Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัย 12564

บทความวิจัย 12564

Published by dheerayut, 2021-09-25 07:53:41

Description: บทความวิจัย 12564

Search

Read the Text Version

1

2 การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เมื่อไดร้ บั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชช้ ุดกิจกรรมแบบ Active learning วิชาฟิสกิ ส์ เรอ่ื งแรงและการเคลือ่ นที่ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 บนพ้ืนฐานการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) ครธู รี ยทุ ธ ขันธรุ า โรงเรยี นนาวงั วิทยา อำเภอเมือง จงั หวัดอำนาจเจรญิ ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา จากผลการทดสอบก่อนเรียน ในรายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่านักเรียนมี ความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหาค่อนข้างน้อย ผู้วิจัยในฐานครูผู้สอนจึงสนใจแก้ปัญหา ดังกล่าว โดยศึกษาผลการสะท้อนคิดจาก ผู้เรียน พบว่า ปัจจัยหนึ่งท่ีนกั เรียนสะท้อนผล หลังเรียน คือ ครูสอนแบบบรรยายมากเกินไป ไม่ได้ลงมือทำกิจกรรมจริง ผู้เรียนไม่เข้าใจใน หลกั การและทฤษฎขี ้ันพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์ ควรเน้นให้นักเรียนมีแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ได้สืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง โดยเฉพาะ ช่วงเวลาที่ครูผู้สอนติดงานราชการอย่างอื่น เพ่อื หาแนวทางในการแก้ปญั หาดังกลา่ ว ผ้วู ิจัย จึงเข้าร่วมโครงการ “การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการเรียนรู้) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ของโรงเรียนนาวังวิทยาได้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งจัดตั้งกลุ่มประชุมปฏิบัติการขับเคลื่อน กระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการเรียนรู้) ชื่อกลุ่ม PLC for Science เพื่อร่วมกันค้นหาปัญหาในการจัด กระบวนการเรียนรู้ อันนำไปสู่การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและ ผลสัมฤทธิ์นักเรียนในโรงเรียนนาวังวิทยา จากการศึกษาค้นคว้า Active Learning คือ กระบวนการที่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมดำเนินการในกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อการสร้างความเข้าใจท่ีลึกซ้ึงด้วยการเช่ือมโยง ผู้เรยี นกบั เน้ือหาในองค์ความรู้ทัง้ ทเ่ี ป็นข้อเทจ็ จริง แนวความคดิ และทกั ษะผ่านกจิ กรรมทผ่ี ู้เรยี นได้ปฏิบัติหรือ ลงมือทำชิ้นงาน และใช้กระบวนการคิด ค้นคว้า แสวงหาความรู้ ไตร่ตรอง สะท้อนความคิด การอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับ สิ่งที่ผู้เรียนได้ลงมือทำ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน เป็น รูปแบบหนึ่งของการสืบเสาะหาความรู้ คือ การสร้างความสนใจ (Engagement) การสำรวจและค้นหา (Exploration) การอธิบาย (Explanation) การขยายความรู้ (Elaboration) และการประเมินผล (Evaluation)

3 ซ่ึงทั้ง 5 ขน้ั ตอนเปน็ กระบวนการเรียนรู้ท่ีครจู ะต้องส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคดิ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ให้โอกาส นักเรียนได้ใช้ความคิดของตนเองได้มากที่สุด ทั้งนี้กิจกรรมที่จะให้นักเรียนสำรวจตรวจสอบ จะต้องเชื่อมโยง กับความคิดเดิมและนำไปสู่การแสวงหาความรู้ใหม่ และได้ใช้กระบวนการและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550) จึงได้ข้อสรุปจากกระบวนการกลุ่มคือ การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพัฒนาการการคิดเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมแบบ Active learning วิชาฟิสิกส์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนท่ี ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 บนพนื้ ฐานการเรียนร้แู บบสืบเสาะ (5E) วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา 1. เพอื่ สรา้ งและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active learning วิชาฟสิ กิ ส์ เร่ือง แรง และการเคลอ่ื นที่ ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 บนพื้นฐานการเรียนรแู้ บบสืบเสาะ (5E) ตามเกณฑ์ 75/75 2. เพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วชิ าฟสิ กิ ส์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ที่ได้รับการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active learning บนพื้นฐานการ เรยี นรแู้ บบสืบเสาะ (5E) 3. เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการจดั กิจกรรมการเรียนได้รับการจดั การเรียนร้โู ดยใช้ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active learning วชิ าฟสิ กิ ส์ เรื่อง แรงและการเคล่อื นที่ บนพน้ื ฐานการเรียนรู้ แบบสืบเสาะ (5E) วิธีดำเนินการศกึ ษาคน้ คว้า จากการศึกษา เรื่อง การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และพัฒนาการ การคิดเชิงเหตุผล ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อได้รับการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ชดุ กิจกรรมแบบ Active learning วิชาฟสิ ิกส์ ของนักเรยี น ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 บนพน้ื ฐานการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะ (5E) ผู้วิจยั ดำเนินการตามลำดับดงั น้ี 1. กลุม่ เปา้ หมายท่ใี ชในการวิจัยครง้ั นี้ คอื นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาป ที่ 4 โรงเรยี น นาวังวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 52 คน แบง่ เปน็ นกั เรียน 2 หอ้ งดงั นี้ 1.1 นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาป ท่ี 4/1 จํานวน 26 คน 1.2 นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาป ที่ 4/2 จํานวน 26 คน 2. เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการศึกษามี 2 ประเภท ดงั น้ี 2.1 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active learning วชิ าฟสิ ิกส์ บนพ้ืนฐานการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะ (5E) นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 6 แผน ใช้เวลาในการจดั การเรยี นรู้ 12 ช่ัวโมง และชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active learning วชิ า ฟสิ กิ ส์ บนพื้นฐานการเรยี นรู้แบบสบื เสาะ (5E) มีองค์ประกอบของชดุ กิจกรรมการเรยี นร้แู บบ Active learning ประกอบดว้ ย คูม่ ือสำหรับครู แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ใบกิจกรรม ใบความรู้ แบบฝึกหดั ใบเฉลยกจิ กรรม เฉลยแบบฝึกหดั 2.2 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่

4 2.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน วชิ าฟสิ กิ ส์ ทส่ี ร้างข้ึนเองโดย ผู้ศกึ ษา เปน็ แบบปรนยั 4 ตัวเลอื ก จำนวน 30 ขอ้ 2.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ตี ่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning วิชาฟิสิกส์ บนพ้นื ฐานการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะ (5E) มลี กั ษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตรสว่ น ประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั โดยสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นทมี่ ตี ่อการใช้ชดุ กิจกรรมการ เรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้(5E) จำนวน 1 ฉบับ วิธดี ำเนินการเก็บข้อมลู การศึกษาในคร้งั น้เี ป็นการศกึ ษากงึ่ ทดลอง (Pre – experimental design) แบบกลุ่มเดียวที่มกี าร ทดสอบก่อนและหลงั การทดลอง (One – Group Pretest Posttest Design) ผ้ศู กึ ษาดำเนนิ การศึกษาและ รวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 กับกลุ่มตวั อย่าง โดยมวี ธิ ีการรวบรวมข้อมูลดงั นี้ 1. นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์ 5 จำนวน 30 ข้อ ทผ่ี ้ศู ึกษา สรา้ งข้นึ ไปทดสอบกอ่ นเรียนกอ่ นการจัด การเรียนรู้ 1 สัปดาห์ 2. ดำเนินการจดั การเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active learning วชิ าฟิสกิ ส์ บนพ้นื ฐานการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะ (5E) ที่ผศู้ ึกษาไดส้ รา้ งข้นึ เองประกอบการ จัดการเรียนรู้ จำนวน 6 แผน เวลา 6 คร้ัง ครั้งละ 2 คาบ (100 นาท)ี 3. เม่อื จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ครบเนอื้ หา นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วชิ าฟสิ ิกส์ ไปทดสอบหลงั เรยี น 5. วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ทเ่ี รียนดว้ ย ชุดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Active learning วชิ าฟสิ กิ ส์ บนพน้ื ฐานการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) ระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การทดสอบค่าที (t-test แบบ Dependent Samples) 7. นำแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีตอ่ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active learning วิชาฟิสกิ ส์ บนพ้ืนฐานการเรียนรแู้ บบสืบเสาะ (5E) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เพื่อให้นกั เรียนตอบ หลงั การดำเนนิ กจิ กรรมการทดลองในครั้งน้ี แลว้ นำผลท่ไี ด้ไปวิเคราะห์ข้อมูลตอ่ ไป ผลการศึกษา การจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ชดุ กจิ กรรมแบบ Active learning วิชาฟิสิกส์ เรือ่ ง แรงและการเคล่อื นที่ ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 บนพ้นื ฐานการเรียนรแู้ บบสบื เสาะ (5E) พบว่า มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ มาตรฐานมาตรฐานที่ต้ังไว้ (E1/E2 = 75/75) ทง้ั 6 เล่ม โดยมี คา่ เฉล่ยี ประสิทธิภาพของชุดการเรยี นรู้ ราย เล่ม (E1/E2) เทา่ กับ 76.81/76.25 มีประสิทธิภาพโดยรวม เทา่ กับ 76.25/77.22 มปี ระสิทธภิ าพสงู กว่าเกณฑ์ 75/75 ที่ตง้ั ไว้ มีคา่ ดัชนีประสิทธิผล เทา่ กบั 0.6470 แสดงถงึ วา่ นกั เรียนมีความก้าวหนา้ ทางการเรยี นรู้คดิ เป็นรอ้ ยละ 64.70 นบั ไดว้ า่ การสืบเสาะหาความรู้ เป็นรปู แบบการเรียนการสอนท่ีใชต้ าม ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism) จงึ จะสามารถสร้างเปน็ องค์ความรู้ของนักเรยี นเอง และเกบ็ เปน็ ขอ้ มูลไว้ในสมองได้อยา่ งยาวนาน สามารถนำมาใชไ้ ดเ้ มื่อมีสถานการณ์ใดๆ มาเผชญิ หน้ากระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน คือ การสรา้ งความสนใจ (Engagement) การสำรวจและค้นหา (Exploration) การ

5 อธิบาย (Explanation) การขยายความรู้ (Elaboration) และการประเมินผล (Evaluation) ซึง่ ทง้ั 5 ขัน้ ตอน การใช้ชดุ กจิ กรรมแบบ Active learning วิชาฟิสิกส์ เรือ่ ง แรงและการเคล่อื นที่ ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 4 บนพืน้ ฐานการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะ (5E) นอกจากจะใช้สอนได้ตรงตามเน้ือหาวิชา และจุดประสงค์ของ หลักสตู รแลว้ ยังจะสามารถชว่ ยพฒั นาความรู้ความสามารถของผ้เู รียนทำใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งรวดเรว็ และยงั ชว่ ยแกป้ ัญหาในการเรียนการสอนอนั เนอื่ งมาจากครูและความสามารถของนักเรยี นแต่ละคน และยงั ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั สำหรบั แบบฝกึ การเรยี นรทู้ ผี่ ศู้ ึกษาสรา้ งข้นึ เป็นการนำหลักการของการสร้างชุดการสอน หรือแบบฝึกมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยนำการเรียน แบบร่วมมือ กระบวนการเรยี นร่วมกัน เป็นแนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพื่อให้นกั เรยี นเรยี นรูอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมดำเนินการในกิจกรรมการ เรียนรู้เพ่ือการสรา้ งความเขา้ ใจทล่ี ึกซ้งึ ด้วยการเชอื่ มโยงผู้เรยี นกบั เนื้อหาทัง้ รูปแบบและเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการสอน และกจิ กรรมกระตุ้นให้ ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น ส่งเสรมิ ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างผเู้ รียนกับผเู้ รยี นและผู้เรียนกบั ผสู้ อน ใหผ้ ู้เรยี นเกิดความสนใจ เกดิ แรงจงู ใจ เปน็ การเรียนทีเ่ น้นให้ผเู้ รียนได้ ปฏบิ ตั ไิ ดม้ โี อกาสลงมือกระทำ มากกว่าการฟังเพยี งอย่างเดียวสรา้ งองค์ความรจู้ ากส่ิงทป่ี ฏิบตั ิได้ในระหว่างการเรียน ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการ เรยี นหรือดำเนินกิจกรรมตา่ งๆ ในการเรยี นใหเ้ กิดการเรียนร้อู ย่างมีความหมาย เน้อื หาเรื่องแรงและ การเคลือ่ นทีเ่ ปน็ เนื้อหาเชงิ ฟิสกิ ส์ มีการคำนวณ ซ่ึงเปน็ เน้ือหาที่นกั เรยี นมีปัญหาเร่ืองการทำความเขา้ ใจ ประกอบกบั บริบทโรงเรียนดอนจานวิทยาคมซึ่งตงั้ อยูใ่ นพื้นติดกับอำเภอเมือง จึงไดร้ บั นกั เรยี นทคี่ ่อนขา้ งขาด แคลน และรับนักเรยี นแบบไม่มกี ารสอบคดั เลือก ผู้วจิ ยั จึงมีเป้าหมายชดั เจนคือการพฒั นานักเรยี นให้เรยี นรไู้ ด้ อยา่ งเต็มความสามารถ ซ่งึ การวิจัยครงั้ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความกา้ วหน้าของผเู้ รียนไดอ้ ย่างชดั เจน นกั เรียนมี คะแนนเฉล่ียจากการทดสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั การจัดการเรียนรู้ สูงกว่าก่อนการจัดการเรยี นรู้ อยา่ ง มีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 นอกจากนผ้ี ลจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้ชดุ กิจกรรมแบบ Active learning วชิ าฟสิ ิกส์ เรอ่ื ง แรงและการเคลื่อนที่ ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 บนพ้ืนฐานการเรียนร้แู บบ สืบเสาะ (5E) พบว่า โดยรวมนักเรียนมคี วามพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด ดังนนั้ แบบฝกึ การเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) เร่ืองแรงและการเคล่อื นที่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 มีประโยชน์ตอ่ การเรยี น ตามลำดบั บรรณานกุ รรม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). รูปแบบการเรยี นการสอนท่พี ฒั นา กระบวนการคิดระดับสูง วิชาชีววิทยา ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย. สบื ค้นจาก http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/mag-content10.html ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 2551. กรุงเทพฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook