42 1. ผลคะแนนทไ่ี ด้จากการประเมนิ ระหว่างเรียน ตาราง 1 แสดงผลคะแนนท่ีไดจ้ ากการประเมินระหวา่ งเรยี น (E1) จำนวน 10 ครง้ั คะแนนระหวา่ งเรยี น นกั ห ัลกการอ่านโน้ตเพลงไทย ( 10 ) เรียน แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตดนตรีไทย ( 10 ) คนที่ แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 1 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 2 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 3 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 4 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 5 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 6 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 7 ( 10 ) ่อานโน้ตแขกบรเทศ ั้ชนเดียว ( 10 ) คำแนนรวม 100 คะแนน E1 1 8 7 8 9 9 9 8 9 8 10 85 85 2 10 7 8 9 9 9 8 9 8 8 85 85 2 8 7 10 9 9 9 8 9 8 10 87 87 3 8 8 8 9 8 9 8 9 8 10 85 85 4 8 8 8 8 8 8 8 9 8 10 83 83 5 10 10 8 9 10 9 8 9 8 10 91 91 6 7 6 8 10 10 10 8 9 8 10 86 86 7 10 10 10 10 9 9 8 9 8 10 93 93 8 8 10 10 10 9 9 10 9 10 10 95 95 9 10 10 10 10 9 7 10 9 10 10 95 95 10 8 7 8 9 9 9 8 9 8 10 85 85 11 10 7 8 9 9 7 8 9 8 8 83 83 12 8 7 10 7 9 9 8 9 10 10 87 87 13 8 8 8 9 8 9 8 10 8 10 86 86 14 10 7 8 8 9 8 8 9 8 10 85 85 15 10 7 8 9 9 9 8 9 9 8 86 86 16 10 7 10 7 9 7 8 9 10 10 87 87 17 10 8 8 9 8 9 8 9 8 10 87 87
43 คะแนนระหวา่ งเรียน นัก ห ัลกการ ่อานโน้ตเพลงไทย ( 10 ) เรียน แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตดนตรีไทย ( 10 ) คนท่ี แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 1 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 2 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 3 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 4 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 5 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยที่ 6 ( 10 ) แบบ ึฝกหัดการ ่อานโน้ตเพลงไทยท่ี 7 ( 10 ) ่อานโน้ตแขกบรเทศ ั้ชนเดียว ( 10 ) คำแนนรวม 100 คะแนน E1 18 8 7 8 9 9 9 8 9 8 10 85 85 20 10 7 8 9 9 9 8 9 10 8 87 87 21 8 10 10 9 9 9 8 9 10 10 92 92 22 8 8 8 9 8 9 8 7 8 10 83 83 23 8 8 8 8 8 6 8 9 8 10 81 81 24 10 10 8 9 10 9 8 8 9 10 91 91 25 7 10 8 10 10 10 8 9 8 10 90 90 26 10 10 10 10 9 9 8 9 10 10 95 95 27 8 10 10 10 10 9 10 7 10 10 94 94 28 10 10 10 10 9 7 10 9 10 10 95 95 29 8 10 8 10 9 9 8 9 8 10 89 89 30 10 10 8 9 10 10 8 9 10 8 92 92 31 8 10 10 10 9 9 8 9 10 10 93 93 รวม 282 271 278 291 288 278 264 284 282 310 2,828 2,828 คา่ เฉลีย่ รวม 88.37 จากตาราง 1 พบว่า นักเรียนมีผลคะแนนที่ได้ระหว่างการประเมินระหว่างเรียน โดยการทำ แบบทดสอบท้ายหน่วยทุกหน่วยการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 88.37 โดยมีหน่วยการเรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถทำคะแนนได้ดีที่สุด คือ หน่วยที่ 10 อ่านโน้ตแขกบรเทศ ชั้นเดียว มีผลรวมคะแนนทั้งหมด 310 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 หนว่ ยการเรยี นรู้ทน่ี ักเรยี นทำคะแนนไดด้ ีรองลงมาเปน็ อันดับสอง คือ หน่วยที่ 4 แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตเพลงไทยที่ 2 มีผลรวมคะแนนทั้งหมด 291 คะแนน
44 คิดเป็นร้อยละ 93.87 และหน่วยการเรียนรู้ที่นักเรียนทำคะแนนได้น้อยท่ีสุด คือ หน่วยที่ 7 แบบฝึกหัด การอ่านโน้ตเพลงไทยท่ี 5 มผี ลรวมคะแนนท้ังหมด 264 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 85.16 จากตารางข้างตน้ สามารถแยกพจิ ารณาผลคะแนนท่ีได้ ออกเปน็ หน่วยการเรียนรตู้ ่าง ๆ ได้ดังน้ี ตาราง 2 แสดงผลคะแนนท่ไี ด้จากการประเมินท้ายหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 นกั เรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 18 2 10 38 48 58 7 10 87 9 10 10 8 11 10 12 8 13 10 14 8 15 8 16 10 17 10 18 10 19 10 20 8 21 8 22 10 23 8 24 8 25 8 26 10
45 นักเรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหนว่ ย 27 7 28 10 29 8 30 10 31 8 282 คะแนนรวม E1 90.97 จากตาราง 2 พบวา่ นักเรยี นสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 ท่ีมคี ะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นรอ้ ยละ 90.97 โดยมีคะแนนสงู สุดทนี่ ักเรยี นสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสูงสดุ เป็นอับดบั สอง คอื 8 คะแนน และคะแนนนอ้ ยสุดที่นกั เรยี นทำได้ คอื 7 คะแนน ตาราง 3 แสดงผลคะแนนทไี่ ด้จากการประเมินท้ายหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 นกั เรียนคนที่ ผลคะแนนทดสอบท้ายหนว่ ย 17 27 37 48 58 7 10 86 9 10 10 10 11 10 12 7 13 7 14 7 15 8 16 7 17 7
46 นกั เรียนคนที่ ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 18 7 19 8 20 7 21 10 22 7 23 10 24 8 25 8 26 10 27 10 28 10 29 10 30 10 31 10 271 คะแนนรวม E1 87.42 จากตาราง 3 พบวา่ นกั เรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 87.42 โดยมีคะแนน สูงสดุ ทีน่ กั เรยี นสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสงู สดุ เปน็ อบั ดบั สอง คอื 8 คะแนน และคะแนนนอ้ ยสุดท่นี ักเรยี นทำได้ คือ 6 คะแนน ตาราง 4 แสดงผลคะแนนท่ไี ด้จากการประเมินทา้ ยหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 นกั เรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหนว่ ย 17 27 37 48 58 7 10 86
47 นักเรยี นคนที่ ผลคะแนนทดสอบท้ายหนว่ ย 9 10 10 10 11 10 12 7 13 7 14 7 15 8 16 7 17 7 18 7 19 8 20 7 21 10 22 7 23 10 24 8 25 8 26 10 27 10 28 10 29 10 30 10 31 10 271 คะแนนรวม 87.42 E1 จากตาราง 4 พบว่า นกั เรยี นสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 87.42 โดยมีคะแนน สูงสดุ ทน่ี ักเรียนสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสูงสดุ เปน็ อบั ดับสอง คือ 8 คะแนน และคะแนนน้อยสดุ ทีน่ ักเรยี นทำได้ คือ 6 คะแนน
48 ตาราง 5 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมินท้ายหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 นกั เรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 19 29 39 48 58 7 10 8 10 99 10 9 11 9 12 9 13 9 14 9 15 8 16 9 17 9 18 9 19 8 20 9 21 9 22 9 23 9 24 8 25 8 26 10 27 10 28 9 29 10 30 9
49 นักเรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 31 9 288 คะแนนรวม E1 92.90 จากตาราง 5 พบว่า นกั เรยี นสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 92.90 โดยมีคะแนน สูงสุดท่นี กั เรยี นสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสูงสุดเปน็ อบั ดบั สอง คือ 9 คะแนน และคะแนนน้อยสดุ ที่นกั เรยี นทำได้ คอื 8 คะแนน ตาราง 6 แสดงผลคะแนนท่ไี ด้จากการประเมินท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 นกั เรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหนว่ ย 19 29 39 48 58 7 10 8 10 99 10 9 11 9 12 9 13 9 14 9 15 8 16 9 17 9 18 9 19 8 20 9 21 9
50 นักเรยี นคนที่ ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหนว่ ย 22 9 23 9 24 8 25 8 26 10 27 10 28 9 29 10 30 9 31 9 288 คะแนนรวม E1 92.90 จากตาราง 7 พบว่า นักเรยี นสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 92.90 โดยมีคะแนน สูงสดุ ท่ีนักเรียนสามารถทำได้ คอื 10 คะแนน คะแนนสูงสดุ เปน็ อบั ดับสอง คอื 9 คะแนน และคะแนนนอ้ ยสุดทน่ี กั เรยี นทำได้ คือ 8 คะแนน ตาราง 8 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมินท้ายหนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 นักเรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 19 29 39 48 58 7 10 8 10 99 10 9 11 9 12 9
51 นกั เรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหนว่ ย 13 8 14 9 15 9 16 9 17 8 18 9 19 9 20 9 21 9 22 8 23 8 24 10 25 10 26 9 27 10 28 9 29 9 30 10 31 9 288 คะแนนรวม E1 92.90 จากตาราง 8 พบวา่ นกั เรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 92.90 โดยมีคะแนน สงู สดุ ท่นี กั เรยี นสามารถทำได้ คอื 10 คะแนน คะแนนสูงสดุ เป็นอับดบั สอง คอื 9 คะแนน และคะแนนนอ้ ยสดุ ทีน่ กั เรียนทำได้ คือ 8 คะแนน
52 ตาราง 9 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมินทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 นกั เรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหนว่ ย 19 29 39 49 58 79 8 10 99 10 9 11 7 12 9 13 7 14 9 15 9 16 8 17 9 18 7 19 9 20 9 21 9 22 9 23 9 24 9 25 6 26 9 27 10 28 9 29 9 30 7
53 นกั เรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 31 9 278 คะแนนรวม E1 89.68 จากตาราง 9 พบวา่ นกั เรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ท่ีมี คะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 89.68 โดยมีคะแนน สูงสุดท่ีนกั เรียนสามารถทำได้ คอื 10 คะแนน คะแนนสงู สุดเป็นอบั ดับสอง คือ 9 คะแนน และคะแนนน้อยสดุ ทนี่ กั เรียนทำได้ คอื 6 คะแนน ตาราง 10 แสดงผลคะแนนท่ีไดจ้ ากการประเมินทา้ ยหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 7 นกั เรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 18 28 38 48 58 78 88 98 10 10 11 10 12 8 13 8 14 8 15 8 16 8 17 8 18 8 19 8 20 8 21 8
54 นักเรียนคนท่ี ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 22 8 23 8 24 8 25 8 26 8 27 10 28 10 29 8 30 8 31 8 264 คะแนนรวม E1 85.16 จากตาราง 10 พบว่า นกั เรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 7 ท่ี มีคะแนนเตม็ ของแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 85.16 โดยมีคะแนน สูงสุดทน่ี กั เรียนสามารถทำได้ คอื 10 คะแนน คะแนนสงู สุดเปน็ อับดบั สอง คือ 8 คะแนน และคะแนนน้อยสดุ ที่นักเรียนทำได้ คอื 8 คะแนน ตาราง 11 แสดงผลคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการประเมินทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 นักเรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 19 29 39 49 59 79 89 99 10 9 11 9 12 9
55 นกั เรยี นคนที่ ผลคะแนนทดสอบท้ายหนว่ ย 13 10 14 9 15 9 16 9 17 9 18 9 19 9 20 9 21 9 22 7 23 9 24 8 25 9 26 9 27 7 28 9 29 9 30 9 31 9 284 คะแนนรวม 91.61 E1 จากตาราง 11 พบว่า นกั เรยี นสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8 ท่ี มคี ะแนนเตม็ ของแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคดิ เป็นร้อยละ 91.61 โดยมีคะแนน สูงสดุ ทนี่ กั เรยี นสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสงู สดุ เป็นอับดับสอง คือ 9 คะแนน และคะแนนน้อยสดุ ท่ีนกั เรยี นทำได้ คือ 7 คะแนน
56 ตาราง 12 แสดงผลคะแนนท่ไี ด้จากการประเมินทา้ ยหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 นกั เรยี นคนท่ี ผลคะแนนทดสอบท้ายหน่วย 18 28 38 48 58 78 88 98 10 10 11 10 12 8 13 8 14 10 15 8 16 8 17 9 18 10 19 8 20 8 21 10 22 10 23 10 24 8 25 8 26 9 27 8 28 10 29 10 30 10
57 นกั เรยี นคนที่ ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 31 10 282 คะแนนรวม 90.97 E1 จากตาราง 12 พบว่า นักเรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ที่มีคะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคิดเป็นร้อยละ 90.97 โดยมี คะแนนสงู สุดทน่ี ักเรยี นสามารถทำได้ คือ 10 คะแนน คะแนนสูงสดุ เปน็ อับดับสอง คอื 9 คะแนน และคะแนนน้อยสุดทีน่ กั เรียนทำได้ คือ 8 คะแนน ตาราง 13 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมินทา้ ยหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10 นกั เรียนคนที่ ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหนว่ ย 1 10 28 3 10 4 10 5 10 7 10 8 10 9 10 10 10 11 10 12 10 13 8 14 10 15 10 16 10 17 8 18 10 19 10 20 10 21 10
58 นักเรียนคนที่ ผลคะแนนทดสอบทา้ ยหน่วย 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 10 28 10 29 10 30 8 31 10 310 คะแนนรวม 100 E1 จากตาราง 13 พบว่า นักเรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ที่มีคะแนนเต็มของแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ 10 คะแนน โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 100 โดยมีคะแนน สูงสุดทนี่ กั เรยี นสามารถทำได้ คอื 10 คะแนน คะแนนสงู สดุ เป็นอบั ดบั สอง คือ 9 คะแนน และคะแนนนอ้ ยสดุ ทนี่ กั เรียนทำได้ คอื 8 คะแนน
59 2. ผลคะแนนท่ไี ด้จากการประเมนิ หลังเรียน ผลประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน โน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธรที่ได้จากการประเมิน หลังเรยี น มดี ังนี้ ตาราง 12 แสดงผลคะแนนทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ หลงั เรยี น (E2) นักเรยี นคนท่ี คะแนนหลงั เรียน 100 คะแนน ค่าเฉลย่ี นร้อยละของคะแนน 1 88 88 2 80 80 3 89 89 4 90 90 5 85 85 6 75 75 7 95 95 8 80 80 9 82 82 10 84 84 11 89 89 12 88 88 13 87 87 14 90 90 15 96 96 16 80 80 17 86 86 18 70 70 19 90 90 20 95 95 21 99 99 22 98 98 23 85 85 24 82 82 25 90 90
60 นักเรียนคนที่ คะแนนหลงั เรียน 100 คะแนน คา่ เฉลี่ยนร้อยละของคะแนน 91 91 91 94 94 94 93 93 93 98 98 98 93 93 93 96 96 96 2,738 2,738 คะแนนรวม 88.32 E2 จากตาราง 6 พบว่า นักเรียนสามารถทำคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียนทม่ี ีคะแนน เต็ม 100 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.32 โดยมีคะแนนสงู สดุ ที่นักเรยี นสามารถทำได้ คือ 99 คะแนน คะแนนสงู สดุ เปน็ อันดบั สอง คอื 98 คะแนน และคะแนนน้อยทสี่ ุดทีน่ ักเรียนทำได้ คอื 75 คะแนน ตารางท่ี 14 แสดงการเปรียบเทยี บผลคะแนนเฉลีย่ รวมระหว่างเรียน และคะแนนหลงั เรียน นกั เรยี นคนท่ี ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละของคะแนน คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละของคะแนน รวมระหว่างเรียน หลงั เรียน 1 85 88 2 85 80 3 87 89 4 85 90 5 83 85 6 91 75 7 86 95 8 93 80 9 95 82 10 95 84 11 85 89 12 83 88 13 87 87 14 86 90
61 นกั เรียนคนท่ี ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละของคะแนน คา่ เฉล่ยี ร้อยละของคะแนน รวมระหวา่ งเรียน หลงั เรียน 15 86 96 16 87 80 17 87 86 18 85 70 19 90 90 20 87 95 21 92 99 22 83 98 23 81 85 24 91 82 25 90 90 26 95 91 27 94 94 28 95 93 29 89 98 30 92 93 31 93 96 คะแนนรวม 2738 2743 คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 88.32 88.48 จากตาราง 14 พบว่า นักเรียนมผี ลคะแนนท่ีได้จากการประเมินระหว่างเรียนดว้ ยการทำ แบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.32 และนักเรยี นมผี ลคะแนนที่ไดจ้ ากการ ประเมนิ หลงั เรยี นจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรอ่ื งการอา่ นโนต้ ดนตรีไทย คดิ เป็นร้อยละ 88.48 สรุปได้ว่าชุดการสอนเรื่องการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 88.32 /88.48 สูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัย75/75 กำหนดไว้ ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยชุดการสอนเรื่องการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาชั้นปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร หลังจากผู้วิจัยไดด้ ำเนนิ ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะ
62 การอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร และได้ทำการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ืองการอ่านโน้ตดนตรีไทย แล้ว ผู้วิจัยนำคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบของกล่มุ ตัวอย่าง จำนวน 31 คน มาวิเคราะห์ เพอื่ ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนซง่ึ ปรากฏผลดังนี้ ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทยี บคะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนนก่อนและหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรม เร่ืองการอ่านโนต้ ดนตรไี ทย คะแนนทดสอบ คะแนนเตม็ ผลการทดสอบ sig x̅ S.D. t คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี น 10 6.41 1.91 1.69 3.71 คะแนนทดสอบหลังเรียน 10 8.28 1.71 2.04 7.42 * มีนัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 จากตาราง 14 แสดงถึง ผลการวเิ คราะหก์ ารเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ก่อนและหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาช้ันปที ี่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร พบว่า นักเรียนมีคา่ เฉลีย่ ของผลการทดสอบกอ่ นเรียน อยทู่ ี่ 6.41 แต่หลงั จากการเรียนดว้ ยชดุ การสอนเร่ืองการอ่านโน้ตดนตรีไทยทผ่ี ู้วิจัยพัฒนาขึ้น นักเรียนมี ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหลังเรียนอยู่ที่ 8.28 ซึ่งเมื่อนำผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาทำ การเปรียบเทียบ พบว่า ค่า t มีค่าเท่ากับ 2.04 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วย ชดุ กิจกรรมการอ่านโน้ตดนตรีไทย หลังเรยี น สงู กว่ากอ่ นเรียน อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั 0.05
63 บทท่ี 5 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผวู้ ิจยั ขอนำเสนอการสรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะตลอดการดำเนินงานวจิ ยั ตามลำดบั ดงั ตอ่ ไปนี้ ความม่งุ หมายของงานวิจัย สมมติฐานของการวิจยั ขอบเขตของงานวจิ ยั เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า การดำเนินการทดลอง การจดั กระทำและการวเิ คราะหข์ ้อมลู สรุปผลการวจิ ัย การอภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ ความมุ่งหมายของงานวจิ ยั 4. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร 5. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมอื งยโสธร จังหวดั ยโสธร 75/75 6. เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพอื่ ส่งเสรมิ ทักษะการอ่านโนต้ เพลงไทย สมมตฐิ านของการวจิ ยั 4. ได้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนวิชา ศิลปะ(ดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยการใช้วิธีสอนด้วยการใช้ชุดกิจกรรมที่มีประสทิ ธิภาพ เพม่ิ มากข้นึ 5. ได้ชุดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมทกั ษะการอ่านโนต้ เพลงไทยเพื่อสง่ เสรมิ ทกั ษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นอนบุ าลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร ให้สูงข้นึ 6. ได้เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียน การสอน และเป็นแนวทางในการพฒั นาชดุ กิจกรรมในเนอ้ื หาวชิ าอืน่ ต่อไ
64 ขอบเขตของการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จาํ นวน 5 หอ้ ง จำนวน 200 คน ตวั อย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5/6 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จำนวน 31 คนไดม้ าโดยการส่มุ แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ระยะเวลาท่ที ดลอง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 จำนวน 10 คาบ โดยทำการทดลอง สปั ดาห์ละ 1 คาบ (คาบละ 60 นาที) เครื่องมือที่ใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ ชุดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมทักษะการอ่านโนต้ เพลงไทย สําหรับนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาช้นั ปีท่ี 5 การดำเนินการทดลอง ผู้วจิ ยั ไดด้ ำเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างดว้ ยชุดกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลง ไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาช้นั ปีที่ 5 โรงเรยี นอนบุ าลยโสธร โดยใชเ้ วลาในการทำการทดลอง จำนวน 10 คาบ คาบละ 60 นาที สปั ดาหล์ ะ 1 คาบ รวมทั้งหมด 10 สัปดาห์ ตั้งแต่เดอื นพฤศจิกายน - เดือนมกราคม พ.ศ.2564 ทั้งนี้ผู้วิจัยได้แบ่งการทดลองเป็นการจัดการเรียนการสอนจำนวน 8 คาบ พร้อมมีการประเมินระหว่างเรียนด้วยการใช้แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ และอีก 2 คาบ สำหรับ การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ซึ่งการทดสอบก่อนเรียนเป็นการทดสอบความรู้ของนักเรียนก่อน การจดั การเรียนการสอนด้วยชุดกจิ กรรม และการทดสอบหลงั เรียนเปน็ การประมวลความรู้ท่ีได้เรียนมา ทง้ั หมด จากนน้ั จึงนำผลคะแนนท่ีไดท้ ง้ั หมดมาหาข้อมลู ทางสถติ การจดั กระทำและการวิเคราะห์มูล หลงั จากไดด้ ำเนนิ การทดลองจนเสร็จสนิ้ แล้ว ผู้วจิ ยั จึงไดน้ ำผลคะแนนของนกั เรียนที่ได้
65 จากการทำแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ทั้งหมดมาหาคา่ ประสิทธิภาพของชดุ กิจกกรรมเพ่ือส่งเสริม ทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โดยมีเกณฑ์ประสิทธิภาพ ที่กำหนดไว้ 75/75 และนำผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน โนต้ เพลงไทย มาศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน สรปุ ผลการวิจัย จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้วจิ ัยสามารถสรุปผลได้ดงั น้ี 1. ชดุ กจิ กกรรมเพอ่ื สง่ เสริมทักษะการอ่านโนต้ เพลงไทย สําหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาชนั้ ปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.32 /88.48 สูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัย กำหนดไว้ 75/75 2. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีไทย โดยใช้ชุดกิจกกรรมเพื่อ สง่ เสริมทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาชน้ั ปที ่ี 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้น พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอยู่ท่ี 6.41 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนอยู่ที่ 8.28 เมื่อคะแนนก่อนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบกันพบว่า มีค่า t เท่ากับ 8.71 แสดงให้เห็นว่า นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้วยชดุ กิจกกรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สูงกว่าก่อน เรยี น อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 ซ่งึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้ การอภปิ รายผล การพัฒนาชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาชั้นปที ี่ 5 โรงเรยี นอนบุ าลยโสธรสามารถนำไปสกู่ ารอภิปรายผลไดด้ งั น้ี จากการพัฒนาชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร พบว่าชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ต เพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5โรงเรียนอนุบาลยโสธร ที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึน มปี ระสิทธภิ าพเท่ากับ 88.32 /88.48 สูงกวา่ เกณฑ์ที่ผวู้ จิ ยั กำหนดไว้ 75/75 ท้ังนี้การท่ีชุดกจิ กกรรมเพ่ือ ส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยดังกล่าวมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เพราะ ชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบ มีการนำสื่อที่ สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยชุดการสอน ที่ผู้วิจัย พัฒนาขึ้นมีคำแนะนำในการใช้ชุดการสอนระบุไว้ ไม่ว่าจะเป็นคู่มือครู การดำเนินกิจกรรมการเรียน การสอน คู่มือนักเรียน เนื้อหาสาระและสื่อต่าง ๆ และแบบประเมินผลซึ่งสอดคล้องกับงานของ บญุ ชม ศรสี ะอาด (2553) กลา่ วไวว้ า่ ชดุ การสอนมอี งคป์ ระกอบท่ีสำคัญดังน้ี 1) คมู่ อื ครู 2) บัตรคำส่ังหรือใบงาน 3) เนื้อหาสาระและสอื่
66 ตา่ ง ๆ ในสอ่ื การสอน 4) แบบประเมินผลหรือแบบทดสอบความกา้ วหนา้ ของผู้เรียนซึ่งเนื้อหาสาระในชุด กิจกรรม ในหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 หลักการอา่ นโน้ตเพลงไทยเปน็ หนว่ ยการเรยี นรแู้ รกทจ่ี ะทำให้นักเรียนได้ รู้และเข้าใจถึง หลักการอ่านโน้ต สัญลักษณ์ของโน้ตดนตรีไทย และจังหวะของดนตรีไทย ในหน่วยการ เรียนร้นู ีม้ ีใบความรู้ เฉลยใบงาน และ ใบงานใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้เพิ่มเติม หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตดนตรีไทยอ่านออกเสียง 1 2 3 4 อย่างสม่ำเสมอ พรอ้ มตบมอื ท่จี งั หวะท่ี 4 และ อ่านออกเสียงเฉพาะตวั เลขท่ีปรากฏ ตวั เลขท่หี ายไปใหน้ บั ในใจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตดนตรีไทยอ่านออกเสียง 1 2 3 4 อย่างสม่ำเสมอ พร้อมตบมือท่ีจังหวะที่ 4 อ่านออกเสียงเฉพาะตัวเลขที่ปรากฏ ตวั เลขทหี่ ายไปใหน้ บั ในใจ และ อา่ นออก เสียงเฉพาะตัวเลขทปี่ รากฏ ตัวเลขที่หายไปให้นับในใจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตเพลงไทยที่ 2 อ่านออกเสียงเฉพาะตัวเลขที่ปรากฏ ส่วนตวั เลขทห่ี ายไปให้นบั ในใจ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตดนตรีไทยที่ 3 การฝึกอ่านโน้ต 1 ตัวต่อ 1 ห้อง 2 ตัวตอ่ 1 ห้อง 3 ตวั ตอ่ 1 ห้อง และ 4 ตัวต่อ 1 หอ้ งฃ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เพลงตน้ เพลงฉ่ิง สองช้ัน โดยจะมโี นต้ คลิปวีดกี ารสอนให้นักเรียนได้ฝกึ เรียน และการเรียนรู้ท้านสุดคือ การอ่านโน้ตแขกบรเทศ ชั้นเดียว นักเรียนสามารถอ่านโน้ตเพลงในหน่วย การเรียนรู้นี้ได้โดยฝึกจากชดุ กจิ กรรม และคลปิ วดี โี อการสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน เรื่อง การอ่านโนต้ ดนตรีไทย โดยใช้ชุดกิจกกรรมเพื่อสง่ เสริมทกั ษะการอ่าน โน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธรพบว่าชุดกิจกกรรมเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 5โรงเรียนอนุบาลยโสธร ท่ี ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.32 /88.48 สูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ 75/75 ทั้งนี้ การที่ชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยดังกล่าวมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี กำหนดไว้ เพราะชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย t เท่ากับ 8.71 แสดงให้เห็นว่า นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้วยชดุ กจิ กกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโนต้ เพลงไทย สูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ แสดงให้เห็นว่าการ ใช้ชุดกิจกกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีการนำสื่อที่สอดคล้องและ เหมาะสมกับเนอื้ หามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เพอื่ ชว่ ยในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการ เรยี นรใู้ ห้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ทำให้นักเรยี นมคี วามก้าวหน้าทางการเรียน ส่งผลให้ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้ึน
67 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. ในการใชช้ ุดการสอนนั้น ครูผู้สอนควรจะศึกษาค่มู ือขั้นตอนต่าง ๆ อย่างละเอยี ดปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ เพ่ือใหก้ ิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2. ครูผู้สอนควรบอกผลคะแนนที่นักเรียนทำได้ในการทดสอบแต่ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึง ความรู้และความเข้าใจในบทเรียนนั้น ๆ รวมทั้งครูผู้สอนควรชี้แจงข้อบกพร่องของนักเรียนทั้งจากการ เรียนและจากการทำแบบทดสอบ เพือ่ ใหน้ ักเรียนได้นำข้อบกพร่องนั้นไปปรับปรุงแก้ไขและฝึกฝนปฏิบัติ ให้เกิดทักษะย่ิงขน้ึ ข้อเสนอแนะสำหรบั การทำวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป 1. ควรมีการพัฒนาชุดการสอนเรื่องการอ่านโน้ตดนตรีไทยออนไลน์ เพราะอาจเกิดสถานการณ์โรค ระบาดข้ึนไดอ้ ีก การจัดเรียนการสอนจะได้ดำเนินไปอยา่ งราบรน่ื 2. ควรทำการศึกษาในลักษณะการสังเกตพัฒนาการของนักเรียน เพื่อนำแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อ พฒั นาสุนทรียภาพน้ี ไปพิสูจนต์ อ่ ในการสร้างสนุ ทรยี ภาพในลำดับที่สูงขน้ึ กว่างานวจิ ัยเลม่ นี้ 3. ควรมกี ารพฒั นาชดุ การสอนเรอื่ งการอ่านโนต้ ดนตรีไทยใหค้ รอบคลุมประเด็น อ่นื ๆ เชน่ การอา่ นโน้ตดนตรีไทยใหต้ รงกบั ระดับเสียงท่ถี กู ต้อง เปน็ ต้น
68 บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2544). การจดกระบวนการเรียนรูที่ผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุดตามพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแหงชาติพ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ศูนยพฒั นาหลกั สูตรกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2542). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาต.ิ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ.2545. กรงุ เทพ ฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาสภาลาดพร้าว. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. พิมพ์ครัง้ ที่ 3 กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั . กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจำกัด. ชัยยงค์ พรหมวงศ์.(2531). ชุดการสอนระดับประถมศึกษา. (เอกสารประกอบคำสอน). กรงุ เทพฯ :ภาพพมิ พ.์ ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2523) .นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการสอน.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . ทวีพงษ์ หินคำ. (2541). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการควบคุมการจราจรด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการเมอื งและการปกครอง บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ธรารตั น์ เยน็ ใจราษฎร์. (2543) การพฒั นาหนังสืออ่านเพิ่มเติมวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ ชีวิต (ด้านวิทยาศาสตร์) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. (รายงานผลการวิจัย). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2541) . การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ: สรุ วี ิรยิ าสาสน์ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรก์ รุป๊ . รัตนา พรมภาพ. (2550). ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรของภาควชิ าการศกึ ษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมบี คุ สพับลิเคช่ันส์ เลิศ อานนั ทนะ และคนอื่นๆ. (2537). ทัศนคติใช้สอ่ื การสอนระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตาม หลักสูตรตาม หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2544. กรุงเทพ ฯ:พริกหวานกราฟฟคิ
69 ศันสนีย์ จะสุวรรณ์ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม. (2554) การบันทึกเสียงเพลงไทย : กรณศี ึกษาแผ่นเสยี ง รอ่ งกลบั ทาง (รายงานผลการวจิ ยั ). กรงุ เทพ: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา. อัฐวุฒิ คำแสน, สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ.(2554).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการใช้ ชุดกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพดินและการเปล่ียนแปลงของดินสำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ 12(2),12.
70 ภาคผนวก
71 ภาคผนวก ก - แบบประเมนิ ชุดกจิ กกรรมเพื่อสง่ เสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย - แบบประเมนิ ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เรื่อง การอ่านโนต้ ดนตรีไทย
72 แบบประเมินชุดกิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สาํ หรับนกั เรียน ชัน้ ประถมศึกษาชัน้ ปีท่ี 5 โรงเรียนอนบุ าลยโสธร คำชี้แจง แบบประเมินฉบับนี้มุ่งพิจารณาความเหมาะสมทางเนื้อหาของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะ การอ่านโน้ตเพลงไทยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ในด้านวัตถุประสงค์การเรียนรู้เนื้อหาการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน และการวดั และประเมนิ ผล หมายเหตุ กรณีไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบปกติได้ เนื่องจากสถานการณ์ Covid-19 ผ้วู จิ ยั สามารถปรับเครื่องมือวจิ ัยเพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรยี นการสอนที่โรงเรียนกำหนด เพื่อใหส้ ามารถจดั การเรยี นการสอนได้บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ีต่ ้งั ไว้ แบบประเมนิ ในแตล่ ะขอ้ มีตวั เลอื ก 5 ข้อ โปรดอ่านประเดน็ ในแตล่ ะขอ้ ให้ชัดเจนและทำ เครอื่ งหมาย เพยี งเคร่อื งหมายเดียว ในชอ่ งที่ตรงกับระดับการพิจารณาของทา่ น โดยมเี กณฑ์ การพิจารณา ดงั นี้ 5 หมายถึง ดมี าก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง พอใช้ 2 หมายถึง ปรบั ปรุง 1 หมายถึง ใช้ไม่ได้ ข้อ ประเดน็ การประเมิน ระดับการพิจารณา หมายเหตุ 5 432 1 ด้านวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ 1 วตั ถุประสงคส์ อดคล้องกับเน้ือหา 2 มีการกำหนดพฤตกิ รรมท่คี าดหวงั ไว้อย่าง ชดั เจน 3 ระบพุ ฤติกรรมด้านการอ่านโนต้ ดนตรไี ทย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4 วัตถุประสงค์ของการเรยี นสามารถวดั และ ประเมนิ ผลได้
73 ข้อ ประเด็นการประเมิน ระดับการพจิ ารณา หมายเหตุ 5 432 1 ดา้ นเนื้อหาการเรยี นการสอน 5 เนอ้ื หาของบทเรยี นสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ การเรยี นรู้ 6. เน้ือหาของบทเรยี นมีความถูกต้อง 7 เนื้อหาของบทเรียนมีความเหมาะสมในการ จัดการเรยี นการสอน 8 เนื้อหาของบทเรยี นมีความยากงา่ ยเหมาะสม กับนกั เรียน 9 กจิ กรรมในแต่ละบทเรียนมคี วามเหมาะสม ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 10 มีการจดั เรียงลำดบั กจิ กรรมของการเรียนการ สอนตามความยากง่ายได้เหมาะสม 11 มกี ารกระตนุ้ นักเรยี นให้สนใจในการเรยี น 12 นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียน การสอน 13 กจิ กรรมการเรียนการสอนมคี วามสอดคลอ้ ง กบั วัตถุประสงคแ์ ละเนือ้ หา ดา้ นสื่อการสอน 14 ชดุ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอา่ น โน้ตเพลงไทยมีรูปแบบทีเ่ หมาะสม 15 เอกสารประกอบการเรยี นรู้ในชดุ การสอน เรือ่ งการอ่านโน้ตดนตรีไทย มีความชดั เจน และเขา้ ใจได้งา่ ย 16 ชุดกิจกรรมเพือ่ สง่ เสริมทักษะการอา่ น โนต้ เพลงไทยมกี ารใชภ้ าษาได้เหมาะสมกับวัย ของนักเรียน
74 ข้อ ประเด็นการประเมนิ ระดบั การพจิ ารณา หมายเหตุ 5 432 1 17 ชดุ กิจกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่าน โนต้ เพลงไทยชว่ ยให้การเรยี นการสอนบรรลุ ตามวตั ถปุ ระสงค์ 18 แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรียนรู้มคี วาม สอดคล้องและเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ทง้ั ในเน้ือหาและกจิ กรรม 19 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ เรือ่ งการอ่าน โนต้ ดนตรไี ทย สามารถวัดความรู้และทักษะ การอา่ นโน้ตดนตรีไทยของนักเรยี นได้ 20 ชดุ การสอน เรอื่ งการอา่ นโน้ตดนตรไี ทย สามารถนำไปใชไ้ ด้จริง ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข/ ต่อการพัฒนาชดุ กิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ................................................................. ผ้ปู ระเมนิ (.................................................) ตำแหน่ง..............................................................
75 แบบประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื ง การอ่านโน้ตดนตรีไทย คำชแี้ จ้ง ใหท้ ่านพิจารณาวา่ แบบทดสอบต่อไปนี้สามารถวัดได้ตรงวตั ถุประสงค์การเรยี นรหู้ รอื ไม่ โดยทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดบั การพิจารณาของทา่ น โดยมเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้ -1 หมายถึง แน่ใจวา่ แบบทดสอบน้ัน วดั ไดไ้ ม่ตรง 0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จ วา่ แบบทดสอบนน้ั วัดได้ตรง +1 หมายถึง แนใ่ จว่าแบบทดสอบน้นั วดั ได้ตรง ข้อท่ี แบบทดสอบ ระดบั การพิจารณา หมายเหตุ +1 0 -1 ระดบั เสียงดนตรไี ทยมที ัง้ หมดกเ่ี สียง ก. 4 เสยี ง 1 ข. 5 เสียง ค. 6 เสยี ง ง. 7 เสยี ง ด เป็นสัญลกั ษณ์ใช้แทนเสยี งโน้ตตัวใด ก. โด 2 ข. เร ค. มี ง. ฟา - - - มคี ่าความยาวของเสียงเท่ากบั ก่ีจังหวะ ก. 3/4 จงั หวะ 3 ข. 2/4 จังหวะ ค. 1/4 จงั หวะ ง. 4/4 จังหวะ . - มคี า่ ความยาวของเสยี งเทา่ กับกจี่ ังหวะ ก. 3/4 จงั หวะ 4 ข. 2/4 จังหวะ ค. 1/4 จังหวะ ง. /4 จังหวะ
76 ขอ้ ที่ แบบทดสอบ ระดบั การพจิ ารณา หมายเหตุ +1 0 -1 5 . ดดดด เปน็ สัญลกั ษณ์การบันทกึ โนต้ แบบใด กด. โนต้ แบบ 4 ตัว ต่อ 1 หอ้ ง ข. โนต้ แบบ 3 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ค. โน้ตแบบ 1 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ง. โนต้ แบบ 1 ตวั ต่อ 2 หอ้ ง 6 . - ดดด เป็นสัญลักษณ์การบันทึกโนต้ แบบใด ก. โน้ตแบบ 4 ตัว ต่อ 1 หอ้ ง ข. โนต้ แบบ 3 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ค. โน้ตแบบ 1 ตัว ตอ่ 1 ห้อง ง. โน้ตแบบ 1 ตวั ตอ่ 2 ห้อง 7 . - ด- ด เป็นสญั ลักษณก์ ารบนั ทึกโน้ตแบบใด ก. โนต้ แบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวท่ี 2 และตัวที่ 4 ข. โนต้ แบบ 2 ตัว ต่อ 1 หอ้ ง (ตัวท่ี 3 และตัวท่ี 4) ค. โน้ตแบบ 2 ตัว ตอ่ 1 ห้อง เป็นแบบ จังหวะยก (ตวั ท่ี 1 และตัวท่ี 2) ง. โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 ห้อง 8 .- - - ด เป็นสัญลกั ษณ์การบนั ทึกโน้ตแบบใด ก. โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวที่ 2 และตวั ที่ 4 ข. โนต้ แบบ 2 ตัว ตอ่ 1 ห้อง (ตัวที่ 3 และตัวท่ี 4) ค. โน้ตแบบ 1 ตัว ตอ่ 1 ห้อง ง. โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 หอ้ ง
77 ข้อที่ แบบทดสอบ ระดับการพิจารณา หมายเหตุ 9 เครอื่ งหมาย – เป็นสัญลกั ษณ์ใช้แทนโนต้ ก่ตี วั +1 0 -1 ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว ค. 3 ตัว ง. 4 ตัว 10 เปน็ สัญลกั ษณใ์ ช้แทนสงิ่ ใด ก. หอ้ ง ข. กลอ่ ง ค. ชอ่ ง ง. ถกู ทุกข้อ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข/ ตอ่ การพัฒนาชดุ กิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ................................................................. ผู้ประเมนิ (.................................................) ตำแหน่ง..............................................................
78 ภาคผนวก ข - รายนามผูเ้ ช่ยี วชาญ
79 รายนามเชี่ยวชาญ 1. ว่าทรี่ อ้ ยตรีวรเชษฐ์ แถวนาชมุ ครชู ำนาญการพเิ ศษ 2. นางร่งุ นภา บุญถกู หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ 3 นายปรญิ ญา รตั นะ รองผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลยโสธร
80 ชดุ กิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สาํ หรับนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาชั้นปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music for students Grade 5 นางสาวเพรชรยี ์ ทองมนั่ นกั ศึกษาสาขาดนตรีศกึ ษา ชั้นปีท่ี 5 รหสั นักศึกษา 60810401006 สาขาดนตรีศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด
81
82 ชดุ กิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สาํ หรับนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาชั้นปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music for students Grade 5 นางสาวเพรชรยี ์ ทองมนั่ นกั ศึกษาสาขาดนตรีศกึ ษา ชั้นปีท่ี 5 รหสั นักศึกษา 60810401006 สาขาดนตรีศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด
83
ก 85 คำนำ ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music for students Grade 5กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การอ่านโน้ตเพลงไทย เล่มนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใช้เป็น นวัตกรรมเสริม ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การอ่านโน้ตเพลงไทย เน้นการจัด กิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความ เข้าใจยิ่งขึ้น โดย มีครูเป็นผู้คอยให้คําแนะนํา ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หวังเปน็ อย่างย่งิ วา่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรีน่ารู้ เลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชน์กับครู และนักเรียน รวมทั้งเป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้การเรียนรู้ บรรลตุ ามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องทุกท่านที่กรุณาให้คําปรึกษาในการ จัดทําเอกสารฉบบั น้ีใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ลุล่วงดว้ ยดี นางสาวเพรชรีย์ ทองมัน่
สารบัญ ข เรอ่ื ง 87 คำนำ สารบัญ หนา้ แผนผังลำดับ การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ ทกั ษะการอ่านโนต้ เพลงไทย ก คำชี้แจง ข แบบทดสอบก่อนเรียน 1 ใบความรทู้ ่ี 1 เร่ือง หลกั การอา่ นโน้ตเพลงไทย 2 ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง หลกั การอ่านโนต้ เพลงไทย 3 แนวการตอบใบงานท่ี 1 เรื่อง หลกั การอ่านโน้ตเพลงไทย 6 แบบฝกึ หัดการอา่ นโน้ตดนตรีไทย 1 7 แบบฝกึ หัดการอ่านโน้ตดนตรีไทย 2 8 แบบฝึกหดั การอ่านโน้ตดนตรีไทย 3 9 แบบฝึกหัดการอ่านโนต้ ดนตรีไทย 4 10 อา่ นโนต้ ลาวจ้อย สองชนั้ 11 แบบทดสอบหลังเรยี น 12 ภาคผนวก 13 บรรณานุกรม 14 - 16 ค
1 88 แผนผงั ลำดับ การใช้ชดุ กิจกรรมเพอ่ื สง่ เสริมทกั ษะการอ่านโนต้ เพลงไทย อา่ นคำช้ีแจง ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ไมผ่ ่าน ศึกษาชุดกิจกรรมและทำกจิ กรรม ระหว่างเรยี น ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
2 89 คำชี้แจง ชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมทักษะการอา่ นโนต้ เพลงไทย เปน็ ชดุ กจิ กรรมการ เรียนรูท้ ่ีใช้ประกอบการเรียนการสอนให้นักเรียนอ่านคำชี้แจงและปฏบิ ัติแต่ละข้ันตอนตั้งแต่ ต้นจนจบ นักเรียนจะได้รับความรู้อย่างครบถ้วนและได้พัฒนาการเรียนรู้ โดยปฏิบัติตาม ขนั้ ตอนดงั นี้ 1. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพื่อวัดความร้พู ืน้ ฐานของตนเองเกย่ี วกับเร่อื งทจี่ ะศกึ ษา 2. ทำกิจกรรมในแต่ละเรื่อง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งข้ึน ไม่ควรเปิดดูเฉลยก่อนวตอบถ้าไม่เข้าใจสามารถขอคำปรึกษาและคำแนะนำจากครูผู้สอน หรอื กลบั ไปศึกษาเนือ้ หาใหม่อีกครั้ง 3. ทำทดสอบหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ แนวคำตอบกิจกรรม 4. สรุปผผลคะแนนที่ได้ลงในกระดาษคำตอบเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า ของผลการเรียนและระดบั คณุ ภาพ 5. การศกึ ษาชดุ กจิ กรรมจะไม่สำเรจ็ ถา้ หากนักเรียนขาดความรอบครอบ ความร่วมมือ และความซ่ือสัตย์ ดเู ฉลยกอ่ นคิดคำตอบด้วยตนเอง
3 90 แบบทดสอบก่อนเรยี น (ชวั่ โมงท่ี 1) เร่อื ง การอ่านโนต้ เพลงไทย คําชี้แจง ใหน้ กั เรียนทําเคร่อื งหมาย X ทบั ตัวอักษรหนา้ คาํ ตอบท่ีถูกต้องทีส่ ุดวิชา 1. ระดับเสียงดนตรีไทยมีท้ังหมดกเ่ี สียง 6. - ดดด เปน็ สัญลักษณก์ ารบันทกึ โนต้ แบบใด จ. 4 เสียง จ. โน้ตแบบ 4 ตวั ตอ่ 1 ห้อง ฉ. 5 เสยี ง ฉ. โน้ตแบบ 3 ตัว ตอ่ 1 ห้อง ช. 6 เสียง ช. โนต้ แบบ 1 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ซ. 7 เสยี ง ซ. โนต้ แบบ 1 ตวั ตอ่ 2 หอ้ ง 2. ด เปน็ สญั ลกั ษณใ์ ชแ้ ทนเสยี งโนต้ ตวั ใด 7. - ด- ด เป็นสัญลกั ษณก์ ารบนั ทึกโนต้ แบบใด จ. โด จ. โนต้ แบบ 2 ตวั ต่อ 1 ห้อง (ตัวท่ี 2 และตวั ท่ี 4 ฉ. เร ฉ. โน้ตแบบ 2 ตวั ต่อ 1 ห้อง (ตัวที่ 3 และตัวที่ 4) ช. มี ก. โน้ตแบบ 2 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง เป็นแบบจงั หวะยก ซ. ฟา (ตัวที่ 1 และตัวที่ 2) 3. - - - มคี ่าความยาวของเสยี งเทา่ กับกีจ่ ังหวะ ช. โนต้ แบบ 1 ตวั ตอ่ 2 ห้อง จ. 3/4 จงั หวะ 8. - - - ด เปน็ สัญลกั ษณ์การบันทึกโนต้ แบบใด ฉ. 2/4 จังหวะ จ. โนต้ แบบ 2 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง (ตัวที่ 2 และตัวที่ 4 ช. 1/4 จงั หวะ ฉ. โนต้ แบบ 2 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง (ตัวที่ 3 และตวั ท่ี 4) ซ. 4/4 จังหวะ ช. โน้ตแบบ 1 ตวั ตอ่ 1 หอ้ ง 4. - มคี า่ ความยาวของเสยี งเทา่ กับก่ีจงั หวะ ซ. โนต้ แบบ 1 ตัว ต่อ 2 ห้อง จ. 3/4 จังหวะ 9. เครื่องหมาย – เป็นสญั ลกั ษณใ์ ช้แทนโนต้ กี่ตัว ฉ. 2/4 จังหวะ จ. 1 ตวั ช. 1/4 จังหวะ ฉ. 2 ตวั ซ. 4/4 จังหวะ ช. 3 ตวั 5. ดดดด เปน็ สัญลักษณก์ ารบนั ทึกโน้ตแบบใด ซ. 4 ตวั จ. ดโนต้ แบบ 4 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง 10. l เปน็ สญั ลกั ษณ์ใช้แทนสง่ิ ใด ฉ. โนต้ แบบ 3 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง จ. หอ้ ง ช. โนต้ แบบ 1 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง ฉ. กลอ่ ง ซ. โนต้ แบบ 1 ตวั ต่อ 2 หอ้ ง ช. ชอ่ ง ซ. ถกู ทุกข้อ
4 91 กระดาษคาํ ตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชื่อ – สกลุ ...................................................................เลขท่.ี ........ ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน เกณฑ์การประเมนิ ได้คะแนน 8 - 10 คะแนน แสดงว่าอยู่ในระดับ ดี ไดค้ ะแนน 4 – 6 คะแนน แสดงว่าอยู่ในระดับ พอใช้ ไดค้ ะแนน 0 - 3 คะแนน แสดงวา่ อยใู่ นระดบั ปรบั ปรงุ สรุปผลการทาํ แบบทดสอบ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
4 92 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (ชัว่ โมงท่ี 1) เรอื่ ง การอ่านโน้ตเพลงไทย คาํ ชแี้ จง ใหน้ ักเรียนทาํ เครอื่ งหมาย X ทับตัวอกั ษรหน้าคําตอบที่ถกู ต้องทสี่ ุดวิชา 1. ระดบั เสยี งดนตรีไทยมีทง้ั หมดกีเ่ สยี ง 6. - ดดด เปน็ สัญลกั ษณ์การบนั ทกึ โนต้ แบบใด ก. 4 เสยี ง ก. โน้ตแบบ 4 ตัว ต่อ 1 หอ้ ง ข. 5 เสียง ข. โนต้ แบบ 3 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ค. 6 เสยี ง ค. โน้ตแบบ 1 ตัว ตอ่ 1 ห้อง ง. 7 เสยี ง ง. โน้ตแบบ 1 ตวั ตอ่ 2 หอ้ ง 2. ด เปน็ สัญลักษณ์ใชแ้ ทนเสียงโนต้ ตัวใด 7. - ด- ด เป็นสัญลกั ษณก์ ารบันทึกโนต้ แบบใด ก. โด ก. โนต้ แบบ 2 ตวั ตอ่ 1 ห้อง (ตัวที่ 2 และตวั ท่ี 4) ข. เร ข. โน้ตแบบ 2 ตัว ตอ่ 1 ห้อง (ตัวที่ 3 และตวั ท่ี 4) ค. มี ค. โน้ตแบบ 2 ตวั ตอ่ 1 ห้อง เป็นแบบจังหวะยก ง. ฟา (ตวั ท่ี 1 และตวั ที่ 2) 3. - - - มีค่าความยาวของเสยี งเทา่ กบั กี่จงั หวะ ง. โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 หอ้ ง ก. 3/4 จังหวะ 8. - - - ด เปน็ สัญลกั ษณ์การบนั ทึกโน้ตแบบใด ข. 2/4 จงั หวะ ก. โนต้ แบบ 2 ตวั ตอ่ 1 หอ้ ง (ตัวที่ 2 และตวั ที่ 4 ค. 1/4 จงั หวะ ข. โนต้ แบบ 2 ตวั ตอ่ 1 หอ้ ง (ตัวท่ี 3 และตัวท่ี 4) ง. 4/4 จงั หวะ ค. โน้ตแบบ 1 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง 4. - มคี ่าความยาวของเสยี งเท่ากบั กีจ่ ังหวะ ง. โน้ตแบบ 1 ตวั ตอ่ 2 ห้อง ก. 3/4 จงั หวะ 9. เคร่ืองหมาย – เป็นสญั ลกั ษณใ์ ช้แทนโนต้ กี่ตัว ข. 2/4 จงั หวะ ก. 1 ตวั ค. 1/4 จงั หวะ ข. 2 ตัว ง. 4/4 จงั หวะ ค. 3 ตวั 5. ดดดด เป็นสญั ลักษณ์การบนั ทกึ โนต้ แบบใด ง. 4 ตัว ก. ดโน้ตแบบ 4 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง 10. l เปน็ สญั ลักษณใ์ ชแ้ ทนส่ิงใด ข. โนต้ แบบ 3 ตวั ตอ่ 1 ห้อง ก. ห้อง ค. โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 1 ห้อง ข. กล่อง ง. โนต้ แบบ 1 ตวั ตอ่ 2 ห้อง ค. ช่อง ง. ถูกทุกข้อ
5 93 ใบความรู้ที่ 1 (ช่ัวโมงที่ 2) เรอ่ื ง หลกั การอ่านโน้ตไทยเบือ้ งต้น หลกั การอ่านโน้ตไทยตามหลัก ของ พนั โทพระอภัยพลรบ (พลอย เพญ็ กลุ พ.ศ.2403 - 2459) ซึ่งเป็นผู้แต่งตำราดนตรีวิทยาเมื่อ พ.ศ.2450 และอธิบายหลักการบันทึกโน้ตแบบตัวอักษรขึ้นจนได้รับ ความนิยมเปน็ อย่างมาก การบันทึกโนต้ แบบตัวอักษรน้เี ป็นการใชต้ วั อักษรไทยมาเปรยี บเทียบให้ตรงกับ เสยี งของโน้ตสากลดังน้ี ด = โด ร = เร ม = มี ฟ = ฟา ซ = ซอล ล = ลา ท = ที ในกรณีที่แป็นโน้ตเสียงสูงจะใช้ประจุดไว้บนตัวโน้ต เช่น ดํ = โด สูง เป็นต้นวิธีการนี้ช่วยให้ เข้าใจง่าย สำหรับวิธีการบันทึกโนต้ ไทยนัน้ จะบันทึกลงในตาราง โดยแบ่งออกเป็นบรรทัด บรรทัดละ 8 ช่องเรียกวา่ “หอ้ ง” ในแตล่ ะห้องจะบรรจุโนต้ ไว้ 4 ตวั ถา้ เป็นอตั ราปานกลางหรือจงั หวะสองชั้น โนต้ ตวั สุดท้ายของแตล่ ะหอ้ งจะเปน็ โน้ตเสียงตกจังหวะซึ่งในทน่ี ี้จะอธบิ ายเฉพาะการอ่านโน้ตแบบอัตราสองชั้น เป็นหลัก อัตราสองชน้ั - - - ฉงิ่ - - - ฉบั - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - - ฉิง่ - - - ฉบั - - - ฉ่ิง - - - ฉบั 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 นอกจากตัวโน้ตท่บี นั ทึกลงในตารางแล้ว ยังมีเครือ่ งหมาย – ซึ่งใชแ้ ทนตัวโนต้ ดว้ ยขีด 1 ขดี (- ) ใช้แทนโน้ต 1 ตัว แสดงการเพิ่มเสียงตัวโน้ตที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมาย ให้มีเสียงยาวขึ้น ทั้งนี้ ความยาวของเสยี งจะมีมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับจำนวนขดี (-) ดงั นี้ ถา้ มี - มีค่าความยาวของเสียงเท่ากับ 1/4 จงั หวะ ถ้ามี - - มคี ่าความยาวของเสยี งเทา่ กบั 2/4 จังหวะ ถ้ามี - - - มคี ่าความยาวของเสยี งเท่ากับ 3/4 จงั หวะ ถา้ มี - - - - มคี า่ ความยาวของเสยี งเทา่ กบั 4/4 จังหวะ หรือ เท่ากบั 1 จงั หวะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123