใี นสภาพ ที่เป็นกรด โดยชน้ั ในสุดของกระเพาะจะมีตอ่ มสรา้ งนา้ ย่อยซ่ึงมีเอนไซม์เพปซินและกรด ไฮโดรคลอริก เปน็ สว่ นประกอบเอนไซม์เพปซินจะย่อยโปรตนี ใหเ้ ปน็ เพปไทด์ (peptide)ในกระเพาะอาหารน้ยี ังมีเอนไซมอ์ ย่อู กี ชนิดหนึ่งชือ่ ว่า “ เรนนนิ '' ทาหน้าทยี่ อ่ ยโปรตีนในน้านม ในขณะที่ไมม่ ีอาหาร กระเพาะ อาหารจะมขี นาด 50 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร แตเ่ มือ่ มอี าหารจะมกี ารขยายได้ อกี 10 – 40 เท่า

กระเพาะอาหาร

ลาไส้เล็ก ลาไส้เลก็ มที ัง้ การยอ่ ยเชงิ เคมีและมกี ารดดู ซมึ สารอาหารเขา้ สู่ รา่ งกาย ลาไสเ้ ลก็ มลี ักษณะเปน็ ทอ่ ยาวประมาณ 7 เมตร ขดอยูใ่ นชอ่ ง ทอ้ ง ท่ผี นังด้านใน ของลาไสเ้ ล็ก มลี ักษณะ ไมเ่ รียบ เปน็ ปุ่มปมเลก็ ๆ จานวนมากมายยนื่ ออกมาเรยี กว่า วลิ ลสั ( Villus ) เพ่อื ชว่ ย เพมิ่ พน้ื ท่ี ในการดดู ซมึ อาหาร การยอ่ ยอาหารในลาไส้เลก็ เกิดจาก การทางาน รว่ มกนั ของเอนไซม์หลายชนดิ จากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ผนังลาไส้เลก็ ตบั ออ่ น และตบั

ลาไส้เลก็

การยอ่ ยที่ลาไสเ้ ลก็

ขนาดโมเลกลุ โปรตีน อ เปปไทด์ อ กรดอะมโิ น โปรตนี อ โพลเี ปปไทด์ คาร์โบไฮเดรต น้าตาลโมเลกุลคู่ อ นา้ ตาล แป้ง อ เดกซ์ทริน อ โมเลกลุ เด่ียว

อวยั วะทเี่ กี่ยวขอ้ งกับระบบย่อยอาหาร ตบั ทาหน้าทีส่ รา้ งนา้ ดแี ล้วส่งไปเกบ็ ท่ถี ุงน้าดี เพ่อื ชว่ ยในการย่อย ไขมนั (ทาใหไ้ ขมันแตกตัว) แต่นา้ ดีไม่ใชเ่ อนไซม์

อวัยวะทเ่ี กี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร ตบั อ่อน ตับออ่ นทาหน้าที่ทง้ั เปน็ ต่อมมีทอ่ คือการสร้างน้าย่อยไปท่ลี าไส้เลก็

การทดสอบสารอาหาร แป้งทดสอบกับสารละลายไอโอดนี สีก่อนการทดลองสนี ้าตาล ผล การเปลยี่ นแปลงเปน็ สนี า้ เงนิ แกมมว่ ง

การทดสอบสารอาหาร ทดสอบโปรตีนด้วย สารละลายไบยเู รต (คอปเปอร(์ II)ซลั เฟต โซเดยี มไฮดรอกไซต์) สกี ่อนการทดลองสีฟ้าหลังการทดลอง เปลี่ยนเปน็ สีมว่ ง

การทดสอบสารอาหาร ทดสอบน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว เช่น น้าตาลกลโู คส เม่อื ละลายน้า แล้วนาไปทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์และนาไปตม้ สีของ สารจะ เปลยี่ นจากสฟี ้าเป็นสม้ ตะกอนแดงอฐิ

การทดสอบสารอาหาร ไขมนั วธิ ีการทดสอบ นาเอาน้ามนั พชื หยดใสก่ ระดาษสขี าว สี กระดาษก่อนทดสอบมีลักษณะทบึ แสง หลงั การทดสอบกบั นา้ มันพืชสขี องกระดาษจะมลี กั ษณะโปร่งแสง

จบแล้วจา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook