Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทดสอบแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแยังในสังคมโลก

ทดสอบแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแยังในสังคมโลก

Published by thapanawat, 2021-12-25 03:15:13

Description: แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแยังในสังคมโลก

Keywords: ขัดแย้ง,แก้ปัญหา

Search

Read the Text Version

แนวทางการแก้ไข ปัญหาความขัดแยัง ในสั งคมโลก

๑. ความหมายและสาเหตุความขัดแยังในสังคมโลก ๑.๑ ความหมาย ความขัดแย้ง (Conflict) หมายถึง การที่แต่ละฝ่ายไปด้วยกันไม่ ได้ในเรื่องเกี่ยวกับความต้องการ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการจริง หรือศักยภาพที่เกิดตามต้องการ

๑.๒ สาเหตุ ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ความเชื่อ ศาสนา ค่านิยม ทัศนคติ ทางการเมือง วัฒนธรรม การรับข้อมุลข่าวสาร ฐานะทางเศรษฐกิจ การแย่งชิงทรัพยากร ซึ่งเกิดในระดับประเทศและระดับนานาชาติ

๒. ตัวอย่างปัญหาความขัดแย้งในสังคม โลก ความขัดแย้งระดับท้องถิ่น สาเหตุมาจาก 1. สาเหตุด้านวัฒนธรรม ยุคโลกาภิวัฒน์ กระแสวัฒนธรรม การอยู่รวมกันแต่มีการกระทำ แสดงถึงการต่อต้านวัฒนธรรมอื่น เช่นกระแสวัฒนธรรมเกาหลี การต่อต้านจากประเทศที่กลัวจะกระทบกับวัฒนธรรมของตนเอง

๒.๑ ความขัดแย้งระดับท้องถิ่น สาเหตุมาจาก 2. สาเหตุจากการพัฒนาประเทศ ผลจากการเติบโตของบ้านเมือง ความขัดแยังของคนสังคมเมือง และสังควมชนบท ช่องว่างคนจนกับคนรวย แนวทางการแก้ไข ทำประชาพิจารณ์หาข้อสรุปในปัญหา ผลกระทบ

๒.๒ ความขัดแยังระดับประเทศ ความขัดแย้งเป็นปัญหาใหญ่ ส่งผลต่อความมั่นคงของคนในชาติ เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ความแตกต่างทางศาสนา เชื้อชาติ บาง ครั้งก็นำไปสู่ความขัดแย้งระดับประเทศได้

กรณีความขัดแย้ง ความขัดแย้งในอินเดีย สาเหตุหลักเกิดจากความแตกต่างทางศาสนาและเชื้อชาติของประชากร ความรู้สึกว่าชาวฮินดูมีจำนวนมาก มีบทบาททางการเมืองมากกว่า ฐานะความเป็นอยู่ความไม่เท่าเทียมของประชากรในสังคม รอมชอมกันได้ในระดับหนึ่งแต่อาจเกิดความยัดแย้งขึ้นมาอีกก็ได้

กรณีความขัดแย้ง ความขัดแย้งในศรีลังกา สาเหตุหลักเกิดจากความแตกต่างทางศาสนาและเชื้อชาติของประชากร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสิงหล ส่วนน้อยเป็นชาวทมิฬ ชาวสิงหลเป็นชนชั้นปกครอง ออกกฏหมายหลายอย่าง ริดรอนสิทธิเสรีภาพชาวทมิฬ กลุ่มที่รวมตัวต่อต้านรัฐบาล คือ กลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลม

๒.๓ ความขัดแยังระดับนานาชาติ เป็นความขัดแย้งคู่กรณีหลายประเทศส่งผลกระทบต่อนานาชาติ มี ทั้งความขัดแย้งทางการเมือง ความขัดแย้งปัญหาพรมแดน การ แข่งขันเป็นผู้นำด้านต่างๆ ปัญหาการสะสมอาวุธนิวเคลียร์ และ ปัญหาสิ่งแวดล้อม

กรณีความขัดแย้ง ๑. ปัญหาความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง ตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ ที่มาจากปัญหาใน ประวัติศาสตร์ ปัญหาพรมแดน เชื้อชาติยิวหรืออิสราเอลกับชาว อาหรับ สงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ ชาวยิวถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ค.ศ. ๑๙๖๔ มีการก่อตั้งองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ ปัญหาปาเลสไตน์ชาวมุสลิมถือว่าเป็นปัญหาของคนทั่วโลก การแก้ปัญหาใช้วิธีการเจรจาเป็นแนวทางแก้ปัญหาความขัดแย้งดีที่สุด

กรณีความขัดแย้ง ๑. ปัญหาความขัดแย้งการแย่งชิงน้ำมัน แหล่งน้ำมันมีความสำคัญที่สุดของโลก คือ ภูมิภาคตะวันออกกลาง สหรัฐเป็นประเทศที่ใช้นำมันสูงที่สุด ความต้องการควบคุมแหล่งน้ำมัน ทำให้สหรัฐเข้าไปตั้งฐานทัพในซาอุดิอาระเบีย ก่อให้เกิดสงครามอิรัก การที่หลายประเทศมีโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ก็จะมีกระแสคัดค้านจาก นักสิ่งแวดล้อมและองค์กรเอกชน การพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ การสะสมอาวุธนิวเคลียร์ การแก้ปัญหาใช้วิธีการเจรจาผ่านองค์การสหประชาชาติเพื่อลดการ ครองครอง แต่ก็ยังไม่ประสบผลสำเร็จ

๓. แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างยั่งยืน การรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างเพื่อทำความเข้าใจระหว่างกัน เรียนรู้และเคารพวัฒนธรรมที่แตกต่างเพื่อปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เสวนาเจรจาเพื่อหาทางแก้ปัญหาร่วมกัน ทำสนธิสัญญาเพื่อเป็นข้อตกลงกัน ออกกฏหมายเพื่อแก้ปัญหา จัดกิจกรรมกลุ่มที่แตกต่างทางวัฒนธรรม

สรุป แนวทางการแก้ปัญหาที่ยั่งยืนที่สุดไม่ใช่การใช้กำลังอาวุธ แม้คู่กรณี ที่ขัดแย้งกันอาจมีฝ่ายหนึ่งที่มีกำลังอาวุธเหนือกว่า เพราะการแก้ ปัญหาด้วยความรุ่นแรง ไม่ใช่การแก้ปัญหาอย่างแท้จริง และไม่ใช่ การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน แต่กลับยิ่งบ่มเพาะความรู้สึกขัดแย้ง เกลียดชัง และอคติระหว่างกัน การแก้ปัญหาอย่างสันติทั้งการ เจรจา การทำข้อตกลง และการปฏบัติตามข้อตกลงจึงเป็นแนวทาง แก้ปัญหาที่ดีที่สุดที่จะทำให้ความขัดแย้งกันยุติลง

ขอบคุณ!


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook