Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice

Best Practice

Published by bota_fon08, 2019-06-12 08:17:19

Description: Best Practice

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามท่ี สานักงาน กศน. โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ได้จัดอบรมพัฒนาวิธีการเขียนแนวปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) ในการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยคัดเลือกผลการปฏิบัติที่ดีจากรายงานสรุปผล การนิเทศ ปีงบประมาณ 2561 มาดาเนินการถอดบทเรียนและพัฒนาทักษะวิธีการเขียนแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) แกผ่ เู้ กย่ี วขอ้ งซงึ่ ประกอบดว้ ย ศกึ ษานิเทศก์สานักงาน กศน.จังหวัด ผู้อานวยการสถานศึกษา และครู กศน. เจา้ ของผลการปฏิบตั ทิ ่ดี ี ระหว่างวนั ท่ี 13 – 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ณ หอ้ งประชมุ บรรจง ชูสกุลชาติ ชั้น 6 สานักงาน กศน. ซ่ึงจากการดาเนินการครั้งน้ี หน่วยศึกษานิเทศก์ ได้รวบรวมการถอดบทเรียน ความสาเร็จดีเด่นของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. จานวน 14 เร่ือง เพ่ือใช้เป็นตัวอย่างในเชิง ประจักษ์ของสถานศึกษาท่ีมีความสาเร็จดีเด่น (Best Practice) ตามนโยบายจุดเน้นของสานักงาน กศน. ได้อยา่ งชัดเจน และมปี ระสิทธิภาพ หน่วยศึกษานิเทศก์ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสาร “การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่น (Best Practice) ประจาปี 2561” จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน ตลอดจนเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างแรงจูงใจ อันจะเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผูร้ บั บรกิ ารตอ่ ไป หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.

สำรบญั เรือ่ งท่ี 1 การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน : การถอดบทเรยี นความสาเร็จดเี ดน่ นวตั กรรมการใช้แถบสเี ทยี บอกั ษร เพื่อพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตาบลสบเมย อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2 โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน : การถอดบทเรียนความสาเรจ็ ดีเด่นโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ จงั หวัดขอนแก่น 3 การศกึ ษาตอ่ เนื่อง : การถอดบทเรยี นความสาเร็จดีเด่นโครงการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สู่การพฒั นา คุณภาพชวี ิตผสู้ งู อายุอยา่ งยง่ั ยืน กศน.ตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา 4 หอ้ งสมดุ ประชาชน : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเด่นการศึกษาตามอัธยาศัย (กรณีศกึ ษา หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จังหวัดขอนแกน่ สงั กัด กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จงั หวดั ขอนแกน่ 5 หอ้ งสมดุ เคลื่อนทสี่ าหรับชาวตลาด : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเดน่ ห้องสมดุ เคลอื่ นท่ี สาหรบั ชาวตลาดนา้ วดั ใหม่นาบญุ กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ จงั หวัดปราจนี บรุ ี 6 ศูนยเ์ รยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล : การถอด บทเรยี นความสาเร็จดีเดน่ โครงการศนู ย์เรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา ตาบลทุ่งทา่ ช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวดั ลพบรุ ี 7 การขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานโครงการอบรมประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยและบุญคุณของ พระมหากษัตรยิ ์ไทย : การถอดบทเรยี นความสาเร็จดเี ดน่ การขบั เคลื่อนการดาเนินงานโครงการอบรม ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยและบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย โดยใชร้ ะบบ E-Learning SKNFE MOOC (Massive Open Online Course) กศน.อาเภอระโนด จงั หวดั สงขลา 8 โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชพี : การถอดบทเรยี นทีป่ ระสบความสาเรจ็ ดเี ดน่ โครงการภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารดา้ นอาชีพ กศน.อาเภอเมืองตรัง จังหวัดตรงั 9 การขบั เคล่อื นการดาเนินงานตามโครงการไทยนยิ ม ยั่งยนื : การถอดบทเรียนความสาเร็จ ดเี ด่นโครงการสรา้ งชมุ ชน (สารสนเทศ) ต้นแบบดเี ดน่ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ชมุ ชนบา้ นหนิ เทนิ ตาบลแสงอรณุ จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ 10 กศน.ตำบล 4 G : การถอดบทเรยี นความสาเร็จของ กศน.ตาบล ๔G ดีเดน่ กศน.อาเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง 11 การจดั การเรียนรู้ดา้ นเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) : การถอด บทเรยี นความสาเรจ็ ดเี ดน่ กจิ กรรมการใช้ SMART PLUG ในการบริหารจดั การน้าและอุปกรณไ์ ฟฟา้ อ่ืน ๆ ผา่ น SMART PHONE กศน.อาเภอเมืองปราจนี บุรี จังหวัดปราจนี บุรี 12 บ้านหนงั สือชมุ ชน : การถอดบทเรียนความสาเรจ็ ดีเดน่ โครงการ “บ้านหนังสอื ชุมชนบา้ น ควนชะลกิ ” กศน.ตาบลควนชะลิก อาเภอหัวไทร จงั หวดั นครศรธี รรมราช

13 โครงการสร้างเครอื ข่ายดิจทิ ลั ชุมชนระดับตาบล : การถอดบทเรียนความสาเร็จดีเดน่ โครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ิทลั ชุมชนระดบั ตาบล กศน.ตาบลหนองตะพาน อาเภอบา้ นคา่ ย จงั หวดั ระยอง 14 ศูนยส์ ่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยตาบล : การถอดบทเรยี นความสาเร็จดีเด่นโครงการศูนย์ สง่ เสริมประชาธิปไตยตาบล กศน.อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม

การถอดบทเรยี นความสาเรจ็ ดีเด่น นวตั กรรมการใชแ้ ถบสเี ทียบอักษรเพ่อื พัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาองั กฤษ สาหรบั นักศกึ ษา กศน. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (กรณีศึกษา : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตาบลสบเมย (กศน.ตาบลสบเมย) อาเภอสบเมย จงั หวดั แม่ฮ่องสอน) ความเป็นมาของโครงการ ปัจจุบันการติดต่อส่ือสารพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาษาอังกฤษนับว่าเป็นอีกหนึ่งภาษาหลักท่ีมี บทบาทสาคัญในฐานะภาษาสากลที่คนนิยมใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารและศึกษาค้นคว้าความรู้ วิทยาการสมัยใหม่ต่าง ๆ อีกท้ังยังใช้เป็นหนทางในการประกอบอาชีพได้อีกด้วย ดังน้ันผู้ที่มีความรู้ทักษะ ทางภาษาองั กฤษย่อมไดเ้ ปรยี บผูอ้ ่นื ในการติดต่อส่อื สาร หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ภาษาต่างประเทศ เป็นรายวชิ าท่ีสถานศึกษาต้องจัดให้กับผู้เรียน ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 กศน.ตาบลสบเมย สังกัด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสบเมย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดให้ นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะในสื่อสารและพัฒนา ตนเองเพื่อเตรียมพร้อมไปสู่ประชาคมอาเซียน การเรียนภาษาอังกฤษนั้นมุ่งให้นักศึกษาได้ใช้ทักษะท้ัง 4 ด้าน คอื การฟงั การพูด การอ่าน และการเขียน มผี ูล้ งทะเบียนเรยี นระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 25 คน จากการทดสอบก่อนเรียน พบว่า มีนักศึกษาท่ีมีพ้ืนฐานด้านภาษาอังกฤษต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 40 ของจานวนนักศกึ ษาทีล่ งทะเบียนเรยี น นอกจากผลของการทดสอบก่อนเรียนที่ต่ากว่าเกณฑ์แล้ว ยังมีปัญหาอื่นท่ีสาคัญคือ นักศึกษาที่เข้า เรยี นกบั กศน.ตาบลสบเมย อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน น้ัน เป็นนักศึกษากลุ่มชนเผ่ากะเหร่ียง ร้อยละ 97 เป็นเด็กที่ตกหล่นจากการศึกษาในระบบ ขาดโอกาสในการเรียนรู้ ประกอบกับครู กศน.ตาบลสบเมย เปน็ ชาตพิ ันธ์เุ ผา่ กะเหรี่ยงเชน่ กนั และมภี ูมิลาเนาอยใู่ นพื้นที่จังหวัดแมฮ่ ่องสอนมาแต่กาเนิด จึงรู้ซ้ึงถึงข้อจากัด และอปุ สรรคในการเรียนร้ขู องกลมุ่ ชนเผา่ อย่างถ่องแทว้ ่าพื้นฐานของชนเผา่ กะเหรี่ยงนั้น มีโครงสร้างทางภาษา พดู และภาษาเขียนทีแ่ ตกต่างจากภาษาอังกฤษโดยสน้ิ เชงิ กล่าวคือภาษากะเหรี่ยงไม่มตี วั สะกดท้ังภาษาพดู และภาษาเขยี น การเรยี นภาษาอังกฤษจึงยากยิ่งขึ้น อุปสรรคในการเรียนรู้อีกประการหน่ึงคือนักศึกษาที่เข้าเรียนท่ี กศน.ตาบลสบเมยนั้น มีพื้นฐานทางด้านภาษา ตา่ กวา่ เกณฑ์ การปูพ้นื ฐานทางด้านภาษาใหก้ บั นักศกึ ษาจากความรูร้ ะดบั พื้นฐานน้ันจงึ มีความสาคญั มาก จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาในการเรียนภาษาอังกฤษ พบว่า วัยและ พื้นฐานความรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา กศน.ตาบลสบเมย มีผลให้นักศึกษาไม่สามารถจดจา พยญั ชนะและสระภาษาอังกฤษได้ดเี ทา่ ท่ีควร ครูผู้สอนจึงแสวงหาแนวทางสร้างสื่อนวัตกรรมในการช่วยจาพยัญชนะและสระ เพ่ือนาไปเทียบ อกั ษรและประสมเป็นคาอ่านภาษาอังกฤษ เร่ิมแรกใช้กระดาษสีขาวและตัวหนังสือ พบว่านักศึกษาไม่ให้ความ สนใจเท่าที่ควร สาหรับผู้สอนเองพบว่า เมื่อใช้ปากกาสีเน้นข้อความเวลาอ่านหนังสือน้ัน ทาให้สามารถจดจา

เนื้อหาเร่ืองราวต่าง ๆ ได้ดีกว่าเดิม จึงได้ศึกษา ค้นคว้า ทฤษฎีการจาและสี เพื่อมาประยุกต์ใช้ในการสร้างส่ือ นวตั กรรมแถบสเี ทยี บอกั ษร จากการศึกษาแนวคิดในการปรับปรุงส่ือนวัตกรรมจากแถบสีสีขาวล้วนมาเป็นแถบสี 5 แถบสีเพื่อ แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง พ ยั ญ ช น ะ แ ล ะ ส ร ะ น้ั น ไ ด้ อ้ า ง อิ ง ห ลั ก วิ ช า ก า ร จ า ก บ ท ค ว า ม ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ http://marulka.com,1 มกราคม, 2561 ของ “ดร.จูเลียต จู ผู้สอนวิชาการตลาดของมหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซ่ึงทาการวิจัยและได้ค้นพบความลึกลับของสีในงานศิลป์ต่าง ๆ นอกจากน้ี ยังรวมถึงสสี ันท่อี ยตู่ ามสอ่ื ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเปน็ รูปถา่ ย หนงั สือ ภาพ ป้ายโฆษณา และอ่ืนๆ ซึ่งสีท่ีเรามองเห็นนั้น จะเชื่อมโยงเข้ากับการรบั รู้ความรสู้ ึกและความทรงจาของเราไดเ้ ป็นอย่างดี จากการทดสอบกับอาสาสมัครหลายรอ้ ยคน พบว่าสีที่แตกต่างกันก็สามารถกระตุ้นผู้คนให้มีอารมณ์ ความรู้สึกทีต่ ่างกันออกไปดว้ ย รวมถึงการกระตนุ้ ความทรงจาและชว่ ยทาให้จดจาข้อมูลได้รวดเร็ว และแม่นยา ขึน้ แต่โดยสรุปแล้ว ดร.จูเลียต จู เช่ือว่าการท่ีสีมีอิทธิพลต่อความทรงจาและช่วยกระตุ้นให้เกิดการจดจาและ เรียนรู้ได้เร็วข้ึนนั้นไม่ได้เกิดข้ึนตามธรรมชาติ แต่เกิดจากประโยชน์ทางอ้อม เช่น การทาให้เกิดสมาธิ การเชื่อมโยงจากข้อมูลต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวท้ังในอดีตและปัจจุบัน รวมถึงการเห็นสีสันท่ีชัดเจนและเช่ือมโยง ไปหาความทรงจาเกา่ ในอดีตท่ีเราอาจคดิ ว่าลืมไปแล้ว เป็นตน้ ขั้นตอนการดาเนินงาน โดยในการสร้างสื่อแถบสีเทียบอักษรนั้น ผู้ศึกษาได้เลือกใช้สี จานวน 5 สี ที่มีผลต่อการจดจามาก ที่สดุ คอื สฟี ้า สบี านเยน็ สีเขียว สชี มพแู ละสีขาว และดาเนินการสร้างนวัตกรรม โดยการใช้สื่อแถบสีเทียบ อักษรมาแกไ้ ขปญั หาดังกลา่ ว ประกอบด้วย 1. สฟี า้ แทน พยญั ชนะเด่ยี ว ประกอบดว้ ย K(k), D (d), N (n), B(b), P (p), F (f), M (m), R (r) ,L (l) ,W (w), V (v), S (s), H (h) 2. สบี านเยน็ แทน พยญั ชนะคู่ ประกอบดว้ ย KH (kh) ,NG (ng) ,CH (ch), TH (th) 3. สเี ขียว แทน สระแท้ ประกอบดว้ ย A (a), E (e), I (i), O (o), U (u) 4. สีชมพู แทน สระประสม ประกอบดว้ ย AM (am), AE (ae), AI (ai), AY (ay), OR (or), OU (ou), IA (ia), EAR (ear), IU (iu), UA (ua), AO (ao), UI (ui), OI (oi), OEI (oei) 5. สขี าว แทน พยัญชนะพเิ ศษ ประกอบด้วย Y (y) การดาเนนิ งานทดลองใช้สือ่ ที่พัฒนาข้ึน 1. ครู กศน.ตาบลสบเมย ได้คัดเลือกนักศึกษาระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีลงทะเบียนเรียน ในรายวิชาภาษาต่างประเทศ ประจาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 จานวน 25 คน 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) - จากผลการทดสอบพบว่า มีนักศึกษาท่ีทาคะแนนแบบทดสอบได้ต่ากว่าเกณฑ์ จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์พบว่า นักศึกษามีทักษะด้านการอ่านต่ากว่าเกณฑ์ จึงได้ศึกษา และจดั ทาแบบฝกึ หัดเทยี บอกั ษรข้นึ เพ่ือแก้ไขปญั หาใหก้ ับนักศกึ ษา

ขัน้ ตอนการสรา้ งแบบฝึก ข้นั ตอนท่ี 1 ขั้นตอนการสรา้ งนวัตกรรม แถบสเี ทียบอักษรในระยะเริ่มแรกที่ใชเ้ พยี งสีขาวสเี ดยี วเท่านน้ั เม่ือศึกษาข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ แล้วจึงสร้างนวัตกรรมในการพัฒนาการเทียบอักษรโดยเร่ิมแรก ไดท้ าการทดลองในการอบรมค่าย English for fun จากการสอบถามผเู้ ขา้ รบั การอบรมและใช้นวัตกรรมพบว่า นักศึกษามขี ้อเสนอแนะในการใชส้ อ่ื ดังนี้ 1. สอ่ื ควรมีสสี นั ทีส่ ะดุดตา เพอ่ื ดึงดูดความสนใจ 2. ส่อื ควรมีตัวหนงั สือขนาดใหญ่กว่าเดิม 3. สอื่ ควรใชว้ สั ดทุ ่แี ข็งแรง ทนทาน ขัน้ ตอนท่ี 2 ขั้นการพัฒนาและปรบั ปรงุ นวัตกรรม หลังจากได้ข้อเสนอแนะจากกลุ่มทดลองท่ีใช้ส่ือดังกล่าว และศึกษาค้นคว้าข้อมูลเรื่องทฤษฎีสีกับการ จาของมนุษย์ รวมถึงศกึ ษางานวิจัยต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกบั การจดจาของมนุษย์ผ่านรปู แบบสื่อต่าง ๆ ทาให้ทราบ ผลระดับการจดจาของนักศึกษาผ่านนวัตกรรมแถบเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ไทย ผู้ศึกษาได้ศึกษาทฤษฎี การจดจาเพมิ่ เติมเพื่อปรับปรงุ สื่อนวัตกรรมใหม้ ีประสทิ ธิภาพในการใช้งานมากย่ิงขนึ้ โดยมีการปรับส่ือนวัตกรรมจากสีเดิมคือสีขาวล้วนเป็นการใช้แถบสี การสร้างแถบสีเทียบอักษร เพื่อพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษน้ี กศน.ตาบลสบเมย สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยอาเภอสบเมย ได้เลือกใช้สีท่ีมีผลต่อการจามากที่สุด จานวน 5 สี ประกอบด้วย สีฟ้า สีบานเย็น สเี ขยี ว สีชมพูและสีขาว เพอ่ื แทนพยญั ชนะและสระในภาษาองั กฤษ ประกอบด้วย 1. สีฟา้ แทน พยญั ชนะเดยี่ ว ซึง่ มีพยัญชนะ ดังตอ่ ไปน้ี K (k) ก M (m) มR(r)ร D (d) ด ฎ L (l) ล ฬ N (n) น ณ W (w) ว B (b) บ V (v) ว P (p) ป พ S (s) ศ ส ซ ษ ทร F (f) ฝ ฟ H (h) ห ฮ 2. สบี านเย็น แทน พยญั ชนะคู่ ซ่ึงมพี ยัญชนะ ดังต่อไปนี้ KH (kh) ข ค ฆ NG (ng)ง CH (ch) จ ฉ ช ฌ TH (th) ถ ฐ ท ฑ ธ ฒ 3. สเี ขยี ว แทน สระแท้ (สระเดยี่ ว) ซ่งึ มีพยัญชนะ ดงั ต่อไปนี้ A (a) อะ อ อา E (e) เอะ แอ เอ I (i) อิ อี ไอ O (o) โอะ โอ เอาะ ออ U (u) อึ อือ อุ อู อ 4. สีชมพู แทน สระประสม (สระค)ู่ ซึ่งมีพยญั ชนะ ดงั ตอ่ ไปนี้ AM (am) อา อาม AE (ae) แอะ แอ AI (ai) ใอ ไอ อัย ไอย อาย AY (ay) เอ OR (or) ออ OU (ou) อวั IA (ia), EAR (ear) เอียะ เอีย IU (iu) อิว UA (ua) เออื ะ เอือ อัวะ อัว AO (ao) เอา อาว UI (ui) อุย อยู OI (oi) โอย ออย OEI (oei) เอย 5. สีขาว แทน พยัญชนะพิเศษ (เปน็ ไดท้ ง้ั พยัญชนะและสระ) ซ่ึงมีพยญั ชนะ ดังตอ่ ไปน้ี Y (y) ญ ย และ สระอี้

นวตั กรรม : แถบสเี ทยี บอักษรที่ไดป้ รบั จากขอ้ เสนอแนะและการศกึ ษาทฤษฎีสเี พื่อการจดจาท่ดี ี

ขน้ั ตอนการใชแ้ ถบสเี ทียบอกั ษร

ข้ันตอนการใชแ้ บบฝึกหัดเทียบอักษร 1. แจกตารางเทียบพยญั ชนะและสระใหน้ ักศึกษาได้ศึกษาพรอ้ มทั้งอธิบายประกอบ 2. สอนการเทียบอักษรโดยใช้ส่ือแถบสีเทียบอักษรเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ (ข้ันทดสอบการใช้ แถบสี เทียบอกั ษร) การนาแถบสีเทยี บอกั ษรไปใชใ้ นการเลน่ เกมประสมเปน็ คาศัพท์ภาษาอังกฤษ 3. ทบทวนความรู้การเทียบอักษรโดยใช้แถบสีผ่านการเล่นเกม ซ่ึงกิจกรรมนี้จะมีแถบสีเป็นส่ือในการ เรียนรู้ 4. นักศึกษาบอกตัวอักษรพร้อมกับตัวเทียบเทียบอักษรเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษจากแบบฝึก ชดุ ท่ี 1 ไดแ้ ก่ ตวั อกั ษร (สระ / พยัญชนะ) 5. นกั ศึกษาอา่ นคาศัพทจ์ ากแบบฝึกชดุ ท่ี 2 ไดแ้ ก่ ได้แก่ คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ 6. นักศกึ ษาทาแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test)

การทาแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-Test) เพื่อทดสอบประสทิ ธิภาพของแถบสีเทยี บอักษร ผลการใชแ้ ถบสีเทยี บอักษร จากการนาแถบสีเทียบอักษรมาใช้กับกลุ่มเป้าหมาย พบว่าเมื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วสังเกต ระดบั ความสามารถในการจดจาของนักศึกษาพร้อมท้งั จดบันทึกผลทีเ่ กดิ ข้นึ โดยองิ จากคะแนนการทาแบบทดสอบ การเทียบอักษรภาษาอังกฤษก่อนการใช้ส่ือแถบสีเทียบอักษร ผลการศึกษาและทดลองใช้ส่ือนวัตกรรมแถบเทียบ อักษรภาษาอังกฤษ - ไทย ผลปรากฏว่านักศึกษาสามารถจดจาพยัญชนะภาษาอังกฤษจนสามารถเทียบอักษรได้ เพ่ิมขึ้นซ่ึงอ้างอิงจากคะแนนการทาแบบทดสอบ การเทียบอักษรภาษาอังกฤษหลังการใช้สื่อโดยคิดค่าผลสัมฤทธิ์ พฒั นาการดา้ นการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่มิ ข้นึ จดุ เดน่ ของนวัตกรรมน้ี 1. เปน็ ส่อื นวตั กรรมการเรยี นรรู้ ปู แบบใหม่ ๆ ทมี่ สี ีสันสวยงาม ดึงดูดความสนใจ เป็นการเรียนรู้คาศัพท์ ภาษาอังกฤษผ่านเกม ซ่ึงส่งผลให้นักศึกษาไม่เบื่อหน่ายกับการเรียนรู้และสามารถจดจาได้ดีข้ึน ปรากฏในผลการ ทดสอบหลงั เรยี น 2. เป็นส่อื ท่ใี ช้ง่าย ผลติ งา่ ย พกพาสะดวก การเผยแผค่ วามรเู้ ร่อื งการใชแ้ ถบสเี ทียบอกั ษรใหก้ บั บคุ ลากรครูในสถานศึกษาอน่ื การได้รับการยอมรับ 1. กศน.ตาบลสบเมย ได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลระดับภาคในการใช้นวัตกรรมการใช้แถบสีเทียบ อักษรเพ่ือพัฒนาการอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษในการแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาต่างประเทศ 2. กศน.ตาบลสบเมย ไดร้ ับเชญิ ใหไ้ ปเผยแพร่การใช้นวัตกรรมใหก้ บั ครู กศน.ตาบลอ่ืน

ข้อควรคานงึ ในการนาไปขยายผล การอ่านเป็นทักษะซึ่งจะสัมฤทธ์ิผลได้จากการกระทาอย่างต่อเนื่องและหรือสม่าเสมอ ดังน้ัน จึงควรมี การพัฒนาทักษะการอ่านต่อไป โดยการกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นความสาคัญและรักการอ่าน โดยครูผู้สอนสังเกต การอา่ นของนกั ศึกษาเป็นระยะ ๆ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ 1. สาหรับนักศึกษาท่ีมีพื้นฐานในด้านการอ่านระดับดีแล้ว ครูผู้สอนสามารถนาสื่อแถบสีเทียบอักษรน้ี มาผสมกันหลาย ๆ ชุด เพื่อพัฒนาการอ่านจากการเทียบอักษรเป็นการฝึกผสมคาศัพท์การฝึกสร้างประโยค ภาษาองั กฤษขั้นพืน้ ฐานง่าย ๆ ได้ 2. ครูผู้สอนสามารถนาสื่อแถบสีเทียบอักษรน้ีไปประยุกต์สร้างเป็นสื่อการสอนผสมคาให้กับนักเรียน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาอ่านในรายวชิ าภาษาไทยไดโ้ ดยการปรบั เปลย่ี นเน้อื หาของส่ือ เอกสารอา้ งอิง ไขแข ชัยเงินตรา. ทฤษฏีเกีย่ วกับกระบวนการจดจาคาศัพท์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม,่ 2545. ขัตยิ า กรรณสูต. ทกั ษะการเรียนร.ู้ กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ธรี ะฟิลม์ และไซแทกซ์ จากัด, 2516. จรญู วงศศ์ ายณั ห.์ การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสมอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพม์ หาลยั ธรรมศาสตร์,2549. ชม ภูมภิ าค. เจตคต.ิ ปทุมธานี: วทิ ยาลัยครเู พชรบุรีวทิ ยาลงกรณ,์ 2516. ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ. การสรา้ งนวตั กรรม. ปทมุ ธานี: วิทยาลยั ครูเพชรบรุ ีวทิ ยาลงกรณ,์ 2527. LookMhee. (2017). ใช้ไฮไลท์ถกู สี ชว่ ยใหจ้ ดจาได้ดีขนึ้ ลองดูนะ!. 17 ธันวาคม, 2560 จาก http://www.lookmhee.com/news/103995 Patcharee Pholkij. (2556). เทคนิคการจา กับ สีสัน. 21 ธันวาคม, 2560 จาก http://mindsupplies.blogspot.com/2013/09/blog-post.html Eduardo Willis. (2017). สกี ับความทรงจา วิทยาศาสตรใ์ นความงามของศลิ ปะ. 1 มกราคม, 2561 จาก https://marulka.com มณฑนา เรืองสกลุ ราช และคณะ.2558. ผลของสที ี่มีผลต่อความจาของนสิ ติ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ องครักษ์. 1 มกราคม, 2561 จาก med.swu.ac.th/research/images

ผูเ้ ขียน นางสาวศริ ิวนั สวยสวุ รรณศรี ครู กศน.ตาบลสบเมย กศน.อาเภอสบเมย สานกั งาน กศน.จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ผสู้ นับสนนุ และตรวจสอบข้อมลู ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสบเมย สานักงาน กศน.จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. นายพงษศ์ กั ด์ิ บุญเปง็ ครูผู้ช่วย สานกั งาน กศน.จังหวดั แมฮ่ ่องสอน 2. นางสาวกัญจนสริ ี ปญั ญาดีมีทรัพย์ ผบู้ รรณาธกิ าร 1. นายทวีป อภิสทิ ธ์ิ อดตี ศึกษานิเทศกเ์ ชย่ี วชาญ 2. นายอวยชัย จันทปัญญาศลิ ป์ อดีตศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ 3. นางกฤษณา พลฤทธิ์ ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดอุตรดิตถ์

การถอดบทเรยี นความสาเร็จดเี ด่น โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ (กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น (กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ ) สานกั งาน กศน.จังหวัดขอนแก่น) ความเปน็ มาของโครงการ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ซ่ึงใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้จัดต้ังศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ๑ แห่ง สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น มอบหมายภารกิจหลัก ได้เห็นความพร้อมในการจัดงานอาชีพอย่างต่อเน่ืองของ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นจึงได้เปิดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นเป็นที่แรก เพื่อเป็น ศนู ยก์ ลางการจัดแสดงผลงาน/สาธติ การฝึกประกอบอาชีพและการจาหน่ายผลผลิตที่เกิดขึ้นจากผู้เรียนที่ผ่าน การสอน/ฝึกอบรมในหลกั สตู รอาชีพเพ่อื การมงี านทา โดยเนน้ การจดั การศึกษาท่ียึดพื้นท่ีเป็นฐานในการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาท่ีเน้นอาชีพเป็นฐาน พร้อมทั้งได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ขอนแก่น เพอ่ื เป็นศูนย์กลางในการฝึก พัฒนา สาธิต สร้างอาชีพของผู้เรียน ชุมชน รวมท้ังเป็นท่ีจัดเก็บ แสดง จัดจาหน่าย และกระจายสินค้าและบริการของชุมชนในระดับพ้ืนที่ ประชาชนที่เข้ารับการฝึกอบรมมีอาชีพ และมีรายได้จากการประกอบอาชีพตามท่ีส่งเสริมความรู้สู่การมีอาชีพ สร้างรายได้ ทาให้ชุมชนเข้มแข็งโดยมี หลกั สูตรการฝกึ อาชีพตลอดทัง้ ปี มีกลมุ่ เป้าหมายทัง้ ประชากรในอาเภอเมืองขอนแกน่ และผู้สนใจท่ัวไป ปัจจุบันมีหลักสูตรการนวดแผนไทย ช่างตัดผมชาย ช่างตัดผมเสริมสวย การตัดเย็บเส้ือผ้า การทา ขนมไทย เบเกอรี่ ที่มีการเรียนอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีผู้เรียนมาจากจังหวัดใกล้เคียงเพื่อมาเรียนหลักสูตร ช่างตดั ผมและเสรมิ สวย เช่น จงั หวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดรอ้ ยเอ็ด จังหวัดชัยภูมิ จงั หวัดมหาสารคาม และจากประเทศลาว และประเทศเวยี ดนามอีกด้วย ภายในบรเิ วณศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชนบริเวณด้านหน้าทางเข้าสานักงาน กศน.อาเภอเมือง ยังให้บริการ กศน. Smart Shop เป็นแหล่งรวมสินค้าตาบล ท้ัง 18 ตาบลในอาเภอเมืองขอนแก่น ที่ กศน.อาเภอเมือง ขอนแก่น ได้ไปส่งเสริม สนับสนุนให้มีอาชีพ, กศน.ซาลอน เป็นแหล่งฝึกฝนฝีมือก่อนไปประกอบอาชีพจริง ด้านชา่ งตัดผมชายและช่างเสริมสวย, ห้องเรยี นการนวดแผนไทย และการจาหนา่ ยสนิ คา้ ของผู้เรียน กศน.ด้วย

ภารกจิ ของศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ 1. เป็นศนู ยแ์ นะแนวอาชีพของชมุ ชน ๒. เป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้และการฝึกปฏบิ ัติของผเู้ รียนและประชาชนที่สนใจในการประกอบอาชีพ ๓. เป็นศนู ยก์ ลางในการประสานงาน การดาเนนิ งาน ๔. เป็นศนู ยก์ ลางแสดงผลงาน การฝึกประกอบอาชีพ และการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ผลงานของผู้เรยี น ๕. เป็นศูนยข์ อ้ มูลขา่ วสารดา้ นอาชีพของชุมชน ขั้นตอนวธิ ีการดาเนนิ งาน ๑. การจัดทาแผนพัฒนาและแผนการปฏิบัติงาน สถานศึกษาจะต้องศึกษา รวบรวม มีการวิเคราะห์ ขอ้ มลู ๒. กลุ่มเป้าหมาย โดยมีการกาหนดคุณสมบัติการเข้าฝึกอบรมซ่ึงเป็นประชาชนท่ีสนใจในการฝึก อาชีพ ต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ หรือประชาชนท่ีมีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม ซ่ึงเมื่อจบ หลักสูตรแล้วจะตอ้ งนาประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั สตู รไปประกอบอาชีพจรงิ ๓. หลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษามีหลักสูตรการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาไว้ให้ครบตาม ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เช่น หลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทาใช้เอง หลักสูตรกลาง หลักสูตรท่ี สถานศกึ ษาในสงั กดั สร้างข้นึ เป็นต้น ๔. การคัดเลอื กวิทยากร โดยมกี ารกาหนดคณุ สมบัติ จากภมู ิปัญญาท้องถ่ิน/ผู้มีความเชียวชาญ หรือ ผู้ประสบผลสาเร็จ มวี ุฒิบตั ร เกียรติบัตร รับรองความรู้ ๕. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รทส่ี ถานศึกษากาหนด ๖. การออกหลกั ฐาน สถานศึกษา จะต้องจัดทาทะเบียนและหลักฐานการศึกษาตามระเบียบการจัด การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง พร้อมออกวฒุ ิบัตรให้กับผ้จู บหลกั สูตร ๗. งานอาชีพ ออกนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล

การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทดี่ าเนินการในศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน กศน.อาเภอเมอื งขอนแกน่ กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ ของศนู ยฝ์ กึ อาชีพอาชพี ชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้เปิดสอนวิชาชีพ ระยะส้ัน หลักสูตร 50 - 150 ชม. ตามกาหนดระยะปีงบประมาณ และความสนใจของผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียน ได้มหี ลกั สูตรทีร่ องรับผูส้ นใจ ได้แก่ - หลักสูตร วชิ าชีพช่างตดั ผมชาย หลักสูตร 150 ชม. - หลกั สูตร วชิ าชพี ชา่ งดดั ผม-เสริมสวย หลกั สตู ร 150 ชม. - หลกั สตู ร วชิ าชพี นวดแผนไทยเพอ่ื สุขภาพ หลกั สูตร 150 ชม. - หลกั สูตร วชิ าชพี ช่างตัดเย็บเสือ้ ผ้า หลกั สูตร 150 ชม. - หลกั สูตร วชิ าชพี การทาขนม หลักสูตร 50 ชม. - หลกั สูตรนวดฝ่าเทา้ เพ่ือสุขภาพ หลกั สูตร 60 ชม. ผลการปฏิบัติงานท่ีถือเป็น (Best Practices) ในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอเมืองขอนแก่น ได้ดาเนินการ ให้มีร้านจาหน่ายสินค้า OTOP โดยนาสินค้าแต่ละตาบลใน 18 ตาบลในเขตอาเภอเมืองขอนแก่นมาวางจาหน่าย และมีการสาธิตสินค้า ในรูปแบบร้าน กศน. Smart Shop และ ร้าน กศน.ซาลอน เป็นร้านที่เปิดเพ่ือให้นักศึกษา ที่มาฝกึ อาชีพไดม้ ปี ระสบการณ์จากการประกอบอาชีพจริง

ปจั จัยความสาเรจ็ ๑. การจัดสถานท่ีภายในสถานศึกษาที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของประชาชน โดยเปิดโอกาสให้คนท่ีสนใจ เขา้ มาเรียนรู้กบั แหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ ในสถานศกึ ษาได้ 2. การจัดการเรียนแบบไม่มีรอบ ไม่มีรุ่น ใช้การนับชั่วโมงเป็นตัวตั้ง เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ มาก ๆ กอ่ นจบหลกั สูตรและไปทางานจริง ๓. กศน. ได้จัดเตรียมสถานทฝี่ ึกอาชีพ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ไว้อย่างครบถว้ น เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถใช้ งานเพือ่ ฝึกปฏบิ ตั ิได้จริง ดว้ ยค่าเรยี นท่ีไม่แพงทาใหผ้ ้เู รยี นสามารถเขา้ ถึงการเรียนร้ไู ด้ ๔. วทิ ยากรให้ความใส่ใจในการสอน อยู่แบบเปน็ พี่เป็นนอ้ ง ทมุ่ เทการทางาน ผลทีเ่ กิดกับชุมชน โครงการฝึกพัฒนาอาชีพสร้างผลให้คนในเขตพื้นท่ีอาเภอเมืองขอนแก่น รวมทั้งอาเภอและจังหวัด ใกล้เคียงได้มีงานทา ตามวิสัยทัศน์คือ “กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือปวงชน” กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหลักสูตรเป็นไปตามความต้องการของผู้เรียน บางหลักสูตรต้องมีการ ลงทะเบียนเรียนล่วงหน้า เพราะมีข้อจากัดทางพื้นท่ีห้องเรียนทาให้รับนักศึกษาได้จากัด เช่น หลักสูตรตัดผมชาย หลักสูตรตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี หลักสูตรนวดแผนไทย ท่ีมีผู้เรียนให้ความสนใจอย่างมาก ซึ่งผลผลิตของ กศน. เป็นท่ีต้องการของตลาด เพราะในระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในหลักสูตรตัดผมชาย ครูผู้สอนได้เปิดร้านตนเองให้เป็นท่ีฝึกงานของนักศึกษาด้วย เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึก ทักษะจนชานาญ และไปเปิดร้านด้วยเองได้ ด้วยความเข้มของหลักสูตรจึงมีผู้เรียนมาจากท้ังจังหวัดใกล้เคียง และมาจากประเทศลาวและเวยี ดนามดว้ ย ปัญหาและอุปสรรค ๑. งบประมาณในการดาเนนิ งานทีไ่ ด้รบั จดั สรรจาก สานกั งาน กศน. ได้ล่าช้า ๒. ค่าตอบแทนวทิ ยากรได้นอ้ ยถ้าเทยี บกับความสามารถและประสบการณท์ ี่มี ๓. สถานทีใ่ นการจดั การเรียนการสอนในแตล่ ะวิชาชีพคบั แคบ ไม่เพยี งพอต่อความต้องการของผู้เรียน

รางวลั เกียรตยิ ศทีไ่ ด้รบั 1. รางวัลสุดยอดแหล่งเรียนรู้ ประจาปี พทุ ธศักราช 2550 2. รางวัลหมู่บ้านมหัศจรรย์ในการจัดกิจกรรม เศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจาปพี ุทธศกั ราช 2551 3. รางวัลสถานศึกษาต้นแบบ ประจาปี พุทธศักราช 2554 ๔. รางวัลสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษานอก โรงเรียนดีเด่น ประจาปีพุทธศักราช 2554 ภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๕. รางวลั ศูนย์เรยี นรู้พระราชกรณียกจิ และขยายผลแนวทางพระราชดาริในสถานศึกษาดีเด่นจังหวัด ขอนแกน่ ประจาปีพทุ ธศักราช 2555 ๖. รางวัลสถานศึกษาพอเพยี งระดับประเทศ ประจาปพี ทุ ธศักราช 2555 7. นายธวชั ชยั พลลา นักศกึ ษาแผนกตดั ผมชาย ได้รบั รางวัลการแข่งขันฝมี ือแรงงานแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 25 ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (สาขาแตง่ ผม)

ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน กศน. อาเภอเมอื งขอนแกน่ จุดประสงค/์ นโยบาย ประชาสัมพันธ์โครงการ/สารวจความต้องการเรียนอาชีพ โครงการอาชพี ทีต่ อ้ งการ หลักสตู รอาชพี ช่างตัดผมชาย ช่างดัดผม/เสริมสวย นวดแผนไทย ตัดเย็บเสอื้ ผ้า การทาขนม - สรรหาวทิ ยากร - สรรหาวทิ ยากร - สรรหาวทิ ยากร - สรรหาวทิ ยากร - สรรหาวทิ ยากร - ทาหลักสตู ร - ทาหลักสตู ร - ทาหลักสูตร - ทาหลกั สูตร - ทาหลักสูตร - แนะแนว - แนะแนว - แนะแนว - แนะแนว - แนะแนว - รับสมคั ร - รบั สมคั ร - รับสมคั ร - รบั สมัคร - รบั สมคั ร จัดการเรยี นการสอน / ระยะเวลา 150 ชม. จัดการเรียนการสอน / ระยะเวลา 50 ชม. วัดผล / ประเมินผล / มอบใบสาคัญวิชาชีพ สรา้ งอาชีพใหม่ พฒั นาอาชพี เดิม

ศูนย์ฝึกอาชีพระดบั ตาบล กศน. ตาบล 18 แห่ง ประชาคมระดับหมู่บา้ น/ตาบล (18 ตาบล) โครงการอาชพี 18 ตาบล หลักสูตรอาชีพ 18 ตาบล สรรหาวิทยากร / จดั ซอื้ จดั จ้างวสั ดุ จดั การเรยี นการสอน ประเมนิ ผล สรา้ งอาชพี ใหม่ พฒั นาอาชพี เดิม

ภาพกจิ กรรมภายในศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ จัดการเรยี นวชิ าชีพ ทุกวนั จนั ทร์ – วนั ศุกร์ (เวลา 08.30 น. – 16.30 น.) วิชาชพี ช่างตัดผมชาย หลักสูตร 150 ชั่วโมง

วชิ าชพี ชา่ งดัดผม-เสริมสวย หลักสตู ร 150 ชั่วโมง วิชาชีพนวดไทยเพื่อสขุ ภาพ หลักสูตร 150 ชั่วโมง วชิ าชพี นวดฝ่าเทา้ เพอ่ื สุขภาพ หลกั สูตร 60 ชว่ั โมง วิชาชพี ชา่ งตดั เยบ็ เสื้อผ้าหลักสูตร 150 ช่ัวโมง

วชิ าชพี การทาขนมหลักสูตร 50 ชว่ั โมง ร้าน กศน.SMEs, กศน.Smart Shop

นกั ศกึ ษาวชิ าชีพผปู้ ระสบผลสาเรจ็ ตามโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน กศน.อาเภอเมอื งขอนแก่น นายธนากร สิทธชิ ยั เนตร ท่อี ยู่ 73 ถนนศรนี วล ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ รายไดต้ อ่ เดือน 30,000 – 40,000 บาท จบรุ่นท่ี 3/2559, รุน่ 4/2559 นายปัญญา โทแก้ว ท่ีอยู่ เปิดรา้ นอยทู่ ี่ขา้ งหา้ งสรรพสนิ คา้ แฟร่ีพลาซ่า ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ รายได้ต่อเดือน 18,000- 22,000 บาท จบรนุ่ ท่ี 1/2558

นกั ศึกษาวิชาชีพผูป้ ระสบผลสาเร็จตามโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน กศน.อาเภอเมอื งขอนแกน่ วชิ าชพี ชา่ งดดั ผม-เสริมสวย นายธนกฤต สุขพืช 154 บา้ นกอก ตาบลบา้ นเปด็ อาเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ รายไดต้ ่อเดอื น 25,000 – 30,000 บาท จบรุน่ ท่ี 3/2558 วิชาชีพช่างตดั ผมชาย นางสาวดวงจันทร์ คาทะนี ท่อี ยู่ 488/16 หมู่ที่ 14 ซอย รพช. ถนนมติ รภาพ ตาบลศลิ า อาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ รายไดต้ ่อเดือน 25,000 – 30,000 บาท จบรุ่นท่ี 3/2560

วิชาชพี นวดไทยเพื่อสขุ ภาพและวิชาชพี นวดฝ่าเทา้ เพือ่ สุขภาพ นางรสรินทร์ กนั แกว้ ทอี่ ยู่ 222/140 บ้านกอกน้อย บา้ นโจด ตาบลบา้ นเป็ด อาเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ รายไดต้ อ่ เดอื น 40,000 – 50,000 บาท จบรุ่นท่ี 4/2560 นางสาวนันทนา พลู เกษม นางหนูนา ภพู รรณณา ที่อยู่ 10/1 หมทู่ ี่ 8 ตาบลบา้ นเปด็ อาเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น ประเทศเยอรมนั จบรนุ่ ที่ 3/2561 รายได้ต่อเดอื น 40,000 – 50,000 บาท จบรนุ่ ที่ 3/2561 รายได้ต่อปี 1,000,000 บาท

วิชาชพี ช่างตัดเยบ็ เส้ือผา้ นางสาวจริ าพร วรบุตร ที่อยู่ 74/3 ถนนรอบบึง ตาบลในเมือง อาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน่ รายได้ตอ่ เดอื น 9,000-15,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2559, รนุ่ ที่ 1/2560 นางสาวเสาวนีย์ สมานเมอื ง ที่อยู่ 50/5-6 ถนนกสกิ รทุง่ สรา้ ง ตาบลศลิ า อาเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น รายไดต้ อ่ เดือน 10,000-18,000 บาท จบรุ่นที่ 4/2559, ร่นุ ที่ 1/2560

วชิ าชีพการทาขนม นางสาวสุรียร์ ตั น์ จาปาเทศ ท่ีอยู่ 555/56 หมู่ที่ 8 บา้ นวิคตรอเรยี ตาบลเมืองเกา่ อาเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน่ รายไดต้ อ่ เดือน 15,000 – 22,000 บาท จบรุน่ ท่ี 4/2560, รุน่ ท่ี 1/2561, รนุ่ ที่ 2/2561, ร่นุ ท่ี 1/2562 นางสาวสมุ ิตานันท์ ทิมังกรู ท่อี ยู่ 9 ถนนรืน่ จติ ร ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รายได้ตอ่ เดือน 18,000 – 20,000 บาท จบรนุ่ ท่ี 4/2560, รุน่ 1/2561, รุ่น 2/2561, รุ่นที่ 3/2561, ร่นุ ท่ี 1/2562

ประมวลภาพกจิ กรรมรับใบสาคัญวิชาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน กศน.อาเภอเมอื งขอนแกน่ ผเู้ ขยี น ทองเช่ือม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น บรู ณเ์ จริญ ครูชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ 1. นายบญุ สง่ นูเร ครูชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ขอนแก่น 2. นางวไิ ลพร ศรสี รอ้ ย บรรณารกั ษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น 3. นางสาวธนั ยพัฒน์ 4. นางสาวอามรรตั น์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ ผสู้ นบั สนุนและตรวจสอบข้อมลู ครูชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จังหวดั ขอนแก่น บรรณารักษช์ านาญการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ 1. นายบุญส่ง ทองเชอ่ื ม 2. นางวิไลพร บรู ณ์เจริญ 3. นางสาวธันยพฒั น์ นเู ร 4. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสรอ้ ย

ผเู้ รียบเรยี งและรวบรวม นเู ร ครูชานาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ นางสาวธันยพฒั น์ อภิสิทธิ์ อดีตศึกษานเิ ทศกเ์ ชย่ี วชาญ ลอ่ งประเสรฐิ อดีตศึกษานิเทศกเ์ ชี่ยวชาญ ผบู้ รรณาธิการ สวสั ดี ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จังหวดั สรุ ินทร์ 1. นายทวีป 2. นางสาวสวุ รรณา 3. นางวัชรี แผนผงั /แผนทโ่ี รงเรยี น

การถอดบทเรยี นความสาเรจ็ ดเี ดน่ โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรู้สู่การพฒั นาคุณภาพชีวติ ผ้สู งู อายุอย่างยัง่ ยนื (กรณีศกึ ษา : ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลหนองแหน (กศน.ตาบลหนองแหน) อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา) ความเปน็ มาของโครงการ ตาบลหนองแหน ต้ังอยู่ที่ อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะทางกายภาพเป็นแบบเมือง ชนบท พื้นท่ีเหมาะแก่การทาการเกษตร เน่ืองจากมีคลองส่งน้าตลอดแนว ประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร เช่น ทานา ทาสวน ทาไร่ เลี้ยงสุกร อาชีพเสริมได้แก่ รับจ้าง ค้าขายผลผลิต ขายสินค้า ประชากรร้อยละ ๙๙ นับถือ ศาสนาพุทธ มีชาติพันธ์ุเดินเป็นคนเขมร คนลาวผสมปะปนกันอยู่ จึงมีการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน สืบทอดกันมาแบบหลากหลาย ท่ีสาคัญมีชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน ที่สามารถรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น เพื่อทากจิ กรรมตา่ ง ๆ คาขวญั ของชมรม คอื “สูงอายุอยา่ งมีคณุ คา่ สูงอายุใช่ว่าไม่กล้าหาญ สูงอายุใช่ว่าแค่อยู่นาน สงู อายุยงั เช่ยี วชาญงานท้ังปวง” สปี ระจาชมรมคือ สีม่วง ประธานชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน คือนางศรีเมือง โรจน์วรี ะ ก่อตั้งชมรมผู้สงู อายุเม่อื วันที่ ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙ เร่ิมต้นจากการท่ีผู้สูงอายุมาร่วมกันทาบุญ ท่ีวัดเป็นประจาทุกวันพระตามธรรมเนียมประเพณีของ ท้องถ่ิน มีการพูดคุยกันในเร่ืองของสุขภาพอนามัย การแก้ปัญหาสุขภาพ และช่วยกันคิดหาวิธีการในการ ป้องกันสุขภาพกาย สุขภาพจิต หากิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ได้ทาในยามว่าง ช่วยสร้างรายได้ ลดรายจ่าย การให้ ความช่วยเหลือ ดูแล เยี่ยมเยียนกันอย่างใกล้ชิด และ ประสานงานกับกลุ่ม อสม. เพ่ือวางแผนการทางานด้าน ส่งเสริมสุขภาพอนามัย ผู้สูงอายุ จัดต้ังคณะกรรมการ บริหารชมรม มีสมาชิกชมรมท่ีมาจากกลุ่มผู้สูงอายุ ในชุมชน โดยใช้สถานีอนามัยตาบลหนองแหน เป็นศูนย์กลาง มีเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขเป็นที่ปรึกษาและอานวย ความสะดวก ปจั จบุ นั ไดข้ ยายเครือขา่ ยสมาชกิ ชมรม ครบทัง้ ๑๕ หมู่บ้าน จดทะเบียนเป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์ เมื่อวันท่ี ๒๘ เมษายน ๒๕๕๒ มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน ได้รับรางวัลชนะเลิศชมรมผู้สูงอายุดีเด่น ระดับจังหวัด เมื่อวันที่ 1 กันยายน ๒๕๕๙ มีชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้านของตาบลหนองแหน ๑๕ ชมรม และมชี มรมเครอื ขา่ ยในระดบั จงั หวดั อีก ๔ ชมรม

จากการท่ีชมรมผู้สูงอายุ ในพ้ืนท่ีมีกิจกรรมหลากหลาย มีความเข้มแข็ง และมีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) แต่กิจกรรมท่ีจัดให้กับผู้สูงอายุยังไม่ หลากหลาย กศน.ตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้เข้าไปส่งเสริม สนับสนุน และ รว่ มจัดกจิ กรรมกบั กลมุ่ ผสู้ งู อายุ ชว่ ยให้คาปรึกษาแนะนา พร้อมท้ังนากิจกรรม ของ กศน. เข้าไปส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ ในรูปแบบของการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง และ กจิ กรรมสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลชมุ ชนให้กับกลุ่มผู้สูงอายุอย่างต่อเน่ือง การดาเนินงานภายใต้ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนที่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ท่ีมีงบประมาณสนับสนุนจากการจัดตั้ง โรงเรียนผู้สูงอายุ หน่วยงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) สานักงานส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) สนับสนุนเร่ืององค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับการดูแลสุขภาพอนามัย การตรวจสุขภาพและหน่วยงานของพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสมกับกลุ่ม เช่น การทาของใช้ในครัวเรือน การทาของชาร่วยทใี่ ชใ้ นกิจกรรมของชมุ ชน ขนั้ ตอนการดาเนินงาน 1. การค้นหาความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย โดยครู กศน. ตาบล เข้าไปร่วมกิจกรรมกับชมรมผู้สูงอายุ และหน่วยงานภาคีเครือข่าย พูดคุยค้นหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม พบปญั หาที่เกิดกับผู้สูงอายุ เช่น ปัญหาความเจ็บป่วยจากโรคระบาดในชุมชน ความวิตกกังวลในเร่ืองของสุขภาพ ร่างกายท่ีเปล่ียนแปลง ความเงียบเหงาท่ีต้องถูกท้ิงให้อยู่บ้านเพียงลาพัง ซึมเศร้า ขาดการดูแลสุขภาพ และการ ออกกาลังกายที่ถูกวิถี ขาดความเข้าใจในการกินอาหารท่ีเหมาะสมกับวัยสูงอายุ ขาดรายได้ มีความเป็นห่วง ทรัพย์สินมรดก เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเร่ืองของกฎหมาย การทาพินัยกรรม ขาดการเข้าสังคม เหล่าน้ี เปน็ ตน้ 2. การจัดกลุ่มตามความต้องการและการวางแผนจัดกิจกรรม ได้แก่ กลุ่มที่มีความต้องการด้านอาชีพ มีรายได้หรือลดรายจ่าย กลุ่มท่ีต้องการด้านสุขภาพอนามัย กลุ่มที่ต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กลุ่มท่ี ต้องการเรยี นรู้เรื่องของการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลในชีวิตประจาวัน กลมุ่ ทต่ี ้องการเรยี นรเู้ ร่อื งกฎหมาย กลุ่มที่ต้องการ มีสังคม มีการทากิจกรรมร่วมกัน เมื่อได้กลุ่มเป้าหมายที่แยกความต้องการแล้ว จึงประสานกับหน่วยงาน ท่ีเกีย่ วข้องเพ่ือจัดทาหลักสูตรสาหรับจัดกิจกรรมตามลาดับความสาคัญของปัญหา วางแผนการจัดกิจกรรม ท้ังใน ระยะสัน้ และระยะยาว อย่างต่อเน่ือง 3. การจดั กจิ กรรมการเรียนรรู้ ว่ มกับหนว่ ยงานภาคีเครือข่ายในระดับพ้นื ที่ 3.1 การอบรมแกนนาชมรมผู้สูงอายุระดับตาบล เร่ืองผู้สูงอายุไม่ลืม ไม่ล้ม ตามโครงการขยาย เครือขา่ ยชมรมผสู้ ูงอายุตน้ แบบ 3.2 แกนนาผู้เข้ารับอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ “ผู้สูงอายุ ไม่ลืมไม่ล้ม” ขยายผลสู่สมาชิกชมรม ผสู้ งู อายุ และผสู้ งู อายุทั่วไปในชมุ ชน 3.3 การฝึกอาชีพระยะส้ัน วิชาการทากระเป๋าผ้าด้นมือ การสานตะกร้าเชือกมัดฟาง เพ่ือนาไปเป็น อาชพี สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ครวั เรือน

ฝึกอาชพี การทากระเป๋าผา้ ด้นมอื 3.4 การให้ความรู้เร่ือง “ฉะเชิงเทรา กับการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)” เพ่ือให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ถึงการเปล่ียนแปลงของสังคม ผลกระทบที่ได้จากการเป็นชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ พฒั นาพิเศษ ภาคตะวันออก 3.5 การเตรียมความพร้อมสภาพร่ายกาย จิตใจในการเป็นผู้สูงอายุ การปรับสภาพส่ิงแวดล้อม ในครอบครัวสาหรับผู้สูงอายุ การออกกาลังกายด้วยกีฬาเปตอง การเต้นบาสโลป การออกกาลังกายด้วยตาราง ๙ ช่อง การออกกาลังกายด้วยไม้พลอง การใช้ยางยืดเพ่ือยืดเหยียดร่างกายและกิจกรรมอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ การดูแลสุขภาพกายและสุขภาจิตอย่างตอ่ เนื่อง สมาชิกชมรมผ้สู ูงอายุ ออกกาลังกายด้วยการเลน่ กฬี าเปตอง การออกกาลงั กายดว้ ยตาราง 9 ช่อง เพอ่ื ฝึกสมาธแิ ละความแขง็ แรงรา่ งกาย การออกกาลงั กายดว้ ยไม้พลอง เพือ่ ยดื เยียดกลา้ มเน้อื การออกกาลังกายดว้ ยยางยืด เพอื่ การยดื เหยยี ด และการคลายกลา้ มเนอ้ื

3.6 อบรมให้ความรู้เร่ือง Digital Literacy การใช้ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนให้เกิดประโยชน์ การใช้ไลน์ การใช้เฟซบุ๊ก การถ่ายรูป การแต่งภาพ การเขียนข้อความ การใช้เทคโนโลยี การใช้กูเกิล หาความรู้ให้ทันต่อความ เปล่ยี นแปลงของสังคมในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ 3.7 อบรมให้ความรู้เร่อื งกฎหมายที่ผสู้ งู อายคุ วรรู้ เชน่ เรอ่ื งการทาพินัยกรรม มรดก กฎหมาย ในชวี ิตประจาวนั อบรมโครงการดจิ ิทัล หลกั สูตรการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล กิจกรรมอบรมกฎหมายทผ่ี สู้ ูงอายคุ วรรู้ ด้วยความปลอดภยั (Digital Literacy ) 3.8 ฝึกอบรมการเล่นดนตรีไทย “การตีกลองยาว” เพื่อใช้ในการแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน เป็นการสบื ทอด และอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงามไมใ่ ห้สญู ไป 3.9 ฝึกอบรมการทาอาหารท้องถ่ิน เช่น การทาขนมช้ัน ขนมหม้อแกงแบบโบราณ การทาขนม ช่อมว่ ง และอาหารสขุ ภาพ น้าพริกสตู รต่างๆ เรยี นตีกลองยาวและนาคณะกลองยาว ฝกึ อาชพี การทาขนมชอ่ ม่วง ขนมโบราณ มาร่วมตอ้ นรับคณะประเมนิ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง

4. ผลการดาเนินงาน พบว่า มีการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมาชิกช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในกลุ่มและในชุมชน เข้าร่วมสังคมกันอย่างต่อเน่ือง จัดกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ เช่น การออกกาลังกาย มีสุขภาพร่างการแข็งแรงและออมเงินช่วยเหลือกัน ในกล่มุ ความสาเร็จท่ีเป็นจุดเด่นของโครงการ 1. ชุมชนมีความเข้มแข็ง เนื่องจากชมรมผู้สูงอายุเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนท่ีช่วยผลักดันให้เกิดความ เข้มแข็งในชุมชน ซึ่งเร่ิมจากการมีผู้นาท่ีดี สมาชิกชมรมมีความพร้อม การประสานความร่วมมือของคนในชุมชน การรวมกล่มุ กนั เพื่อให้เกดิ กจิ กรรมต่อเน่ืองในชุมชน ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ด้านการมีส่วนร่วม ทาให้เกิด การอนุรักษ์เผยแพร่วัฒนธรรม ประเพณี พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ท้ังตนเองและชุมชน เช่น การละเล่นพื้นบ้าน การตีกลองยาว การทาอาหารทอ้ งถิ่น ขนมไทย การเขา้ รว่ มประเพณีตา่ ง ๆ 2. ชุมชนมีความม่ันคง ความปลอดภัย กศน.ตาบลหนองแหน ได้จัดกิจกรรมให้กับชมรมผู้สูงอายุ โดยให้ความรู้เรื่องฝึกอาชีพ การดูแลสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ การหลีกเลี่ยงการป้องกันโรคติดต่อ การเลือก บริโภคอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกายและเหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ การเรียนรู้เรื่องของกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง เช่น เร่ืองของมรดก การทาพินัยกรรม การใช้สมาร์ทโฟนในการส่ือสาร การค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ ให้รู้ทันความ เปลี่ยนแปลงของสังคม ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีส่งผลให้ชุมชนมีความมั่นคงปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ และภัยจากกลุ่ม มิจฉาชพี ต่าง ๆ 3. ชมุ ชนไดร้ ับความช่วยเหลือดูแลจากภาคีเครือข่ายหลายฝ่าย ได้แก่ กศน. ท่ีเข้ามาร่วมจัดกิจกรรม อย่างต่อเน่ือง องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) หน่วยงาน สานักงานส่งเสริม สุขภาพ (สสส.) และหน่วยงานของพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ( พม.) ทีช่ ว่ ยสร้างอาชีพ สร้างรายได้กับ กับกลุ่มชมรมผู้สงู อายุ ซ่ึงเปน็ สมาชกิ ของชุมชน 4. ชุมชนได้รับความรจู้ ากการถา่ ยทอดของวทิ ยากรและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ท่ีมีองค์ความรู้หลากหลาย สาขาวิชา เช่น วิทยากรฝึกอาชีพที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้สูงอายุ วิทยากรจากสาธารณสุขเร่ืองของสุขภาพอนามัย ทั้งนี้ยังมีภูมิปัญญาท้องถ่ินในแต่ละสาขา เช่น การทาขนมไทย ดนตรีไทย การออกกาลังกายยืดเหยียดร่างกาย กิจกรรมเข้าจังหวะ การราไทเก๊ก โยคะ การออกกาลังกายด้วยตาราง ๙ ช่อง ยางยืด ไม้พลอง กายบริหาร เป็นตน้ 5. ชุมชนมีเงินออมเป็นสวัสดิการเพื่อช่วยเหลือกันในชุมชน กลุ่มสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีเงินกองทุน ที่มาจากการชว่ ยกันออม การจัดกจิ กรรมเพอ่ื หารายได้เข้ากองทนุ เช่น การทาพวงหรีด ดอกไม้จันทน์ขายในชุมชน เพ่อื นาเงินเขา้ กองทนุ เป็นต้น ปัจจุบันมเี งินทุนหมนุ เวยี นเป็นจานวนมาก สาหรับใช้ในการเยี่ยมสมาชิกผู้ป่วย และ ชว่ ยเหลือสมาชิกในกลมุ่ ยามจาเปน็ ฉกุ เฉิน 6. ชุมชนมคี วามยั่งยืน กลุ่มชมรมผู้สูงอายุในชุมชน มีกิจกรรมท่ีทาอย่างต่อเน่ือง ได้รับความช่วยเหลือ ดูแลจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย มีความเข้มแข็งจนสามารถพึ่งตนเองได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน ตา่ ง ๆ และสามารถเป็นต้นแบบขยายผลไปสูช่ ุมชนอื่น ๆ ได้เปน็ อย่างดี

รางวลั แห่งความสาเร็จของโครงการ 1. ได้รบั การคัดเลือกให้เปน็ ชมรมผู้สงู อายเุ ข้มแข็ง ๑ ใน ๒๒ ของประเทศประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘ 2. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา มอบเกียรติบัตร ให้กับชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เข้าร่วมโครงการเพ่ิมพูนศักยภาพบุคลากรส่งเสริมการออกกาลังกาย สาหรับผู้สูงอายุ หลักสูตรออกกาลังกาย “ไม่ลืมไม่ล้ม” จังหวัดฉะเชิงเทรา ระหว่างวันท่ี ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๙

3. สานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ มอบเกียรติบัตร “ชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นหน่วยงานท่ีทาประโยชน์ด้าน ผู้สูงอายุ สมควรได้รับการยกย่องเพ่ือเป็นเกียรติประวัติ สืบไป 4. กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มอบโล่เกียรติคุณ ชมรมผู้สูงอายุ ตาบลหนองแหน ในการรวมพลังเครือข่ายเพื่อสร้างสุขภาพผู้สูงอายุและ สร้างสังคมแห่งความดีงามด้วยคุณค่าและคุณประโยชน์ของการส่งเสริม สขุ ภาพผู้สงู วัย เม่ือวนั ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๒ 5. คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับสภาพ สังคมสงเคราะห์แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ มอบโล่เกียรติ คุณให้ชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชงิ เทรา ในฐานะองคก์ รทีม่ กี ิจกรรมทางสังคมดเี ด่น ปี ๒๕๖๑ 6. การได้รับการยอมรับงานวิจัย“การขับเคลื่อนชุมชนเพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุ ให้ใช้ชีวิตอย่างมีความสามารถ”กรณีศึกษาชมรมผู้สูงอายุตาบลหนองแหน อาเภอพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชิงเทรา โดยคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร ร่วมกบั สานักงาน กศน.จงั หวัดฉะเชิงเทรา

ขอ้ คดิ ควรคานึงในการนาไปขยายผลหรอื นาโครงการนไ้ี ปดาเนนิ การตอ่ 1. ครู กศน.ตาบล ควรเป็นคนท่ีอยู่ประจาในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างสม่าเสมอ มคี วามสามารถในการประสานงานกบั ภาคีเครอื ขา่ ย และกลุม่ ผู้นาต่างๆ ในชุมชนได้เป็นอย่างดี หากไม่มีคุณสมบัติ ดังกล่าว กจิ กรรมในพืน้ ท่ไี มส่ ามารถขับเคลื่อนได้อยา่ งแนน่ อน 2. เครือข่ายในชุมชนทุกภาคส่วนต้องประสานความร่วมมือกันอย่างจริงจัง เพ่ือให้การจัดกิจกรรม มีความต่อเนื่อง หากขาดความร่วมมือและการจัดกิจกรรมที่ไม่ต่อเน่ือง ไม่สามารถสร้างให้เกิดชุมชนท่ีมีความ เขม้ แขง็ ได้ ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง การสัมภาษณ์ นางบังอร ฝ่ายสัจจา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนมสารคาม ครู กศน.ตาบลหนองแหน และสมาชิกชมรมผูส้ งู อายุตาบลหนองแหน ภาพประกอบจาก นางสมจติ ร สมาน ครู กศน.ตาบลหนองแหน ผ้เู ขียน นางวชั รนิ ทร์ ศรณี ิบูลย์ ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ผสู้ นบั สนุนและตรวจสอบขอ้ มูล ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอพนมสารคาม สานกั งาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา 1. นางบงั อร ฝา่ ยสัจจา ครู กศน.ตาบลหนองแหน และสมาชกิ ชมรมผ้สู งู อายุ ครู กศน.ตาบลหนองแหน 2. นางสมจติ ร สมาน สานกั งาน กศน.จังหวดั ฉะเชิงเทรา ผบู้ รรณาธกิ าร 1. นายทวปี อภสิ ทิ ธิ์ อดีตศึกษานเิ ทศกเ์ ชย่ี วชาญ 2. นางสาวสวุ รรณา ล่องประเสรฐิ อดีตศึกษานเิ ทศก์เชย่ี วชาญ

การถอดบทเรยี นความสาเรจ็ ดีเด่นการศึกษาตามอัธยาศยั (กรณีศกึ ษา : ห้องสมุดประชาชนเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวดั ขอนแก่น ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองขอนแกน่ (กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น) สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ ) คลปิ แนะนาห้องสมดุ ฯ ความเป็นมาของโครงการ หอ้ งสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด ขอนแก่น เป็นห้องสมุดประชาชนประจาจังหวัด ที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น มีพื้นท่ีให้บริการ 3 ชั้น เร่ิมให้บริการเม่ือปี 2544 เปิดให้บริการ 7 วัน ระหว่างเวลา 08.30- 17.00 น. อดีตยังมีคนเข้ามาอ่าน หนังสือในห้องสมุด จานวนมาก แต่ในยุคปัจจุบัน มีคนเข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุดน้อยลง อ่านหนังสือ น้อยลง คนขอนแก่นส่วนใหญ่เอา Tablet , Smartphone มาใช้งานในส่วนของบันเทิงมากกว่า อ่านหนังสือ แม้ว่าจะสามารถนามันมาเป็นเครื่องอ่าน E - book ได้ และพบว่า วัยรุ่นและวัยทางานท่ัวไปใช้งาน Tablet , Smartphone เหล่าน้ีกับ App เกม หรือ Link Facebook , Youtube , Twitter , หรือเข้าเว็บไซต์ ตอบอีเมล์ มากกว่า รวมไปจนถงึ ช่องรายการ Cable มากมาย ทด่ี งึ เวลาคนขอนแกน่ ให้เสพรายการดูมากกว่าอ่าน ขัน้ ตอนการดาเนินงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ได้พูดคุยกันในองค์กร ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา บรรณารักษ์ ครู ครูอาสาฯ ครู กศน.ตาบล ครูกลุ่มเปูาหมายพิเศษ และบุคลากร กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ทุกคน ได้ข้อสรุปว่า ควรต้องมีกิจกรรมส่งเสริม การอ่านทั้งเชิงรับ และเชิงรุก พัฒนาห้องสมุด ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต ส่งเสริมสนับสนุน บา้ นหนงั สือชุมชน 186 แห่ง ให้คนในชุมชนได้ มีหนังสืออ่าน โดยมีทูตการอ่านในชุมชน (อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน) ท่ีนาหนังสือเข้าไป ในชุมชน จัดมุมหนังสือ แนะนาหนังสือให้คน ในชุมชนได้อ่าน จัดห้องสมุดให้มีบรรยากาศ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา วางแผนการส่งเสรมิ การอา่ น ที่สวยงาม มีหนังสือท่ีทันสมัย มี e - book ใ ห้ บ ริ ก า ร บ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ร ะ บ บ เ ชื่ อ ม โ ย ง แ ห ล่ ง เรียนรหู้ อ้ งสมุดฯ http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/media_category.php?ID_Media_Type=153

ความสาเรจ็ ทเ่ี ป็นจดุ เดน่ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น โดยจับมือ กับชุมชน เครือข่ายการอ่านในชุมชน โดยมี จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ ม่ื อ วั น ที่ 3 กรกฎาคม 2556 โดย สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีนโยบายที่จะทาให้ ขอนแก่นเป็นนครแห่งการอ่าน ซึ่งตรงกับ นโยบายของ สานักงาน กศน.และสถาบันและ องค์กรท่ีมีนโยบายตรงกันอีกรวม 11 แห่ง พธิ ลี งนามMOUเครือขา่ ยความรว่ มมอื ระหว่างหอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้ ไดแ้ ก่ (1) สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น และศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มูลจงั หวัดขอนแกน่ เม่ือวันจันทร์ที่ 11 กนั ยายน (2) ห้องสมุด วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 2560 รวม 11 สถาบนั (3) ห้องสมุด วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น (4) ห้องสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขต ขอนแก่น (5) สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (6) สานัก หอสมุดกลาง วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย (7) ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น (8) ห้องสมุด โรงพยาบาลขอนแก่น (9) สานักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น (10) องค์การ บริหารสว่ นจังหวดั ขอนแกน่ (11) วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนขี อนแก่น ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และศูนย์บริการข้อมูลจังหวัดขอนแก่น “เกือบ 6 ปี ความร่วมมือของเครือข่าย มีผลงานทีภ่ าคภมู ใิ จ ได้แก่ KKLNET Journals ฐานข้อมูลวารสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษท่ีสมาชิก MOU เครือข่ายความ รว่ มมอื ระหว่างห้องสมุด แหลง่ เรียนรู้ และศนู ย์บริการขอ้ มลู จังหวัดขอนแก่น บอกรับ Heritage Of Khonkaen ฐานข้อมูลภาพเก่าในอดตี ของจังหวัดขอนแก่น https://libapps.kku.ac.th/heritage/ KKNIE Library 360 องศา ระบบนาชมห้องสมุด 360 องศา https://library.kku.ac.th/kklnet360/nie/ ความสาเร็จที่เป็นจุดเด่น การทากิจกรรมเชิงรุก ท่ีหลากหลายต่อเน่ืองให้กับกลุ่มเปูาหมายอย่างท่ัวถึง เช่น กจิ กรรมหนังสือขา้ งเตียง กจิ กรรมหนงั สือแซ่บ กิจกรรมหนังสือติดล้อห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด และ กิจกรรมบ้านหนงั สอื ชมุ ชน

กิจกรรม “หนังสือข้างตียง” เราจับมือกับโรงพยาบาลขอนแก่น และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จัดมุมหนังสือในโรงพยาบาล เพื่อให้บริการผู้ปุวยติดเตียง ผู้ปุวยเรื้อรัง ผู้ปุวยมะเร็ง เด็ก ญาตผิ ู้ปุวย และประชาชนท่ัวไป โดยให้บริการสื่อคอมพิวเตอร์ สื่อหนังสือบันเทิง หนังสือสารคดี ของเล่นเด็ก วารสารบันเทิง ความรู้ทั่วไป นอกจากมุมหนังสือแล้ว ยังมีรถเข็นนิทาน ที่นา หนังสือสาหรับเด็ก ในมุมหนังสือไปถึงเตียงผู้ปุวยเด็ก หรือ ผู้ปุวยติดเตียงได้ โดยมีครู กศน.กลุ่มเปูาหมายพิเศษ และ ทูตการอ่าน เข็นรถหนังสือนิทาน และอ่านนิทานให้เด็กฟัง รวมถึง จัดสอนอาชีพระยะสั้นให้กับญาติผู้ปุวย เพ่ือส่งเสริม ให้มรี ายได้ และอ่านเสริมเพิม่ ความรู้จากหนงั สอื ได้ รถเขน็ นทิ าน หนังสือแซบ่ : กศน.อาเภอเมอื ง ขอนแกน่ ท่ี สถานขี นส่งผ้โู ดยสาร ขอนแกน่ แห่งที่ 3 กิจกรรม “หนังสือแซ่บ” เป็นการกระจายหนังสือสู่ผู้อ่านให้มากที่สุด สถานประกอบการ โรงพยาบาล ส่วนราชการ ในชุมชน เพื่อสร้าง วัฒ นธ รร ม ใน กา รอ่ า นใ ห้ก ว้า ง ขว าง แ ล ะ ให้ประชาชนสามารถเลือกอ่านหนังสือได้ทุกท่ี ทุกเวลา เพื่อเป็นแหล่งบริการส่ือประเภทต่าง ๆ เช่น สถานีขนส่งผู้โดยสารขอนแก่น บรรณารักษ์ นาหนงั สอื ออกใหบ้ ริการและหมนุ เวียนสอื่ ทุกเดือน ๆ ละ 2 ครั้ง และประสานงานกับตารวจท่องเที่ยว เพ่ือช่วยจัดวางเอกสารประชาสัมพันธ์การใช้รถใช้ ถนนในชว่ งเทศกาลสาคัญ เช่น เทศกาลปใี หม่ ตรษุ จีน สงกรานต์ เขา้ พรรษา 2 เมษาวนั รักการอ่าน เป็นตน้ “หนังสอื ตดิ ลอ้ ” คลิปภาพกจิ กรรม บรกิ ารท่ี สวนสาธารณะ หนังสอื แซบ่ : กศน.อาเภอเมืองขอนแกน่ บงึ แก่นนคร ทุกวนั จันทร์ เวลา 16.00 – 20.00 น.

กิจกรรม “หนังสือติดล้อ” (ห้องสมุดเคลื่อนท่ี) เรานาหนังสือ และกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ออกบริการในรถโมบายและจักรยานยนต์พ่วงข้าง มีบรรณารักษ์ ครู กศน.ตาบล ทูตการอ่าน(อาสาสมัคร สง่ เสริมการอ่าน) ออกให้บริการทุกวันจันทร์ ระหว่าง เวลา16.00 – 20.00 น. โดยมีเทศบาลนครขอนแก่น เอ้ือเฟ้ือสถานท่บี รเิ วณสวนสาธารณะแก่นนคร “หนงั สอื ตดิ ลอ้ ” บริการที มหกรรมหนงั สือภาคอสี าน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น คลิปภาพกจิ กรรม หนังสือติดล้อ กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จัดพธิ ีเปดิ ห้องสมุดเคลื่อนทเ่ี พื่อชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วันอาทิตย์ท่ี 2 เมษายน 2560 ณ ตลาดสดเทศบาล 1 เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น หลังส่งมอบพ่อค้า แม่ค้า ช่วยกันดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย และบริหารจัดการเอง ทุกคนรู้สกึ ถึงความเป็นเจ้าของ โดยมบี รรณารกั ษ์ ห้องสมุดฯ นาหนังสอื ไปเติมเต็มและให้คาแนะนา อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง นอกจากน้ี ยังจับมือกับศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาขอนแก่น ที่ให้พื้นที่ฟรีในการต้ัง มมุ หนังสอื เพื่อใหบ้ รกิ ารในชอื่ “หอ้ งสมดุ เคลื่อนทส่ี าหรบั ชาวตลาด” มมุ หนังสือแซบ่ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ภาพการใช้บริการหอ้ งสมุดเคลอ่ื นทส่ี าหรบั คลิปข่าว ห้องสมุดเคลอื่ นท่สี าหรบั ชาวตลาด จ.ขอนแกน่ ชาวตลาดฯ ตลาดสดเทศบาล 1 เทศบาลนคร รอบทิศถนิ่ ไทย วนั ที่ 6 พฤศจิกายน 2561 ขอนแกน่ ข่าวคา #NBT2HD

คลิปขา่ ว NBT สัมภาษณ์ ผอ.บญุ ส่ง ทองเชอื ม นายบญุ สง่ ทองเชือม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งขอนแก่น นานักศกึ ษา กลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ กศน.อาเภอเมอื งขอนแกน่ มาเรียนร้ใู นมมุ หนงั สือฯ ประชาชนมาใชบ้ ริการมุมหนังสือฯ ปัญหาอปุ สรรคทพี่ บ/วิธแี กป้ ัญหา ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น มีการจัดกิจกรรมเยอะ กลุ่มเปูาหมาย หลากหลาย แต่งบุคลากรมีจากัด จึงต้องหาอาสาสมัคร และจิตอาสา มาช่วยในทุกๆ กิจกรรม ด้วยการ ประชาสัมพันธ์บนเพจเฟซบุ๊ก บนเว็บไซต์ห้องสมุดฯ เว็บไซต์ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประชาสัมพันธ์ ผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดฯ ให้ผู้มีจิตอาสาฯ มาช่วยงานอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเหล่านี้ เราเรียกวา่ “ทตู การอา่ น” มีจิตอาสาฯ มาช่วยกิจกรรมของห้องสมุดฯ มีทั้งในสังกัด เช่น นักศึกษา กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น อาสาสมัครฯ จาก สถาบันเครือข่าย และชุมชน เช่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาขอนแก่น รวมถงึ ประชาชนทวั่ ไป

อาสาสมคั รฯ จาก มหาวิทยาลยั ขอนแก่น อาสาสมัครฯ จาก ประชาชนทัวไป อาสาสมัครฯ จาก โรงเรียนแก่นนครวทิ ยาลัย ห้องสมุดฯ เป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาหลายแห่งที่ถูกเลือกให้เป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพของนักศึกษา จากสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ทาให้บุคลากรในการปฏิบัติงานท่ีทาท้ังเชิงรับ เชิงรุก มปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ นักศึกษาวิชาเอกสารสนเทศศาสตร์ นักศึกษาวิชาเอกสารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั มหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 1 พฤศจกิ ายน 2561 - 15 กุมภาพนั ธ์ 2562 7 มกราคม 2562 - 30 เมษายน 2562

รางวลั แหง่ ความสาเรจ็ สิงทีไดจ้ ากการจัดกจิ กรรมทั้งเชงิ รบั เชิงรกุ และแบบ online เขา้ ถงึ กลมุ่ เป้าหมายอย่างทัวถึง ทำให้ คนอ่ำนหนังสือมำกขึ้น เข้าถึงสือมากข้ึน จากสถิติผู้เข้าใช้เพจเฟสบุ๊ค สถิติผู้เข้าใช้เว็บไซต์ห้องสมุดทีเพิมข้ึน และ มากไปกว่านน้ั ยังไดร้ ับรางวลั แหง่ ความสาเรจ็ ทภี าคภูมิใจ คือ ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 สถานศึกษาส่งเสริม การอ่าน โครงการ “อ่านสร้างสุข”ในโรงเรียน และสถานศึกษา ประจาปี 2557 หน่วยงานทีจ่ ดั แผนงานสร้างเสรมิ วัฒนธรรมการอา่ น (สสส.) รางวัลชนะเลิศ “การประกวดเว็บไซต์ ห้องสมุด ประชาชน 2561” ได้รับจาก สานักงาน กศน. วันท่ี 8 กันยายน 2561 ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัด ขอนแก่น ได้รับรางวัลด้านการส่งเสริมการอ่าน มาอย่างต่อเน่ือง รายละเอียดดูเพิ่มเติม ได้ที่เว็บไซต์ห้องสมุดประชาชนฯ จังหวัด ขอนแกน่ http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/catalog.php?ID_Website_Section=4547

ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมีโอกาส นำเสนอผลงำนดำ้ นสง่ เสรมิ กำรอำ่ นในเวทีตำ่ งๆ ทั้งภายในหนว่ ยงานในสงั กดั และหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ย จัดแสดงนิทรรศการ “หอ้ งสมดุ เคลือนทีสาหรบั ชาวตลาด” จัดแสดงนทิ รรศการ “ห้องสมดุ เคลื่อนทส่ี าหรบั ชาวตลาด” ณ สานกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ณ ตลาดทา่ พระ 100 ปี ผวู้ ่าราชการจังหวดั ขอนแก่น ประธานในพิธี เยย่ี มชมกจิ กรรมและ กิจกรรม “หนังสือติดลอ้ ”หอ้ งสมดุ ฯ รว่ มกับเครือข่ายฯ 11 แหง่ นทิ รรศการ “วันภาษาไทยแหง่ ชาต”ิ ณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ณ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ห้องสมุดประชาชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบท่ีมีผู้มาเรียนรู้ ศกึ ษาดงู าน ในระดับจงั หวดั ระดับภมู ภิ าค ระดบั ประเทศ รวมถงึ ชาวตา่ งประเทศ ดงั ภาพตัวอย่างการเขา้ มาศึกษาดูงาน ระหวา่ ง เดือน ตุลาคม 2559 – ธนั วาคม 2561 ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ พรอ้ มคณะเยียมชมห้องสมุดฯ

คลปิ ภาพกจิ กรรม มาเยยี่ ม – มาเยือน ห้องสมดุ ประชาชนเฉลิมพระเกยี รติฯ จงั หวัดขอนแกน่ ต้อนรับ Prof. Dong Geun Oh ผเู้ ชยี วชาญจาก keimyung University สาธารณรฐั เกาหลี พรอ้ มดว้ ย ผศ.ดร. กนั ยารตั น์ เควยี เซน่ อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ า สารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ผเู้ ขียน นางสาวอามรรตั น์ ศรสี ร้อย บรรณารักษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ ผสู้ นับสนุนและตรวจสอบขอ้ มูล 1. นายบุญส่ง ทองเชื่อม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น 2. นางวไิ ลพร บูรณเ์ จริญ ครูชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ 3. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ครูชานาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จงั หวัดขอนแก่น 4. นางสาวอามรรัตน์ ศรสี ร้อย บรรณารกั ษ์ชานาญการ สานักงาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ 5. นางนฤมนต์ ตน้ สีนนท์ บรรณารักษ์อัตราจา้ งเหมาบริการ สานกั งาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ 6. นางชลดิ า อรญั รุด บรรณารักษ์อตั ราจ้างเหมาบริการ สานกั งาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ 7. นางสาวรววี รรณ เชงิ ชัยภูมิ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ สานักงาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ 8. ครูอาสาสมัครฯ สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ 9. ครู กศน.ตาบล สานกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ 10. ครู ศรช.ตาบล สานกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแก่น

11. ครู ปวช. สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 12. ครู ประจากล่มุ เปาู หมายพิเศษ สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ 13. ครู พฒั นาทักษะชีวิตเด็กเร่รอ่ น สานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน่ 14. วา่ ที่ ร.ต.หญงิ พัชรี เสน็ บตั ร ครู อาสาสมคั รฯ กศน.อาเภอหวั ไทร สานักงาน กศน.จังหวดั นครศรีธรรมราช 15. นางสาวจิรารกั ษ์ ประยูรวงษ์ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ สานกั งาน กศน.จังหวดั ปราจีนบุรี ผบู้ รรณาธิการ 1. นายทวปี อภิสทิ ธ์ิ อดตี ศึกษานเิ ทศก์เชยี่ วชาญ 2. นายอวยชัย จันทปญั ญาศลิ ป์ อดตี ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ 3. นางรัตนา แกน่ สารี ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จังหวัดสมทุ รปราการ

การถอดบทเรยี นความสาเร็จดเี ด่น ห้องสมดุ เคลื่อนทส่ี าหรับชาวตลาดนา้ วัดใหม่นาบุญ (กรณีศกึ ษา : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอศรีมหาโพธิ (กศน.อาเภอศรีมหาโพธ)ิ สานักงาน กศน.จงั หวัดปราจนี บรุ ี) ความเปน็ มาของโครงการ โครงการ “ห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด” ตามแนว พระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงเนน้ หลกั การมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วน มีเป้าหมายให้ ชมุ ชนชาวตลาด ได้มหี นังสืออา่ นเป็นประจา สร้างวัฒนธรรมการ อา่ น และทรงเล็งเหน็ ช่องทางในการพัฒนาอาชีพสู่การมีคุณภาพ พธิ ีเปดิ ตลาดน้าวดั ใหม่นาบญุ โดยนายสรุ พงษ์ จาจด เป็นประธาน ชีวิตท่ีดีข้ึน กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ได้ขับเคลื่อนภารกิจดังกล่าวโดยจัดหามุมหนึ่ง ในตลาดจัดเป็นห้องสมุดประชาชนสาหรับชาวตลาด เป็นมุมอ่านหนังสือภายในตลาด พร้อมทั้งจัดหาหนังสือ หลากหลายชนิดเข้าไปบริการบรรดาพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ปรากฏว่าได้รับเสียงตอบรับจากพ่อค้าแม่ค้ากลับมาเป็น อย่างดี กศน.อาเภอศรีมหาโพธิ ได้มอบหมายให้ กศน.ตาบลกรอกสมบูรณ์ จัดหาสถานที่จัดทาเป็นห้องสมุดเคลื่อนท่ี สาหรับชาวตลาด จงึ เหน็ ว่าสถานท่ตี ลาดน้าวัดใหม่นาบุญเหมาะสมเป็นอย่างมาก จุดเรม่ิ ต้นตลาดน้าวดั ใหมน่ าบุญ เกิดจากชมุ ชนท่ีเข้มแขง็ โดยมี ผู้ใหญ่บ้าน พัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ กศน.ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบลกรอกสมบูรณ์ และพระครูบุญเขตตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่นาบุญ ได้ระดม ความคดิ เชอ่ื มโยง ภมู ิปญั ญา แหลง่ เรยี นรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ซึ่งเป็นจุดแข็งของตาบลกรอกสมบูรณ์ โดย พระครูบุญ เขตตาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหม่นาบุญ ได้สนับสนุนสถานที่ให้เปิดห้องสมุดฯ โครงการชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี ของพัฒนาชุมชนอาเภอศรีมหาโพธิ โครงการการศึกษาต่อเน่ือง และโครงการส่งเสริมการอ่าน ของ กศน. เข้ามามี ส่วนรว่ มในการสรา้ งตลาดน้าวัดใหม่นาบญุ แหง่ นี้ หอ้ งสมดุ เคลื่อนท่ีสาหรบั ชาวตลาดน้าวัดใหมน่ าบุญ 1 ห้องสมดุ เคลือ่ นทสี่ ำ้ หรบั ชำวตลำดน้ำวัดใหม่นำบญุ