Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามหลักการจัดการ(5 ส)

โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามหลักการจัดการ(5 ส)

Description: โครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามหลักการจัดการ(5 ส)

Search

Read the Text Version

รายงานผลปฏิบัตงิ าน โครงการส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนตามหลกั การจดั การ ( 5 ส. ) ณ ห้อง 513 อาคารพาณชิ ยกรรม วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง สาขาวชิ าการบญั ชี คณะบริหารธุรกจิ ภาคเรียนที0 1 ปี การศึกษา 2563 วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

ก กติ ติกรรมประกาศ โครงการนสี้ าํ เรจ็ ไดดวยเนื่องจากคาํ เสนอแนะและคําแนะนําขอคดิ เหน็ ตางๆจึงใครขอกราพระคณุ เปน& อยางสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย*เพ็ญประภา อษุ าวโิ รจนห* วั หนาสาขาวิชาการบัญชใี หการ สนับสนนุ ในการ จดั ทําโครงการ 5 ส ปลุกจติ สํานึก ขอขอบพระคุณอาจารย*ไพโรจน* ชาตอิ าษา อาจารย*ประจาํ รายวิชาทป่ี รึกษาดานวชิ าการ และการ สนบั สนุนจะทาํ โครงการเลมนี้ใหคาํ แนะนําความคิดในการจัดทํารปู เลมเอกสารโครงการดานตางๆของการ ทํางานมาโดยตลอดจนประสบผลสําเรจ็ ลลุ วงตามวตั ถุประสงค* ขอขอบคุณ อาจารย*สมไทย ศิริเมย* ท่ีปรึกษาโครงการที่ใหการสนับสนุนในการจัดทําโครงการและ ชวยใหคําปรึกษาเก่ียวกบั การวางแผนการจัดทําโครงการใหคาํ แนะนําทุกๆดานและใหกําลังใจผูทาํ เสมอมา จึงขอขอบคุณทุกทุกทานท่ีไดใหคําปรึกษาทําโครงการน้ีสําเร็จลุลวงดวยดีและความดีอันเกิดจาก การศึกษาคนควาน้ผี จู ัดทาํ ขอมอบแดบิดามารดาครอู าจารย*และผูมีพระคณุ ทุกทาน ทายน้ีผูจัดทํามีความซาบซึง้ ในความกรุณาอนั ดียิง่ จากทกุ ทานทช่ี วยใหคณะผูจัดมีความ มานะพยายามและประสบผลสาํ เร็จในการศึกษาและขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี คณะผูจัดทาํ

ข บทคัดยอ การจัดทาํ โครงการคร้ังน้ี มีวตั ถุประสงค*เพื่อปรบั ปรงุ สภาพแวดลอม บริเวณหอง 925 ใหมี สภาพแวดลอมท่ีดขี ึ้นสะอาดและเอื้ออํานวยตอการทาํ กิจกรรมนันทนาการ โดยมวี ธิ ีการดําเนนิ การโครงการ 5ส. หอง 513 ใชหลัก 5 ส เปน& หลกั ในป=จจบุ นั นกั ศึกษา วิทยาลยั เทคนคิ ระยองสวนใหญจะใหความสนใจในเรือ่ งของการทําความสะอาดเป&นสวนนอยภายในช้นั เรียน ตามทางเดินหรือแมกระทง่ั หอง 513 ที่เรียนอยู นักเรียนนกั ศึกษาละเลยการดแู ลรกั ษาการทําความสะอาด บริเวรเหลานจี้ ึงกอใหเกิดขยะตามบริเวณดังกลาวสงผลใหสภาพแวดลอมของหองเต็มไปดวยเศษขยะผูจดั ทํา เหน็ ถงึ ป=ญหาท่ีเกิดขนึ้ เลยคดิ คนจัดทาํ โครงการ 5 ส หอง 513 เพอ่ื เสริมปลูกจติ สาํ นึกใหนกั เรยี นนักศึกษา ตระหนักถึงความสะอาดในหองเรียน เพ่ือเสริมสราง นิสยั ของนักศึกษาใหเกิดวามมรี ะเบียบดแู ลรักษาสภาพ ของหองเรยี น ผลของโครงการ 5 ส. หอง 513 สงผลใหเกดิ สภาพแวดลอมท่ดี ขี นึ้ สะอาดและเปน& ที่อํานวยความ สะดวกของนกั เรียนนักศึกษาของวทิ ยาลยั เทคนิคระยองไดมากยง่ิ ขน้ึ

สารบญั ค เรื่อง หนา ก กติ ติกรรมประกาศ ข บทคดั ยอ ค สารบัญ จ สารบญั ตาราง 1 บทท่ี 1 2 2 1.1 ความเป&นมาของโครงการ 2 1.2 วัตถปุ ระสงค* 2 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.4 ประโยชน*ทีค่ าดวาจะไดรับ 4 1.5 นิยามศพั ท* 5 บทท่ี 2 5 6 2.1 ตนกาํ เนิดของ 5 ส. 7 2.2 5 ส. คอื อะไร 14 2.3 5 ส.เขามาสปู ระเทศไทยไดอยางไร 15 2.4 ใครควรเริม่ ทํา 5 ส. กอน 2.5 ขนั้ ตอนในการดําเนนิ งาน 5 ส 16 2.6 ประโยชนข* องการทาํ กิจกรรม 5 ส. 16 2.7 5 ส. คือมาตรฐานการทํางานและความภาคภมู ใิ จ 16 16 บทที่ 3 3.1 รปู แบบการจัดทําโครงการ 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.3 ประชากรและกลุมเปาB หมาย 3.4 ขนั้ ตอนการดาํ เนินการเก็บรวบรวมขอมลู

สารบญั ง เรอื่ ง หนา บทที่ 4 19 4.1 ผลการดําเนนิ งาน 34 34 บทท่ี 5 34 35 5.1 วตั ถปุ ระสงค* 35 5.2 ขอบเขตของโครงการ 36 5.3 เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล 37 5.4 วธิ ีการดําเนนิ งาน 5.5 การเกบ็ รวบรวมขอมลู 5.6 การวิเคราะห*ขอมลู 5.7 สรปุ ผลการวิเคราะห* ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบเสนอโครงการ ภาคผนวก ข กําหนดโครงสรางองค*กรในการจดั กิจกรรม ภาคผนวก ค ตารางบันทึกการดาํ เนินทางและรปู รายงานการปฏบิ ตั ิงาน ภาคผนวก ง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ภาคผนวก จ ประวตั ิผจู ัดทํา

สารบญั ตาราง จ เรื่อง หนา 19 ตารางท่ี 4.1 แสดงจาํ นวนแบบประเมนิ สําหรับกลุมตวั อยางท่ีไดรบั คนื และใชได 20 ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนของผตู อบแบบประเมนิ คิดเปน& รอยละแยกตามเพศ 21 ตารางท่ี 4.3 แสดงจาํ นวนของผูตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจ 22 คิดเปน& รอยละแยกตามลําดับการศึกษา 23 ตารางท่ี 4.4 แสดงถึงจํานวนของผตู อบแบบประเมนิ คดิ เป&นรอยละในหวั ขอการมี ขั้นตอนการจดั กิจกรรมท่จี ดั เจนตงกับวตั ถุประสงคข* องโครงการ 24 ตารางที่ 4.5 แสดงถึงจํานวนของผูตอบแบบประเมินคิดเป&นรอยละในหัวขอ ผมู าทํางาน มีความสะดวกในการทํางานมากขน้ึ 25 26 ตารางที่ 4.6 แสดงถึงจาํ นวนของผตู อบแบบประเมินคดิ เป&นรอยละในหวั ขอ 27 ภายในสํานักงานมีพืน้ ทีใ่ นการวางเอกสารมากขน้ึ 28 29 ตารางที่ 4.7 แสดงถึงจาํ นวนของผูตอบแบบประเมินคิดเป&นรอยละในหัวขอ 30 มกี ารจัดวางเอกสารหรอื ของใชใหมคี วามเรียบรอยและสะดวกมากขึน้ 31 ตารางท่ี 4.8 แสดงถึงจํานวนของผูตอบแบบประเมนิ คิดเป&นรอยละในหัวขอ 32 สาํ นักงานมีความสะอาดมากข้ึน ตารางที่ 4.9 แสดงถึงจํานวนของผูตอบแบบประเมนิ คิดเป&นรอยละในหวั ขอมีการ จดั เรยี งเอกสารไดเปน& ระเบยี บ ตารางท่ี 4.10 แสดงถึงจาํ นวนของผตู อบแบบประเมนิ คดิ เปน& รอยละในหัวขอ มีความสะดวกในการหาเอกสารตางๆ ตารางที่ 4.11 แสดงถงึ จํานวนของผูตอบแบบประเมนิ คดิ เปน& รอยละในหวั ขอเตรยี มเอกสารสงลูกคามคี วามสะดวกมากขน้ึ ตารางที่ 4.12 แสดงถึงจํานวนของผตู อบแบบประเมนิ คิดเปน& รอยละในหวั ขอ แยกเอกสารลกู คาไดเปน& ระเบียบ ตารางที่ 4.13 แสดงถึงจาํ นวนของผตู อบแบบประเมนิ คดิ เปน& รอยละในหัวขอ จัดเรียงแฟBมเก็บเอกสารขอมูลไดเปน& หมวดหมู ตารางท่ี 4.14 แสดงความพึงพอใจจากผตู อบแบบประเมินของโครงการพัฒนาสถานประกอบการ และพื้นทีบ่ รเิ วณรอบ

โครงการวทิ ยาลยั เทคนิคระยอง 5 ส. พัฒนาห้อง ชือโครงการ โครงการ ส. พฒั นาห้อง ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 1. นางสาวธยาณี มากทวี เลขที อาจารย์ทีปรึกษาโครงการ ระยะเวลาด าเนินโครงการ 2. นางสาวผลทิพย์ สุขล&าํ เลขที '( 3. นางสาววรณัน มีโพธ*ิ เลขที '+ 4. นางสาววรรณนิภา ธรรมวงษ์ เลขที '/ 5. นางสาวสุฑาทิพย์ หิรัญมาศ เลขที นางส้มไทย ศิริเมร์ วนั ที + สิงหาคม ' 5 ถึง วนั ที 8 ตุลาคม ' 5 1.1 หลักการและเหตุผล กิจกรรม 5ส. เป็นกระบวนการหนึงทีเป็นระบบมีแนวปฏิบตั ิทีเหมาะสมสามารถนาํ มาใชเ้ พือปรับปรุง แกไ้ ขงานและรักษาสิงแวดลอ้ มในสถานทีทีทาํ งานใหด้ ีข&ึน หลกั การ 5 ส. เป็ นปัจจยั พ&ืนฐานการบริหารคุณภาพ ทีช่วยสร้างสภาพแวดลอ้ มทีดีในการทาํ งานทาํ ใหเ้ กิดบรรยากาศทีน่าทาํ งานเกิดความสะอาดเรียบร้อย ในสาํ นกั งานถูกสุขลกั ษณะทาํ ใหพ้ นกั งานและเจา้ หนา้ ทีทีสามารถใชศ้ กั ยภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งเต็ม ความสามารถ สร้างทศั นคติทีดีของพนักงานต่อหน่วยงานกิจกรรม 5 ส. เป็ นกลยทุ ธ์อีกวิธีหนึง ทีเปิ ดโอกาสใหบ้ ุคลากรมสี ่วนร่วมในการพฒั นาคุณภาพเป็นกิจกรรมทีทาํ แลว้ เห็นผลเร็วและชดั เจน โดยหลกั การ 5 ส. เป็ นแนวทางการปฏิบตั ิทีไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลายเนืองจากทาํ ใหส้ ภาพแวดลอ้ ม การทาํ งานดีข&นึ สถานทีทาํ งานสะอาดบุคคลมีระเบียบวนิ ยั เครืองมอื และอุปกรณ์ทีใชใ้ นการทาํ งานมีอายุ ใชง้ านนานประสิทธิภาพการทาํ งานดีข&ึน ทางยงั ใชง้ บประมาณในการปฏิบตั ิตามจะเห็นไดว้ ่าหลกั การ 5 ส. เป็ นการลงมือทาํ ความสะอาดทีช่วยสร้างความสะอาดให้กบั องคก์ รและช่วยสร้างนิสัยทีดีให้แก่บุคคล ท&งั อยา่ งสะดวกรวดเร็วประหยดั ท&งั เวลาและค่าใชจ้ ่ายอีกดว้ ยนอกจากน&นั กิจกรรม 5 ส. จะเป็นพ&ืนฐานในการนาํ วธิ ีการบริหารใหม่ๆ มาใชใ้ นอนาคต 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพือให้หอ้ งเรียนปราศจากสิงสกปรก แลว้ เป็นสถานที ทีสะอาดและน่าเรียนมากยงิ ข&ึน 1.2.2 เพือส่งเสริมการรักษาคามสะอาดและความมีระเบียบวินยั ของนกั เรียนนกั ศึกษา 1.2.3 เพือลดการเกบ็ เอกสารทีซอ้ นกนั เพอื ใหส้ ามารถหยบิ ใชส้ ิงของต่างๆไดง้ ่ายยงิ ข&ึนและ จะไดส้ ะดวกรวดเร็วในการทาํ งาน

1.3 เป้าหมายและขอบเขตโครงการ 1.3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 1.3.1.1 นกั เรียนนกั ศึกษาจดั ทาํ โครงการ จาํ นวน 5 คน 1.3.1.2 ครูอาจารยน์ กั เรียนและนกั ศึกษาทีใชห้ ้องเรียนจาํ นวน 100 คน 1.3.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ 1.3.2.1 นกั เรียนนกั ศึกษามีความรับผดิ ชอบในการช่วยกนั รักษาสภาพแวดลอ้ มของวิทยาลยั 1.3.3 ขอบเขตโครงการ + สิงหาคม ' 5 – 19 ตุลาคม ' 5 1.4 วธิ ีการดาํ เนนิ งาน การดาํ เนินงาน สิงหาคม ระยะเวลาการดาํ เนินการ ตลุ าคม รายงาน ปี พ.ศ. 2563 1.เสนอโครงการ กนั ยายน 2.ขออนุมตั ิ 3.ดาํ เนินการ 4.สรุปรายงานประเมินผล 1.5 สถานที วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง สาขาวชิ าการบญั ชี อาคาร พาณิชยก์ รรม ห้อง 513 1.6 การติดตามประเมินผล สรุปการดาํ เนินโครงการและจดั ทาํ รายงานโดยมีการอภปิ รายผลการด าเนินการ 1.7 ผลทีคาดว่าจะได้รับ 1.7.1 นกั เรียน นกั ศึกษา มีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดของสภาพแวดลอ้ ม 1.7.2 หอ้ ง ส.' สะอาด เป็ นระเบียบ ทาํ ใหน้ ่าเขา้ มาเรียนยงิ ข&ึน

1 บทท่ี 1 บทนาํ 1.1 ความเปนมาของโครงการ กจิ กรรม 5 ส. เปนหนงึ่ ในกจิ กรรมทีม่ จี ดุ มงุ หมายเพื่อการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพของการทํางาน ลดความ สิน้ เปลอื งในการใช'วสั ดุอุปกรณ* ประหยดั เวลาในการทาํ งาน มคี วามปลอดภยั ในการทาํ งาน และบคุ คลากรมี ขวัญและกําลงั ใจท่ีดี กิจกรรม 5 ส. หมายถงึ การดแู ลรกั ษาความเปนระเบียบเรยี บร'อยของสถานที่ทํางาน ซึ่ง นนั่ เปนการอธบิ ายในขน้ั ตน' แตจรงิ ๆ แล'ว 5 ส. ยงั เปนกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วข'องกับการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย* หลกั การของ 5 ส. เปนรากฐานสาํ คญั ของการพฒั นาทรัพย*กรบคุ คล การปรับพฤตกิ รรมดังกลาว ถกู แบงเปน 5 เร่อื งใหญๆ คอื 1. การแยกแยะสง่ิ ของตางๆให'ชัดเจน คอื “สะสาง” 2. การจดั หมวดหมูสง่ิ ของให'งายตอการใช' คือ “สะดวก” 3. การรกั ษาความ “สะอาด” ส่งิ ของเคร่อื งใชข' องตนเองอยางทั่วถึง 4. หมน่ั ทาํ 3 ประการแรก โดยยึดถอื หลกั “สขุ ลักษณะ” เปนสําคัญ 5. ทํากจิ กรรมท้งั หมดอยางตอเน่ืองจนเคยชนิ กลายเปนองค*การ “สรา' งนสิ ยั ” ใหม' รี ะเบียบวินยั กิจกรรม 5 ส. จะมงุ การพฒั นาคนในองคก* ร คอื มุงให'พวกเขาหันกลับมาพฒั นาตนเองกอเปนอนั ดับ แรกคือ “ฝก? ใหร' ูจ' กั ระเบียบให'กับตนเอง” แทนทจ่ี ะให'คนอน่ื มาควบคมุ บงั คบั คนอปุ นสิ ัยแบบ 5 ส. จะ สามารถควบคุมตวั เองได' และเม่อื ควบคมุ บังคบั ตวั เองหรือจัดระบบระเบียบใหก' บั ตนเองได'แล'วการจัดระบบ ระเบยี บใหก' บั การทํางานกจ็ ะเกิดขึน้ ตามมา ซึง่ แนนอนวายอมสงผลตอเปCาหมายในการทํางานและสามารถ พัฒนาของนกั เรยี นนักศึกษาในดา' นคุณธรรมและจรยิ ธรรมในสถานศึกษา ดงั นน้ั กลมุ ของข'าพเจา' ไดม' องเห็นถึงความสําคญั จึงไดม' ีการจดั ทาํ โครงการ “พัฒนาสถาน ประกอบการ” ข้ึน เพ่ือใหน' ักเรียนนกั ศึกษาและบุคลากรในสถานประกอบการไดร' จ'ู ักกันรักษาความสะอาด และชวยกันสรา' งความเปนระเบียบเรยี บรอ' ยและมีวนิ ยั ในตนเองและทําประโยชนใ* หก' บั สถานประกอบการ ซ่งึ กิจกรรม 5 ส. เปนกจิ กรรมที่ทกุ ๆคนสามารปฏิบัตไิ ด'งาย ผู'จัดทาํ กจิ กรรม 5 ส. นีข้ ้ึน เพื่อสรา' งความสามัคคีใน สถานประกอบการอีกดว' ย

2 1.2 วตั ถุประสงค 1.2.1 เพื่อนาํ กจิ กรรม 5 ส. มาปรับปรงุ การปฏิบัติงานของบุคลากรใหท' ปี ระสิทธภิ าพ 1.2.2 เพ่ือสงเสรมิ การมีสวนรวมในการพฒั นาคุณภาพการทํางานให'แกบุคลากรทกุ ระดับ 1.2.3 เพอ่ื สงเสรมิ การมสี วนรวมในการพฒั นาคุณภาพการทํางานใหแ' กบุคลากรทุกระดับ 1.2.4 เพอ่ื กอให'เกดิ ความสามัคคใี นองค*กร 1.2.5 เพอ่ื ใหบ' ุคลากรและนกั เรยี น นักศกึ ษามคี วามร'คู วามเข'าใจและมวี นิ ัยในการปฏิบตั ิงานให' ความสาํ คัญตอการพฒั นางานอยางตอเน่ือง 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.3.1 เปCาหมายเชงิ ปริมาณ - นักศึกษาวทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ปวส.2 กลมุ 4 จํานวน 5 คน - นักเรยี น/นกั ศกึ ษา วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ปวส.2 กลุม 4 โดยประมาณ 10 คน 1.3.2 เปCาหมายเชิงคณุ ภาพ - นกั เรียน นกั ศึกษาและบคุ ลากรมสี ถานประการทีส่ ะอาด เปนระเบียบมากขึน้ - นักเรียน นักศกึ ษาและบุคลากรสามารถนาํ มาประยกุ ต*ใช'ในชวี ติ ประจาํ วนั ได' 1.4 ประโยชนทีค่ าดวา$ จะได'รับ 1.4.1 สถานท่ที าํ งานนาอยูมากขึ้น 1.4.2 การปฏบิ ตั งิ านสถานประกอบการ งาย สะดวก และปลอดภัยมากขึ้น 1.4.3 สถานประกอบการมคี วามสะอาด เรยี บรอ' ย และสะดวกตอการทํางานมากขึน้ 1.4.4 บคุ ลากรและนักเรยี น นักศกึ ษาในสํานักงานมีระเบียบวินัยมากข้นึ 1.4.5 เพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน 1.4.6 สร'างทศั นคติทีด่ ใี หก' บั บุคลากรและนักเรยี น นักศึกษา 1.5 นยิ ามศัพท กจิ กรรม 5 ส. เปนกิจกรรมเชิงปฏิบัติในองค*กรการทํางาน โดยเปนการจดั ระเบยี บสถานท่ที าํ งานให' สะอาด ถูกสุขลกั ษณะ เพ่ือเสริมประสทิ ธิภาพในการทํางานภายในองค*กรให'ดยี ่ิงข้ึน โดยหลักการ 5ส มตี น' กาํ เนิดมาจากประเทศญี่ปJุน ซึ่งเปนแนวทางที่ไดร' ับความนิยมอยางแพรหลายในองค*กรการทาํ งานของประเทศ

3 ญปี่ นุJ ดังน้ันประเทศไทยรบั หลกั การนีม้ าเปนแนวทางพฒั นาการทาํ งานด'วยการปรบั ใชใ' หเ' หมาะสม ภายในประเทศ องคป* ระกอบของหลกั การ 5 ส. ไดแ' ก 1. สะสาง (SERI / เซริ) คอื (ทาํ ใหเ' ปนระเบียบ) การแยกของท่ตี 'องการใช'ออกจากของท่ีไมต'องการใช' แล'ว 2. สะดวก (SEITON / เซตง) คือ (วางของในทท่ี ี่ควรอยู) การจดั วางส่งิ ของใหเ' ปนระเบยี บและ ปลอดภยั 3. สะอาด (SEISO / เซโซ) คือ (ทําความสะอาด) การทาํ ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณใ* นการ ทาํ งาน 4. สขุ ลักษณะ (SEIKETSU / เซเคทซึ) คอื (รกั ษาความสะอาด) การรักษาความสะอาดอยางถกู สุขลักษณะตลอดไป 5. สร'างนิสัย (SHITSUKE / ซิทซเึ คะ) คือ (ฝก? ให'เปนนสิ ัย) การอบรมและปฏบิ ตั ิการทําความสะอาด และความเปนระเบยี บเรยี บร'อยให'กลายเปนนสิ ยั 1.6 การวิเคราะหขอ' มลู หาคารอ' ยละวิเคราะห*ข'อมูลความพงึ พอใจของการจดั กิจกรรมเปน 5 ระดับคะแนนเฉล่ียตามเกณฑ* ดังน้ี 1 = ระดับน'อยทสี่ ดุ 2 = ระดับนอ' ย 3 = ระดบั ปานกลาง 4 = ระดับมาก 5 = ระดบั ดีมากท่ีสุด

4 บทที่ 2 เอกสารทฤษฎีและแนวคดิ ท่เี ก่ียวขอ' ง ในการจัดทาํ โครงการครั้งนี้ คณะผจู' ดั ทาํ ไดศ' ึกษาความรูจ' ากเอกสาร และบทความทีเ่ กยี่ วขอ' งกบั การ คํานวณเกรดเฉล่ีย โดยแบงข'อมลู ในดา' นตางๆ ดงั นี้ 2.1) ตน' กาํ เนดิ ของ 5 ส. 2.2) 5 ส. คอื อะไร 2.3) 5 ส.เขา' มาสปู ระเทศไทยได'อยางไร 2.4) ใครควรเร่มิ ทาํ 5 ส. กอน 2.5) ขัน้ ตอนในการดําเนนิ งาน 5 ส 2.6) ประโยชน*ของการทาํ กจิ กรรม 5 ส. 2.7) 5 ส. คือมาตรฐานการทํางานและความภาคภมู ใิ จ 2.1 ตน' กําเนิด 5 ส. คงจะระบุได'ยากวา แท'ที่จริงแลว' 5 ส. เร่มิ ขึน้ ครงั้ แรกท่ีไหนเม่อื ไรแตสนั นษิ ฐานวามมี าต้งั แตโบราณ กาลแลว' เพราะเร่อื งการปลกู ฝง[ ระเบียบวินัยเปนสง่ิ ทม่ี นุษยใ* ห'ความสําคญั เสมอมา ซง่ึ จุดเริ่มต'นของ 5 ส. นาจะมาจากทางตะวนั ตกกอน แตเร่ิมนาํ มาใช'อยางชัดเจนคอื ในประเทศญีป่ นJุ โดยชาวญ่ปี Jนุ ไดป' รบั เปลีย่ นและ ประยกุ ต*แนวคดิ ของตะวนั ตกในเร่อื งการสร'างระเบียบวนิ ัย และการเพ่ิมผลผลติ ใหม' ีความเหมาะสมกับ วัฒนธรรมทม่ี ีลกั ษณะเฉพาะมากย่งิ ข้ึน การเกดิ ขนึ้ ของ 5 ส ในญปี่ นJุ ไมได'เกดิ เปน 5 ส. ในรูปแบบท่ีชดั เจน แตพัฒนามาจากแนวคิดในเร่อื ง การควบคุมคุณภาพ (Quality Control : QC) กลาวคอื ญ่ีปนJุ หลงั แพ'สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 กองกําลังฝJาย สัมพนั ธม* ติ ร โดยการนําของสหรฐั อเมริกาที่เขา' ยดึ ครองญี่ปJุน ไดเ' รยี กรอ' งรอ' งให'มกี ารรักษาคุณภาพของ ชิ้นสวนอุปกรณโ* ทรคมนาคมทผี่ ลติ ในประเทศญี่ปนุJ เพราะขณะนนั้ สนิ คา' ของญ่ปี นุJ ด'อยคุณภาพมาก จะนาํ มา ประกอบใช'กับอะไรก็มักใช'ไมคอยได' จากปญ[ หาดังกลาวน่ีเอง ทางอเมรกิ าจึงสงผเ'ู ชีย่ วชาญมาดูแลและให'ความรู'ในเรื่องการควบคุม คุณภาพสนิ ค'าหรอื คิวซี ซ่ึงตอมาหลกั การทท่ี างอเมริกานํามาเผยแพรน้เี อง ทก่ี ลายมาเปนพ้นื ฐานที่สงให'ญี่ปJนุ กลบั มาเปนคูแขงที่นากลวั ของตัวเองทัง้ ทางดา' นเศรษฐกิจและด'านบุคคลากรในท่สี ดุ การเขา' มาของแนวคดิ ในเรอ่ื งการควบคมุ คุณภาพหรอื QC ในระยะน้ันเปนของใหมสําหรับชาวญีป่ Jนุ

5 แตบรรดาบรษิ ทั ตางๆ กลับให'ความสนใจและเรยี นร'ูอยางจริงจงั ซ่ึงอาจเปนเพระแนวคดิ ดังกลาว สอดคล'อง กับอปุ นสิ ัยของคนญีป่ นุJ อยแู ล'ว การใช'ความรูด' งั กลาวเขา' มาควบคมุ คุณภาพสนิ ค'า ไลไปตัง้ แตข้ันตอนการ ออกแบบ การวิจยั การผลติ การจาํ หนาย และการบรหิ ารได'สรา' งประสิทธภิ าพให'กับการทํางานและสรา' งผล กาํ ไรแกองค*การได'อยางเดนชัด จนในทสี่ ดุ ญปี่ Jนุ ได'พัฒนาสง่ิ ทีร่ ับมาจากคนอ่นื ให'กลายเปน QC ในแบบญ่ปี นJุ และกลายเปนกิจกรรมพฒั นาคุณภาพทม่ี ีความซับซ'อนไป อาทิ กจิ กรรมเพื่อคณุ ภาพแบบตอเน่ือง (TQM) ที่ มองการพัฒนาคุภาพโดยรวมของการทํางาน การทาํ 5 ส. ปรากฏใหเ' ห็นในชวงท่ี QC มีการพัฒนารปู แบบ กลาวคอื หนวยงานตางๆ ต'องการ แนวทางพนื้ ฐานที่เปนเหมือนแรงผลกั ใหผ' 'ูปฏิบตั ิงานและสภาพแวดล'อมในการทํางานเอ้ือประโยชน*ตอ กระบวนการผลิตมากทส่ี ุด โดย QC เปนหลกั การทีม่ ุงควบคุมท่ีตัววัตถุมากกวา ดงั น้ันจึงมีผ'คู ดิ คน' หลักการ งายๆ ท่จี ะสนับสนนุ กจิ กรรม “รากฐาน” ทมี่ ุงไปท่ีตวั คนและสภาพแวดล'อม ซงึ่ หลักการนั้นกค็ ือหลัก 5 ส. ท่ี ทางญปี่ Jนุ เรียกวา 5 S นัน่ เอง. 2.2 5 ส. คืออะไร กจิ กรรม 5 ส เปนแนวคดิ การจัดระเบยี บเรียบรอ' ยในท่ีทางานกอให'เกดิ สภาพการทางานท่ีดี ปลอดภยั มีระเบียบเรยี บร'อย นาไปสกู ารเพม่ิ ผลผลติ 2.2.1 สะสาง (SERI) คอื การแยกของที่ต'องการ ออกจากของที่ไมต'องการและขจดั ของที่ไมต'องการ ทงิ้ ไป 2.2.2 สะดวก (SEITON) คือ การจดั วางสงิ่ ขอตาง ๆ ในทีท่ างาน ให'เปนระเบียบเพ่ือความสะดวก และปลอดภัย 2.2.3 สะอาด (SEISO) คือ การทาความสะอาด เคร่อื งมอื อุปกรณ* และสถานทที่ างาน 2.2.4 สขุ ลักษณะ (SEIKETSU) คอื สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสุขลกั ษณะ และรักษาให'ดีตลอดไป 2.2.5 สร'างนิสัย (SHITSUKE) คอื การอบรม สร'างนิสยั ในการปฏบิ ัติงานตามระเบยี บวนิ ัย ขอ' บังคับ อยางเครงครัด 2.3 5 ส.เขา' มาส$ูประเทศไทยไดอ' ย$างไร สาํ หรับประเทศไทยนน้ั บรษิ ัทเอน็ เอชเค สปรงิ (ประเทศไทย) จาํ กดั เปนบริษัทแหงแรกที่นํา กิจกรรม 5 ส. มาใช'ในชวงปi พ.ศ. 2522 โดยตอนนั้นเรียกกันวา 5 ส. ในครั้งแรกนั้น Mr.Shigemi Mmorita ประธานกรรมการบรษิ ทั ไดน' าํ มาใชเ' ฉพาะ 3 ส แรก เพ่ือเปนพืน้ ฐานในการบริหารบริษัท จากนน้ั ในปi พ.ศ. 2524 จงึ ประกาศใช' 5 ส. เปนนโยบายในการบริหารงาน โดยใหร' ะดบั ผ'จู ัดการเปนแกนนาํ และสรา' งความ เขา' ใจในกิจกรรม 5 ส. ให'บรรดาพนกั งานทัว่ ๆ ไป จากนัน้ ในชวงปi พ.ศ.2526 บริษทั สยามคโู บต'า อุตสาหกรรม จาํ กัด(กลุมบริษัทในเครอื ซเี มนตไ* ทย) ได' นํา 5 ส. มาดําเนนิ การในโรงแรม และเผยแพรความร'ูนี้ให'กับบริษัทท่ีสนใจ ทั้งบริษัทในเครือซีเมนต*ไทยและ

6 จากภายนอก ตอมาวิศวกรและเจ'าหนา' ที่ของบริษทั ในเครือซีเมนต*ไทยได'ประชุมปรกึ ษาและบัญญตั ิศัพท* โดย แปลงความหมายของคํา 5 s. เดิมในภาษาญี่ปJุนมาเปนภาษาไทยให'คลอ' งเสียงกันกับ 5 s. ประกอบด'วยสะสาง สะดวก สะอาด สขุ ลกั ษณะ และสรา' งนิสยั เพอื่ ใหง' ายตอการจดจําและไดเ' ผยแพรกิจกรรม 5 ส. ไปยังบรษิ ทั อ่ืน ๆ ท้งั น้ี การปโo ตรเลยี มแหงประเทศไทย หรือ ปตท. เปนอีกหนวยงานหนง่ึ ทนี่ าํ หลกั กจิ กรรม 5 ส. มาใช' อยางจรงิ จัง และสามารถปะยุกต*ให'เขา' กับลักษณะขององค*กรจนประสบความสําเรจ็ อยางเหน็ ได'ชัด ท้ังๆ ท่ี เปนองค*กรขนาดใหญมีโครงสร'างซบั ซ'อน และมบี ุคลากรอยูเปนจาํ นวนมาก จึงนาสนใจเปนอยางย่งิ ท่ีจะนํา ปตท.มาเปนตวั อยางในการศึกษาหาความสาํ เรจ็ ของการทํา 5 ส. โดยเฉพาะศึกษาถึงหลักหรือแนวทางที่ ปตท. สามารถนาํ กิจกรรม 5 ส. มาใช'ได'อยางมีประสิทธิภาพ เม่อื จะพูดถึง 5 ส. ข้ันแรกที่จะพูดถงึ ก็คือ “ส” ทั้ง 5 ตัวนี้ ประกอบไปดว' ยอะไรบ'าง ซึง่ กิจกรรม 5 ส. ไทยเราได'ดัดแปลงตัว “ส” ให'อดคล'องกับตวั “S” ทเี่ ปนอักษรตัวแรกของทุกองคป* ระกอบหลักทั้ง 5 องค*ประกอบในกจิ กรรมดังกลาว กิจกรรม 5 ส. ในประเทศญป่ี นJุ กนั เรียกวา 5 S คือมหี ลกั ในการปฏบิ ัติอยู 5 ประการ คือ 1. Seiri (สะสาง) 2. Seiton (สะดวก) 3. Seiso (สะอาด) 4. Seiketsu (สุขลักษณะ) 5. Shitsuke (สรา' งนิสัย) พิจารณางายๆ จะเห็นวา 3 ตัวแรกเปนข้นั ตอนการกระทาํ ท่ีสงผลตอวัตถุ ทีเ่ ราไดเ' ข'าไปจดั การ สวน 2 ตวั หลังเปนผลพวงจากการกระทํา 3 ตัวแรก แลว' เกิดเปนประโยชน*ตอตวั ของเรา หรือกลาวอีกนยั หนึ่งคือ เกิดผลตอตวั บคุ คลผ'กู ระทํากิจกรรม 5 ส. เพ่ือใหเ' ห็นภาพท่ชี ดั เจนขน้ึ จงึ ขออธิบาย “ส” แตละตัวตามลาํ ดับ 2.4 ใครควรเริ่มทาํ 5 ส. ก$อน การทาํ 5 ส. เปนงานท่ที ุกคนตอ' งทาํ ไมแบงวาเปนระดบั ไหน และต'องทาํ ไปพร'อมๆ กนั อยางไรก็ ตามสําหรับหนวยงานทไี่ มเคย 5 ส. มากอน จดุ เริ่มตน' อาจจะต'องมาจากข'างบน เปนการดาํ เนนิ กิจกรรมใน ลักษณะจากบนลงไปลาง (Top–Down) โดยตอ' งเปนการกระตนุ' จากระดับบรหิ าร หรือระดับจัดการกอน โดย เปนกาํ หนดนโยบายและสงเจ'าหน'าท่ีดูแลเรอ่ื งนีโ้ ดยตรง เข'าไปดูแล แตเมื่อถึงเวลาหน่ึง หนวยงานแทบจะไม ต'องเข'าไปยงุ เกยี่ วเลยด'วยซํา้ คนท่ีรูจ' ดุ มุงหมายของ 5 ส. จะสามารถดูแลตัวเองในการทํา 5 ส. ได'ตลอดไป และทส่ี ําคัญลักษณะของกิจกรรมจะสงผลยอ' นกลับ คือจะเกิดผลดีกลับขึน้ ไปตอการบรหิ ารและจดั การใน ภาพรวม เรียกวาย'อนกลับขนึ้ ไปจากขา' งลางไปสูข'างบน (Bottom–up) สง่ิ สาํ คัญในการลงมือทํากิจกรรม 5 ส. นน้ั คือตอ' งทําอยางตอเน่ือง ทาํ ใหเ' ปนความเคยชิน ประโยชน*จา

7 การทํา 5 ส. ทงั้ จากสวนบนไปสูสวนลาง และจากสวนลางไปสสู วนบน จงึ จะปรากฏผลชัดเจน ซ่งึ เราสามารถดู ผลสําเรจ็ ของชาวญป่ี ุJนเปนตวั อยาง ไมวาจะเปนระดบั บุคคล ระดับองคก* ร หรือระดับประเทศ 5 ส. เปนสิง่ ท่ี อยคู ูกับการพฒั นาของพวกเขามาโดยตลอด ปจ[ จบุ ันถ'าเราไปถามคนญ่ีปุนJ วารจ'ู ัก 5 ส. หรือไม สวนใหญจะบอกวาไมรจ'ู ัก ท่เี ปนเชนนนั้ ไมใชญี่ปุนJ ไมไดท' ํา 5 ส. แตเปนเพราะเขาทําจนกลนื กลายเปนนสิ ัยสวนหนง่ึ ของชวี ิตแล'ว ซึง่ จากการทาํ 5 ส. จน กลายเปนนสิ ยั ของชาวญ่ีปJุนนีเ้ อง เปนสวนหนงึ่ ทีท่ ําใหป' ระเทศท่เี ปนผู'แพ'ในสงครามโลกคร้ังที่ 2 อยางพวกเขา สามารถพัฒนาตนเองจนกลายเปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจได' ท่กี ลาวมาไมใชเรื่องลอ' เลน แตเปนสิ่งทเี่ กดิ ข้ึนจริง จากอดีตถงึ ปจ[ จบุ นั องค*กรตางๆ ทั้งขนาดเล็กและ ขนาดใหญในประเทศญป่ี ุJนใช'หลัก 5 S (หลกั การ 5 ส. ในภาคภาษาญ่ีปุJน) เปนหลักสําหรบั วางรากฐานพัฒนา คน พัฒนาสภาพแวดล'อมในการทาํ งาน และพัฒนางานได'อยางมีประสทิ ธิภาพ ผู'บริหารเกอื บท้ังหมด ไมลังเล ทจ่ี ะเปนตัวอยางทีด่ ีในการทํา 5 ส. ใหพ' นักงานเห็น พนักงานเองก็เชื่อม่นั วา นี่คือแนวทางที่ดีท่ีจะชวยให'การ ทํางานของตนเองสําเร็จไปได'งายขน้ึ 5 ส.จึงเปรียบเสมอื นจดุ รวมในองค*กร ทีย่ ึดเหนี่ยวให'ทั้งหมดกา' วหน'าไป ในทศิ ทางเดียวกันในการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิต 2.5 ขน้ั ตอนในการดาํ เนนิ งาน 5 ส ส” แรก ใหส' ะสาง(Seiri)ของที่ใช'ได'กับใชไ' มไ$ ด' เนื่องจากเปน “ส” ตวั แรก และเปน \"ส\"ท่ตี อ' งอาศยั ความต้ังใจในการลงมือทําอยูสักหนอย เพราะ หลายคนคงไมร'ูจกั จะเร่ิมอยางไร หรือมสี ่งิ ที่ต'องเรมิ่ ทาํ มากจนสับสน ดงั นน้ั จงึ ตอ' งอธิบายกนั ให'ละเอยี ดสกั เลก็ นอ' ย ความหมายของการ “สะสาง” คือ แยกใหช' ัด ส่ิงทมี่ นั ปะปนกนั นน้ั แยกออกไป ไปอยเู ปนหมวดหมู สิ่งของเคร่ืองไม'เครอ่ื งมือทไ่ี มจาํ เปนจะต'องไมมีปรากฏอยู อันจะทําให'การทาํ งานหรือหยิบฉวยสงิ่ ท่ีจาํ เปนมา ใช'ไดร' วดเรว็ ยิ่งขนึ้ เมื่อพจิ ารณาดแู ลว' กจ็ ะเหมือนกับการกําจัดปฏิกูลกองใหญทิง้ ไป แตในความเปนจรงิ ปฏิกูล ดงั กลาวไมได'ถูกทิง้ ไปจนหมดสิ้น แตจะถกู แบงไวต' ามแตละประเภท บางอยางยงั เก็บไว'ใช'ได'กจ็ ะถูกนาํ ไป รวบรวมไวเ' ปนระบบ บางอยางนาํ ไปรีไซเคิลได' บางอยางนาํ ไปจาํ หนายจายแจกได' การสะสางน้ัน หากได'กระทําตามข้นั ตอนและวัตถปุ ระสงค*ของตวั มนั เองแลว' จะเหน็ วาเกิดประโยชน* ในด'านของความสะดวกและรวดเรว็ รวมถึงเกิดประโยชน*แฝงทมี่ าจากการสะสาง นั่นคือ เราจะมพี ้นื ทว่ี าง (Space) ท่ีจะนาํ มาใชป' ระโยชนใ* นการเก็บของอื่นๆ หรอื ใช'ประโยชนอ* ื่นๆไดด' 'วย สวนที่ไมต'องการจงึ ท้งิ ไป หรอื นําไปขายไดเ' งนิ กลบั คนื มา กระทั่งจะเอาไปรีไซเคลิ กเ็ ปนอีกทางหนง่ึ ที่กอประโยชน*ได'

8 การรณรงค*ให'ประชาชนแยกขยะประเภทของกรุงเทพมหานคร ถอื เปนตวั อยางหนึง่ ของการนาํ เรอ่ื ง การสะสางมาใชไ' ด'อยางชดั เจน ซ่ึงเกณฑใ* นการแยกขยะอาศยั หลักงายๆ โดยจะแยกขยะเปน 3 ประเภท คือ 1.ขยะท่ีสามารถนํากลับไปใช'ได' 2.ขยะทเ่ี ปนของสด จะเนาเปxyอยเมื่อถึงเวลา 3.ขยะอันตราย เชน สารเคมี หรอื วัตถมุ ีพษิ การแยกขยะดว' ยวิธดี ังกลาวถือการทํา “สะสาง” อยางหน่ึง เพราะของท่ีได'จาการสะสางบางสวน สามารถนาํ กลับไปใชไ' ด'อีก บางสวนใช'ไมได'กต็ 'องทงิ้ ไป ถ'าไมมีการแยก ของที่ใช'ไดจ' ะกลายเปนของเสียโดย ถาวร หรอื เปนขยะโดยท่ยี ังไมใชขยะน้นั เอง อยางไรก็ตาม ปญ[ หาสาํ คัญทสี่ ดุ ของขั้นตอนการสะสางน้ัน ก็คือ “การเรม่ิ ทจี่ ะสะสาง” โดยเฉพาะ กบั คนท่ีวางกองส่งิ ของไวร' อบตัวเตม็ ไปหมด จะรสู' ึกลําบากกวาคนที่มีการจัดระบบอยูกอนแล'ว คนกลุมนจ้ี ะ ปฏิเสธการทํา 5 ส. ด'วยเหตผุ ลอันน้ี ดังนั้นหน$วยงานทท่ี าํ 5 ส. ต'องสร'างความเขา' กบั บุคคลผ'มู คี ณุ สมบัติ สว$ นตัวอยู$มากและไม$คอ$ ยมรี ะเบยี บให'ได'ว$า การสะสางน้ัน จะลาํ บากกอ$ นในตอนแรกแลว' จะสบายในตอน หลงั ขณะทม่ี ีคนอีกกลุมหน่ึงที่เปนโรคเสยี ดาย คือของเก็บๆ ไวน' ้ัน ไมอยากจะทิง้ กลวั วา การทําการสะสาง แลว' ตอ' งทง้ิ ใหห' มด ถา' จะต'องนํามาใช'อีกแล'วจะเปนยังไง จุดนี้ถกู ต'องตรงทกี่ ารมองเหน็ คุณคาของส่งิ ของทุก ชนิ้ แตต'องอยาลืมวาถงึ เก็บเอาไว' แตเก็บไว'แบบรก ๆ หรอื ปนกันอยู ของที่มีประโยชน*ก็อาจจะหาไมพบหรือ ปะปนจนเสียหาย แทนทีจ่ ะนํามาใช'ได'กลายเปนต'องท้ิงไปเปลา ๆ ในภายหลงั การสะสางไมใชการท้งิ แตเพียงอยางเดียว แตเปนการ “คัด” เพอ่ื ให'ไดส' ิ่งท่ีเหมาะสมทส่ี ดุ ทกุ อยางมา วางเรยี งไว'ในระบบความคดิ ของเรา คนท่ีจะเริ่มทาํ 5 ส. ตอ' งเข'ใจพน้ื ฐานเปนอนั ดบั แรก ทนี่ จ้ี ุดสาํ คัญของขัน้ ตอนการสะสาง คอื 1.ผ'ูบรหิ ารจะต'องกําหนดนโยบายให'ชดั เจนวา อะไรคือของทไ่ี มต'องการ เพราะสิ่งสาํ คัญของการ สะสางคือการแยกของท่ีตอ' งการและไมต'องการออกจากกัน 2.ผ'บู ริหารตอ' งลงไปสมั ผัสด'วยตาและมือของตนเอง เข'าไปตรวจสภาพความเปนจริง เพื่อใหร' ับทราบ วา ทผ่ี 'บู ริหารคิดวาไมต'องการนัน้ พนักงานอาจเหน็ เปนสงิ่ จําเปน หรือทีผ่ 'ูบรหิ ารอยากเก็บไวแ' ตพนักงานอาจ มองวาเกนิ ความจําเปน และทาํ ใหเ' สียพืน้ ท่ีไป ตรงน้ีท้งั 2 ฝาJ ยต'องเปoดใจและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กัน ซ่งึ ผลพลอยได'ท่ีจะตามมาท่สี าํ คัญ คอื จะสามารถกําหนดหรือวางแนวทางในการจัดหาเครื่องไม'เครื่องมือ หรือ

9 อปุ กรณ*ตาง ๆ ได'ตรงตามความตอ' งการ รูว' าควรจะให'อะไรไปมากน'อยเพยี งใด ไมใชให'ไปวางไวเ' ฉย ๆ หรือ เอาไปทิง้ ในที่สุด สรุป ได'งา$ ย ๆ ว$าประโยชนท่จี ะไดจ' าการสะสางคอื 1. สามารถทราบจาํ นวนของทยี่ งั ใชไ' ดว' าเหลืออยูอีกเทาไร 2. ประหยัดพน้ื ท่ีในการจัดเกบ็ เพราะไมต'องสิ้นเปลืองพืน้ ที่เพ่ือเก็บขยะหรือของท่ีไมใช'แล'ว 3. ไมกอใหเ' กดิ ข'อผดิ พลาดในการใช'ของ พนักงานท่ีได'ปฏิบตั ิการ “สะสาง” แลว' ผลทีไ่ ด'รบั นอกจากจะชวยขจัดความสิ้นเปลืองของวัสดุ ของการใช'พืน้ แล'วท่ีสาํ คัญคือจะสามารถชวยองค*กรลดการจัดหาสถานที่จดั เก็บของลงได' ท้ังพวกโตะz ต'ูเอกสาร ชั้นวางของ แม'กระทั่งไปชวยลดสต็อกสินคา' หรอื สนิ คา' ในระหวางการผลิตได'ด'วย “ส” ท่ี 2 คือ สะดวก(Seiton) หยบิ ก็งา$ ย หายก็รู' ดูก็งามตา เปนขน้ั ตอนที่ตอเน่อื งจากการทําสะสางสิง่ ของ กลาวคอื เปนขัน้ ตอนทจี่ ัดสง่ิ ของท่ีทําการสะสางให'มี ระเบยี บ ทง้ั นีเ้ พื่อใหง' ายในการใชส' อย ในขั้นตอนนเี้ ราอาจจะแยกของท่ไี ดจ' าการสะสางเปนหมวดหมู เปน ประเภทโดยอาจจะเกบ็ ของท่ีใช'บอยๆ ไว'ใกล'ตัว หรือเขียนปCายติดไว' เพื่อนาํ มาใชส' อยได'งาย ประโยชนอ* กี อยางหน่ึงของข้นั ตอนน้ี คือสง่ิ ท่เี กบ็ ไว'จะดเู รยี บรอ' ยดสู บายตา ถ'าหายหรือถูกเคล่ือนยา' ยก็จะสังเกตได'งาย ถา' การ “สะสาง” คอื เพ่ือคัดเพือ่ แยก ในข้ันของ “สะดวก” ก็คือการจัดให'เปนระบบระเบยี บเพ่ือนาํ มา ใชไ' ด'งายๆ เหมือนกบั ทชี่ าวญปี่ นJุ เปรียบเทียบไว'วาเหมือนกับ “เจ'าสาวท่ีมีหีบไม'เกบ็ ของ อนั แสนสะ สะดวกสบายอยางมากในการขนยา' ยไปบ'านสามี และหยบิ ออกมาใช'ได'ทันทีท่ีไปถงึ ” เพ่ือให'เหน็ ภาพทช่ี ดั เจนของแนวคิดการทาํ ขน้ั ตอน “สะดวก” นน้ั สามารถดูได'จากนิสยั การถอดรองเทา' ของคนญี่ปJนุ ตามธรรมดาสวนใหญแลว' คนญ่ปี นJุ เวลาจะเข'าบ'าน ไมวาจะเปนของตวั เองหรืออาคารสถานที่ อ่ืนๆ เขาจะถอดรองเทา' แล'วเรียงไว'เปนคขู องตนโดยหนั หน'าออกสูทางด'านนอก เพื่อความเปนระเบียบและ สะดวกในการสวมใสอกี ครง้ั ตอนที่จะออกไปข'างนอก ในทางกลับกัน คนไทยไมวาจะอยูท่บี 'านหรือไปสถานที่แหงไหนกต็ าม การถอดรองเทา' จะไมเปนท่ีเปน ทาง บางครงั้ ไมได'เรียงเปนคูด'วยซาํ้ ไป หรอื ดีหนอยกจ็ ะเรียงเปนคแู ตหนั หน'าเข'าตวั อาคาร พอตอนออกจะใส อีกคร้ัง ที่ไมเรยี งไว'หาคูของมันไมเจอ และท่เี รียงไวห' นั หน'าเข'าใน ก็จะตอ' งกลบั ตัวเพื่อใสรองเทา' และกลับตวั อกี คร้ังเพ่ือเดินออกไป เปนการวนุ วายโดยใชเหตุ

10 ตรงนแี้ สดงใหเ' ห็นว$า แมก' ระทง่ั เรื่องเล็กน'อยหากไมท$ ําให'เปนระบบกท็ าํ ใหเ' สียเวลาได' และหากเปน เรื่องใหญ$ ๆ ระดบั องคกรหรือระดับหน$วยงาน ผลที่ตามมาจะย่ิงมากมายเพียงใด ท้ังนี้วิธปี ฏิบัติข้นั ตอน “สะดวก” นี้ ก็ไมได'ซบั ซอ' นอะไร ทส่ี ําคญั คือนาํ ออกมาใช'ได'งาย โดยวธิ ีปฏิบตั ิ พน้ื ฐานจะประกอบไปด'วย 1. จัดแยกของที่ใชง' านออกเปนประเภทตางๆ 2. เม่อื แยกประเภทแล'ว ใหจ' ัดเก็บใหเ' ปนระเบียบ 3. อาจตดิ ปCายแสดงวาเปนของประเภทใด ท้งั นี้อาจรวมถึงคุณสมบตั นิ ํา้ หนัก และวันหมดอายกุ ารใชง' าน (ถ'ามี) จดุ สาํ คัญของข้ันตอน “สะดวก” คอื การจัดระบบ ไลตั้งแตการกาํ หนดทว่ี างใหแ' นชัด ของแบบใดควรจะ อยตู รงไหน ซ่ึงต'องกําหนดอยางสมเหตสุ มผล ของทใ่ี ช'กับงานแบบหนง่ึ อาจตกแตกเสยี หายได'งาย อาจตอ' งกนั ไวใ' นมมุ ท่หี ลีกเลย่ี งการกระทบกระแทกได' ของอะไรท่ีไว'ใกลก' ันจะทาํ ให'อีกอยางเสยี หาย กต็ อ' งแยกกันหางๆ อีกส่งิ หนง่ึ ไมควรจะมองขา' มในการทําข้นั ตอน “สะดวก” คอื การทําแผนผังรวม สําหรบั กําหนด แนวทางในการจัดวาง ซง่ึ จะแสดงสถานท่วี างส่งิ ของหรือเครอื่ งมือ เพื่อจะสามารถรวบรวมสิ่งของทต่ี 'องการมา ไวใ' นทีเ่ ดยี วกันไดแ' ละแผนผงั นีค้ วรแสดงลําดบั การรวบรวมสง่ิ ของด'วยวิธงี ายๆ และใชเ' วลาน'อยท่ีสุด และต'อง ตรวจสอบเพือ่ ให'เหน็ จรงิ วา ทุกคนปฏิบตั ิได'ตามเปาC หมายและแนวทางทีว่ างไว' การทําขัน้ ตอนสะดวกก็จะ สงผลในแงคุณภาพ ประสทิ ธิภาพและความแลความปลอดภยั ได'ชดั เจนยง่ิ ข้นึ พนกั งานที่ไดร' บั ปฏิบัติขนั้ ตอนสะดวกแลว' ผลทจี่ ะได'รับอยางเห็นได'ชดั คอื พวกเขาจะเสยี เวลาในการ ค'นสิง่ ของ เครื่องมือ อุปกรณ*ตางๆ น'อยลงของไมหายและตรวจสบความคงอยูของส่งิ ของได'งาย ทสี่ าํ คัญ “เวลา” ทเี่ คยใช'ไปในการคน' หาจะได'กลบั คนื มาเปนเวลาท่ีนําไปใช'ในการทาํ งานได'มากขึ้น “ส” ที่ 3 ต'อง สะอาด(Seiso) เพ่ือความพร'อมในการทาํ งาน จากสองขัน้ ตอนแรก จะสืบเนื่องมายงั ขน้ั ตอนน้ี คือเม่อื ทาํ การสะสางแล'วแบงแยกเพ่อื ความสะดวกแล'ว ตรงนจี้ ะงายในการนาํ มาทาํ ความสะอาด ที่กลาวมาอาจมีคนสงสัยวา ทาํ ไมเราไมเร่มิ จากการทาํ สะอาดกอนถงึ มาทําการสะสาง ถา' ทําเชนนั้น คือทําความสะอาดกอน เราจะต'องมานงั่ ทาํ ความสะอาดขยะคือของทจ่ี ะไมใช' หรอื จะต'องทิง้ ไปพรอ' มๆ กบั ของที่เราจะเก็บเอาไวด' ว' ย อยางนี้แทนท่จี ะใชเ' วลาได'อยางมีประโยชน* กลบั มา เสยี เวลากับเรอื่ งไมจาํ เปนไปแทน

11 หรอื หากจะถามอกี วาทําไมต'องทําความสะอาดด'วย ในเม่ือสะสางจนเกิดความสะดวกในการใช'สอย แล'ว จดุ สําคัญของช้นั ตอนการสะสางคือ ความสะอาดท่ีเกิดขึ้นตามมาน้นั จะทาํ ใหส' ถานทที่ าํ งานนาอยู นา ทํางาน และมีผลอยางมากในการทําให'ผทู' ํางานอยูในสถานทนี่ ้นั สภาพแวดลอ' มสะอาด จิตใจของคนที่ทาํ งาน อยกู ป็ ลอดโปรง สดชน่ื และกระตอื รือร'นทจี่ ะปฏิบตั หิ นา' ที่อยางเต็มกาํ ลงั มเี รอ่ื งเลากันวา ในการตรวจการทํา 5 ส. ของอาจารย*ชาวญ่ปี นุJ ครั้งหน่งึ อาจารย*พบวา ขอบบนของ รปู ภาพโชวต* ามฝาผนงั มีฝนุJ เกาะอยูมาก จงึ บอกเจ'าของพ้นื ทว่ี าสกปรกและจะต'องปรบั ปรงุ พนกั งานเจา' ของ พ้นื ท่จี ึงโตแ' ยง' วา ขอบรูปดังกลาวอยูในสวนทม่ี องไมเห็นไมนาท่ีจะต'องเปนประเดน็ ในการตัดสนิ ในการ ประกวด อาจารยจ* ึงต'องยกตัวอยางในการอธิบาย อาจารยญี่ปนHุ “คณุ ใสกางเกงในหรือไม” เจ'าของพนื้ ท่ี “ใส” อาจารยญ่ปี นHุ “แลว' คณุ เปล่ยี น หรอื ซักกางเกงในของคุณบ'างหรอื ไม” เจ'าของพนื้ ที่ “กต็ 'องซัก หรือเปลยี่ นซคิ ะ” อาจารยญปี่ ุHน “อ'าว ! คณุ ต'องเปลี่ยนทาํ ไมละ? ก็เม่ือมันอยขู 'างใน ไมมคี นเหน็ ก็ไมจําเปนต'องซัก หรือเปลีย่ น ใหย' งุ ยากไมใช” เจ'าของพ้ืนที่ “……..” อุทาหรณ*ขา' งต'น เปนตัวอยางทด่ี ีมาก ชี้ให'เห็นวา ถึงแม'บางจุดเรามองไม$เห็น ก็มีสว$ นสําคญั ทจี่ ะต'อง ทําความสะอาดอยา$ งสม่ําเสมอ เพ่ือสุขภาพท่ดี สี ําหรับเรานัน่ เอง นอกจากน้ี อานสิ งส*สาํ คัญของการทาํ ความสะอาดทเ่ี กดิ ข้ึนตามมากค็ ือ เปนการตรวจสอบของเครื่องไม' เครอ่ื งมอื อุปกรณต* างๆอยางใกลช' ิด ทาํ ให'รู'ถึงข'อบกพรองท่ีมอี ยู ซ่งึ ปรกตขิ 'อบกพรองเหลาน้ันมกั จะถูกมอง ผานไป หรอื ไมถูกสังเกตพบ โดยแนวปฏบิ ัติง$ายๆของข้ันตอนการทําความสะอาดไมม$ ีอะไรมาก คือ 1. ปด[ กวาดเช็ดถูทุกวนั 2. มงุ แก'ไขป[ญหาในเรอ่ื งฝุนJ ผง ซง่ึ เปนต'นตอของการเส่ือมสภาพของวัสดุอปุ กรณ*หลายประเภท 3. ยึดม่ันเสมอวาไมมีขยะ ยงั ไงก็ไมเลอะเทอะ

12 ซึง่ หลกั ปฏบิ ัติงาย ๆ ในขา' งต'น ตอ' งครอบคลุมถึงความสะอาดอยางแท'จรงิ ในทกุ หนทุกแหง ผลท่ีตามมา นอกจากผลในแงจิตใจแล'ว ความปลอดภัยในการทํางานจะย่ิงมากขึ้นไปดว' ย เพราะหลายครงั้ ทเ่ี ครื่องมือตางๆ ชาํ รดุ ขดั ข'อง หรอื ทาํ งานเพยี้ นไปจากเดิม เนือ่ งจากความสกปรกหรอื การเข'าไปอุดตนั ของฝุนJ ละออง ซึง่ อาจ กอใหเ' กิดอนั ตรายตอผู'ปฏิบตั งิ านได' ใหร' ะลกึ ไว'ว$าการรักษาความสะอาดจะเกดิ ผลดีกบั 3 สว$ น 1. กับคน คือปลอดภัย ไมผิดพลาด 2. กับเครื่องจกั ร คือเทย่ี งตรง ยึดอายุการใชง' าน และปCองกันสภาพแวดลอ' มเปนพษิ 3. กบั ผลิตภณั ฑ* คือชวยขจดั ปญ[ หาสนิม เพม่ิ คุณคาในการใช'งาน และลูกค'าเช่ือถือ “ส” ที่ 4 คอื ถูกสุขลกั ษณะ(Seiketsu) เพื่อความแจ$มใส สุขกายสุขใจ เราพดู ถงึ 3 ส แรก ซ่ึงเปนการกระทําตอวัตถุสิง่ ของไปแล'ว “ส” ตวั ที่ 4 คือสุขลักษณะ เปนผลพวง จาการทํา 3 ส ที่ผานมา คือเม่ือเรากาํ จดั ขยะท่ีไมใช'ออกจากของท่เี ราใช'แลว' ยอมเกิดความสะดวกในการใช' สอบ และเมื่อทาํ ความสะอาดสิง่ ของเหลานั้นยอมทําให'คุณภาพในชีวิติทงั้ รางกายและจติ ใจของผใ'ู ช'สิ่งของดขี นึ้ ไมต'องสัมผสั หรอื จับต'องของสกปรก คือเปนการสรา' งสุขลักษณะท่ีดี กล$าวงา$ ยๆ ได'ว$า สุขลกั ษณะที่ดีของพนักงานจะเกิดขึน้ เพราะ 3 ส แรก ซ่ึงจะสง$ ผลย'อนกลับไป ใหม' กี ารหมั่นรักษา 3 ส ทีก่ ล$าวมาย$างสม่ําเสมอ “ส” ตัวนจี้ งึ เปนเรือ้ งของนสิ ัยเปนหลัก เหมือนการ อาบนา้ํ ทเี่ ปนสขุ ลักษณะท่ีดีต$อเรา เปนการเอาของเสยี ออกจากร$างกายของเราวธิ หี น่ึง เราเห็นวา$ การ อาบนํา้ น้นั สําคญั และจําเปนหรอื เปล$า การทํา 5 ส. ในสว$ นของสรา' งสุขลักษณะกเ็ หมอื นกนั ถ'าเราไมเ$ หน็ ความสําคญั หรือความจําเปนในการกระทําแล'ว เรากไ็ ม$ตอ' งอาบน้าํ ทุกวันนนั้ เอง เรอื่ งของสขุ ลักษณะนน้ั เปนเรื่องทม่ี งุ เน'นพฤติกรรมของคนเปนหลกั โดยที่ทุกคนจะต'องชวยกัน สรา' งท่ีทาํ งานให'มสี ภาพและบรรยากาศท่ีมีลกั ษณะกอให'เกดิ ความสขุ ทั้งกายและใจทกุ คน ปราศจากส่ิงรบกวน ตางๆ อันจะมีผลกระทบตอสมาธใิ นการทาํ งาน โดยมงุ ผลดีท่มี ีตอประสาทสัมผัสทั้ง 3 คือ 1.ตา – ดูแลแล'วสบายตา ซ่ึงจะเกิดไดต' 'องทาํ สะสาง สะดวก สะอาด ให'เรียบร'อยอย$างมี ระบบและไดร' บั ความรว$ มมือจากทกุ ระดบั ก$อน 2.จมูก – อากาศทีหายใจเขา' ไปต'องไมท$ าํ ลายหรือเปนอนั ตรายตอ$ สขุ ภาพ และต'อง ปราศจากกลนิ่ อนั ไมพ$ ึงประสงค

13 3.หู – เสยี งตา$ งๆ ในทีทํางาน ต'องเปนเสียงที่ไม$รบกวนสมาธิในการทํางาน จุดสาํ คัญที่สุดของการรกั ษาสุขลักษณะในที่ทาํ งานนน้ั คือความรวมมือของทกุ ๆ ฝาJ ย ไลตั้งแต ผ'ูบรหิ ารระดับสูงไปจนถึงระดับลางทต่ี 'องชวยกันดูแลชวยกนั ปฏิบตั ิ ซงึ่ หลักปฏบิ ัติงายๆ ทตี่ อ' งชวยกันทํากค็ ือ ทําสะสาง สะดวก และสะอาดอยูเปนนิจ และหาทางปรบั ปรงุ ปฏบิ ตั ิ 3 ส แรกอยเู สมอ อยาลมื วา “ส” ตวั นี้เปนเรอื่ งของนิสยั ที่นาํ ไปสพู ฤติกรรมทีด่ ี และเม่อื เปนเร่ืองของนสิ ยั แลว' ถา' เกดิ ขึ้นจะอยูอยางคงทน และถายทอดให'กันได' ดงั น้นั หากพนกั งานในองค*กรถกู ปลูกฝ[งจนเกิดนสิ ัยรกั สขุ ลักษณะแลว' เราจะสามารถมั่นใจได'มากข้ึนวา พวกเขาจะทาํ 5 ส. ด'วยตัวเขาเอง และไมต'องมีคนมา กระต'ุน นอกจากนี้ ยังอาจชักนาํ ใหค' นอน่ื หันมาปรับเปลี่ยนนสิ ัยและพฤติกรรมตามไปด'วยกไ็ ด' “ส” ท่ี 5 สร'างนสิ ยั (Shitsuke) ให'รกั ที่จะทํา 5 ส. เราลองพิจารณารากศัพทข* องตวั อักษรจนี ในภาษาญ่ีปุนJ ของคาํ วา “Shitsuli” กนั กอน คํานจ้ี ะมีอยู 2 ความหมาย ความหมายแรกคือการใชเ' ขม็ เย็บผา' ในข้ันตอนลองตัวกอนจะมีการเย็บจริง แตอกี ความหมายหนึ่ง คอื การฝ?กรักษากฎเกณฑ*ท่ตี กลงกันไวใ' ห'เปนนิสยั คาํ วา “Shitsuke” ทใี่ ช'ใน 5 ส. จะหมายถึงความหมายที่ 2 เปนการสรา' งนิสัยซึง่ เชือ่ มโยงมาจาก “ส” ตัวอ่นื ๆ ที่กลา$ วมาท้ังหมด กลาวคอื “ส” ตัวนม้ี งุ ไปทีก่ ารสร'างระเบียบวินยั สรา' งนิสัยท่ดี ีใหเ' กิดข้ึนเปนขนั้ ตอนสุดทา' ยในการทาํ 5 ส. เปาC หมายสาํ คัญของขั้นตอนนค้ี อื ให'ผปู' ฏบิ ตั ริ กั ท่ีจะกจิ กรรม 5 ส. อยางเต็มที่ เพราะการทาํ กจิ กรรม 5 ส. ไมใชการทาํ คร้งั เดยี วแลว' เลิกหรือคิดวาเพียงพอแลว' เพราะถา' เปนอยางนัน้ ทุกอยางก็จะย'อนกลบั ไปอยูใน สภาพเดมิ ได' หรือเหมือนไมได'ทําอะไรเลย ดงั นน้ั การสร'างนิสัยให'รักท่จี ะทํา 5 ส. จึงเปนสง่ิ จําเปน หรอื อาจ กลาวไดว' าถือวาเปนส่งิ ทจ่ี าํ เปนทส่ี ดุ ในการทํา 5 ส. ก็วาได' เรื่องการสรา' งนสิ ยั เปนเร่อื งศลิ ปะเฉพาะตัวของแตละบุคคล บางคนก็สร'างงาย บางคนก็สร'างงาย บาง คนกส็ ร'างยาก แตเมื่อนสิ ยั ความเปนระเบยี บที่เกดิ จากการปฏิบัติ 5 ส. ได'กลายเปนความเคยชนิ ของบุคคลไป แลว' ไมวาเขาจะอยูทีส่ ํานักงานหรอื ทบ่ี 'านก็จะมีระเบยี บโดยไมรูต' วั เมื่อกลบั ถงึ บ'าน ก็ยงั นํา 5 ส. ติดตัวไปใช' เชน แยกขยะท่ีบ'าน จัดของใช'ใหอ' ยใู นหมวดหมูของมันเอง หรือเวลาขบั รถ ตอ' งคาดเข็มขดั นริ ภยั ทกุ ครั้งท่ีรถ ขับเคลื่อนออกไปเปนตน' ในการสร'างพนกั งานใหเ' ปนคนมีระเบียบวนิ ยั นนั้ จะตอ' งฝก? อบรมให'พนักงานมคี วามรู' ความเข'าใจตอ กฎระเบียบมาตรฐานการทํางานตางๆ เพื่อใหส' ามารถปฏิบัติจนเปนนสิ ัย จดุ สาํ คัญของขัน้ ตอนการสรา' งนิสยั คือ

14 1. การสรา' งนิสัยเปนเรื่องสาํ คญั ซ่ึงจะชวยพฒั นาให'พนกั งานปฏิบัติขัน้ ตอน สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกั ษณะ จนกลายเปนเรื่องติดตวั และปฏบิ ตั ิเปนประจําโดยไมมีใครมาบังคบั 2. หนวยงานต'องตอกย้ําเร่ือนีอ้ ยูเสมอและให'มคี วามตอเนื่องในกิจกรรม 3. ควรมีการประชมุ แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ของระดับตางๆ เพือ่ หาแนวทางและพดู คยุ ถงึ ป[ญหาท่ี เกิดขน้ึ อันจะนําไปสกู ารกําหนดเทคนิควิธเี หมาะสมกับแตละหนวยงานมากทส่ี ดุ อยางไรก็ตาม เปนหน'าทีข่ องทุกคนท่ีทาํ งานที่ต'องชวยกนั สรา' งจติ สํานึกทถี่ ูกต'องในการปรับปรุง สภาพแวดล'อมและบรรยากาศในการทาํ งานใหส' ดใส มชี วี ิตชีวา และให'พนกั งานได'มสี วนในการพฒั นาคุณภาพ และประสทิ ธิภาพใหเ' พิ่มมากยงิ่ ขน้ึ หากทุกคนรักท่จี ะทาํ 5 ส. ผลท่ีพนักงานและหนวยงานจะได'รบั กค็ ือ มาตรฐานท่ีดใี นการทาํ งาน สภาพแวดล'อมท่ีดขี ้นึ ตลอดจนสร'างความนาเช่ือถอื และไว'วางใจของลูกค'าได' และที่สําคัญ การรกั ท่ีจะทํา 5 ส. ยอมหมายถงึ พนักงานจะรักท่ีจะทาํ กจิ กรรมอนื่ ท่เี อือ้ อํานวยตอการเพมิ่ ผลผลิตตอไป 2.6 ประโยชนของการทํากจิ กรรม 5 ส. 1. สถานทที่ าํ งานสะอาด สะดวก และมีความปลอดภัย 2. สร'างบรรยากาศ และสภาพแวดลอ' มในการทาํ งานดีข้ึน 3. บุคลากรทํางานได'อยางรวดเรว็ และมีความถกู ต'องมากข้ึน 4. เกดิ ความรวมมือรวมใจกันมากข้ึนและผ'ูปฏิบตั งิ านเกิดความรกั ความผูกพนั กบั องค*กร 5. บุคลากรมีระเบยี บวนิ ยั เพมิ่ มากข้นึ และตระหนักถึงความสําคญั ของ 5 ส 6. ขจดั ความสน้ิ เปลืองของพ้ืนที่ 7. ลดขอ' ผิดพลาดในการปฏบิ ัตงิ าน 8. ลดเวลาในการคน' หาส่ิงของมาใชง' านเพราะมีการจดั เกบ็ ทเี่ ปนระเบียบทําใหห' ยิบจบั ได'งาย 9. ตรวจสอบหาส่งิ ของได'งาย (หยบิ กง็ าย หายก็รู' ดูก็งามตา) 10. เพ่ิมประสิทธภิ าพในการทํางาน เกิดความรวดเร็ว ถกู ต'อง และประหยดั 11. เกดิ ความปลอดภยั แกผู'ปฏิบัตงิ านมากข้ึน และเพ่มิ คุณภาพชวี ิตทด่ี ีในการทาํ งาน

15 12. เพิ่มประสิทธิภาพ และยืดอายกุ ารใชง' านของเคร่ืองจักร และอุปกรณ* 13. ลดอตั ราของเสีย และลดต'นทนุ 14. สุขภาพกาย สุขภาพใจของผป'ู ฏบิ ัติงานมคี วามสมบูรณ* คุณภาพชีวิตในการทํางานดีข้ึน 2.7 5 ส. คือมาตรฐานการทํางานและความภาคภูมิใจ มีความเชือ่ กนั วาสถานทท่ี าํ งานและโรงงานทีเ่ ปนระเบียบเรยี บรอ' ย จะสงผลให'เกดิ ความเปน ระเบยี บเรียบรอ' ยในการผลิตดว' ย หากการควบคุมการผลติ การบาํ รุงรกั ษา การประกนั คุณภาพ หรือการ วางแผนงานในโรงงานไมเหมาะสม ก็จะมีป[ญหาตางๆ เกิดขน้ึ มากมาย โรงงานกจ็ ะมสี ภาพรกรุงรัง ไมมีความ เปนระเบยี บ ในทางตรงขา' มกนั โรงงานทสี่ ะอาดเปนระเบยี บเรียบรอ' ย จะพบวาจาํ นวนครั้งที่เครื่องจักรเสยี หรือ อัตราของเสียจะตํ่ากวาโรงงานที่ไมเปนระเบยี บ รวมทงั้ ป[ญหาตาง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ กจ็ ะได'รับการแก'ไขได'งายและ ทันทวงที เคยมีการแบงโรงงานออกเปน 3 ประเภท คือโรงงานชัน้ ท่ี 3 คนในโรงงานตางคนตางทิง้ เศษสง่ิ ของ โดย ไมมีการทําความสะอาด ขณะทโ่ี รงงานชนั้ 2 ตางคนตางทงิ้ เศษสิง่ ของ แตมอี ีกกลมุ หนงึ่ ทําความสะอาดให' สวนโรงงานชัน้ ท่ี 1 นนั้ ไมมีใครทงิ้ เศษสิ่งของ และทุกคนจะชวยกนั ดแู ลรกั ษาความสะอาด เมือ่ พนกั งานฝ?กทํา กจิ กรรม 5 ส. อยางตอเน่ืองจนเกิดเปนนสิ ัย สถานท่ีทํางานหรอื โรงงานกส็ ามารถก'าวเปนหนวยงานหรือ โรงงานชั้นทีห่ นง่ึ ได' ความรวมมอื รวมใจของพนักงานกจ็ ะดีข้ึน ไมเฉพาะภายในพ้ืนทีน่ น้ั แตรวมถงึ หนวยงานทง้ั หนวยงาน การจดั การใหเ' กิดความเปนระเบียบร'อยในสถานท่ที าํ งานเปนสิ่งสาํ คญั ที่ทกุ คนในหนวยงาน จาํ เปนตอ' งกระทํา เพื่อสรา' งสรรคใ* ห'ทกุ คนที่ทํางานอยูมคี วามภาคภูมใิ จในหนวยงานของตน กจิ กรรม 5 ส. มี หลกั การงายๆ วา “ใหม' ที ี่สาํ หรับของทุกสง่ิ และของทุกสง่ิ ก็ต'องอยใู นท่ีของมัน” (A place for everything , and everything in its place) กจิ กรรม 5 ส. จะชวยพัฒนาสาํ นกึ ในเร่ืองการปฏิบัตงิ านให'ดีขึน้ ยง่ิ ไปกวานนั้ พนักงานผู'ซึ่งมีความ ภาคภูมใิ จในสถานที่ทํางานของตนจะสามารถผลิตสินค'าและบริการท่ีมคี ณุ ภาพสูงขนึ้ ด'วย อาจกลาวไดว' า การจัดให'มีความเปนระเบียบเรียบร'อยในสถานทท่ี าํ งาน โดยใช'หลัก 5 ส. เปนก'าว แรกของการบริการท่ีจะนาํ ไปสกู ารปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงานในหนวยงาน อันชวยเพ่มิ ผลผลติ ใหส' งู ข้นึ เพม่ิ ศกั ยภาพและความมีคุณภาพของทรัพยากรบคุ คลและเพม่ิ ขีดความสมารถในการแขงขนั ในโลกธุรกจิ ได'ในทส่ี ดุ

16 บทที่ 3 วธิ กี ารดําเนนิ โครงการ การดาํ เนนิ โครงการกจิ กรรม 5 ส. (โครงการรายงานวิชาการบรหิ ารงานคุณภาพในองคก* าร) จําทาํ เพ่ือ พัฒนาพืน้ ทภี่ ายในสถานประกอบการ โดยให'มีสภาพแวดล'อมท่ีสะอาดสบายตารวมถึงปรับปรงุ ของทช่ี าํ รดุ และ ตกแตงสถานประกอบการให'นาอยมู ากขึ้น สถติ ิทีใ่ ช'ในการศึกษาคร้ังนี้ ได'แก ความถรี่ 'อยละ (Percentage) คาเฉลย่ี (Mean) และ คาเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) มีขัน้ ตอนจดั ทําโครงการ ดังน้ี 3.1 รปู แบบการจัดทาํ โครงการ - โครงการรายวชิ า จัดทําขึ้นเพอื่ พัฒนาพ้ืนท่ภี ายในสถานประกอบการ 3.2 ประชากรและกลุ$มตวั อย$าง - นักศกึ ษาวทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ปวส.2 กลุม 4 จํานวน 5 คน 3.3 ประชากรและกลุ$มเปTาหมาย - บุคลากรในวิทยาลยั เทคนิคระยอง จํานวน 50 คน 3.4 ขั้นตอนการดําเนินการเก็บรวบรวมขอ' มลู 3.4.1 การวางแผนโครงการ 3.4.1.1 สรปุ หวั ขอ' โครงการท่ีต'องการศึกษา 3.4.1.2 ศกึ ษาเนื้อหาที่เกีย่ วข'องในการจัดทาํ โครงการ ต'องการปจ[ จัยใดบา' งในการดาํ เนิน โครงการ 3.4.2 เสนอโครงการ - จัดทําแบบเสนอโครงการ 3.2.3 การดาํ เนนิ งานโครงการ - จดั ทาํ รูปเลมโครงการให'ได'ใจความเนอ้ื หา 5 บท สามารถสรปุ ได' ดังนี้ บทท่ี 1 บทนาํ โดยมีเนื้อหาเรื่องเกยี่ วกับความเปนมา วตั ถุประสงค* ขอบเขตและประโยชนท* ่ี คาดวาจะได'รบั บทที่ 2 เอกสารทฤษฎี แนวคิดที่เก่ยี วข'อง โดยมเี น้ือหาเก่ียวกับการจัดทํา 5 ส.

17 บทที่ 3 วิธกี ารดําเนนิ การ โดยมเี นอ้ื หาท่ีเกยี่ วกับขัน้ ตอนการดําเนนิ งาน บทท่ี 4 วเิ คราะห*การประเมินผลและขอ' เสนอแนะ โดยมเี น้ือหาเกีย่ วกับการสรปุ ผลการ ประเมนิ ผลของวตั ถปุ ระสงค* เครื่องมือที่ใชใ' นการรวบรวมข'อมูล และการวเิ คราะห*ข'อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข'อเสนอข'อเสนอแนะ 3.4.4 จดั ทาํ ช้ินงานเปนรูปเลม - ศึกษาข'อมูลเก่ยี วกบั การทํา 5 ส. 3.4.5 ประเมนิ ผลโครงการ - จัดทําแบบประเมนิ ผลนักเรียน นักศกึ ษาฝก? ประสบการณ* 3.4.6 สรปุ ผล - สรุปผลจากแบบประเมนิ โครงการ โดยสรปุ วามคี วามพึงพอใจเทาใดและคาํ นวณออกมาเปน คาเฉล่ีย 3.4.7 รายงานประเมนิ ผล - จดั รางงายผลการดาํ เนนิ วานและนําเสนอตออาจารยท* ีป่ รกึ ษาโครงการ 3.5 สถิติท่ีใช'ในการวเิ คราะหขอ' มูล การวิเคาระขอ' มลู สรปุ ผลโครงการโดยใช'โปรแกรม Microsoft Word เพอ่ื วเิ คราะหข* 'อมูลดังนี้ 3.5.1 คาสถติ ริ 'อนละ (Percentage) P= × เมื่อ P แทนคาร'อยละ F แทนคาความถท่ี ี่ตอ' งการแปลคาให'เปนรอ' ยละ n แทนคาจาํ นวนข'อมลู ท้ังหมด

18 3.5.2การหาคาเฉลยี่ (x) ̅= ∑ เม่ือ แทนคาเฉลย่ี ∑ แทนคาผลรวมทั้งหมดของคะแนน n แทนคาผมรวมข'อมลู ท้งั หมด 3.5.3 สูตรการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เมือ่ S S = ∑ (∑ ) () แทนคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน n แทนคาจํานวนคูทง้ั หมด x แทนคาคะแนนแตละตัวในกลุมขอ' มลู ∑ แทนคาผลรวมของความแตกตางของคะแนนแตละคู ผ'ตู ดิ ตามและประเมนิ ผลดําเนินการวเิ คราะห*ขอ' มลู ท่ใี ช'ในการวเิ คราะหข* 'อมลู กําหนดเปน 5 ระดับ พิจารณาจากระดบั คะแนนเฉลยี่ ตามเกณฑ* ดงั น้ี 4.50 – 5.00 หมายถงึ ความคิดเห็นในเร่ืองน้นั อยูในระดับดีมาก 3.5 – 4.49 หมายถงึ ความคดิ เห็นในเรื่องนน้ั อยใู นระดบั ดี 2.50 – 3.49 หมายถึงความคดิ เหน็ ในเรื่องนนั้ อยใู นระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึงความคดิ เหน็ ในเร่ืองนน้ั อยใู นระดบั นอ' ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ ความคิดเห็นในเร่ืองนน้ั อยูในระดบั นอ' ยทส่ี ดุ





























33 แผนภูมแิ ทง$ แสดงความคดิ เห็นของผ'ตู อบแบบประเมิน

34 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข'อเสนอแนะ โครงการพฒั นา 5 ส. (โครงการการรายวิชาการบรหิ ารงานคุณภาพในองคก* ร) สถานประกอบการ ใน ครัง้ นี้เปนการประเมนิ เพื่อให'ทราบผลการดําเนินงานดังตอไปนี้ 5.1 วตั ถุประสงค 5.1 เพ่ือนํากจิ กรรม 5 ส. มาปรับปรุงการปฏิบัตงิ านของบุคลากรให'ทปี ระสิทธภิ าพ 5.2 เพือ่ สงเสรมิ การมีสวนรวมในการพฒั นาคุณภาพการทํางานใหแ' กบุคลากรทุกระดบั 5.3 เพอ่ื สงเสรมิ การมสี วนรวมในการพฒั นาคุณภาพการทํางานใหแ' กบุคลากรทกุ ระดบั 5.4 เพอ่ื กอให'เกิดความสามคั คใี นองค*กร 5.5 เพ่ือใหบ' ุคลากรและนักเรียน นักศกึ ษามคี วามรู'ความเข'าใจและมวี ินยั ในการปฏิบตั งิ านให' ความสาํ คัญตอการพัฒนางานอยางตอเนอื่ ง 5.2 ขอบเขตของโครงการ 5.2.1 เปCาหมายเชงิ ปริมาณ - นกั เรียน นกั ศึกษาท่ีฝ?กประสบการณ* จาํ นวน 2 คน - บคุ ลากรท่ีสถานประกอบการ โดยประมาณ 10 คน 5.2.2 เปCาหมายเชิงคณุ ภาพ - นักเรียน นักศึกษาและบคุ ลากรมสี ถานประการท่ีสะอาด เปนระเบียบมากขน้ึ - นกั เรียน นักศึกษาและบคุ ลากรสามารถนาํ มาประยุกต*ใช'ในชีวิตประจาํ วันได'

35 5.3 เครอื่ งมือทใ่ี ชใ' นการรวบรวมข'อมูล เครื่องมอื ที่ใช'ในการรวบรวมข'อมลู เปนแบบสอบถามท่ีผปู' ระเมนิ ผลสร'างข้ึนเองเปนแบบประเมนิ ประมาณคาประเมนิ ความพงึ พอใจของกลุมนักศึกษาแบงเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข'อมูลทั่วไป ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจตอนที่ 3 ข'อเสนอแนะ 5.4 วิธีการดาํ เนินงาน ดาํ เนนิ การจดั รปู เลมรายงานโดยมเี น้ือหาแบงออกเปน 5 บท ดงั น้ี -บทที่ 1 บทนาํ โดยมเี นื้อหาเกีย่ วกับความเปนมา วตั ถุประสงค* ขอบเขตการดาํ เนินการทําโครงการ ผลทคี่ าดวาจะได'รบั และนยิ ามศัพท* - บทที่ 2 เอกสารทฤษฎีและแนวคิดทีเ่ กย่ี วข'อง โดยมีเน้ือหาเก่ียวขอ' งกบั ความคาดหมายของกจิ กรรม 5 ส. ประโยชนข* องการทาํ กิจกรรม 5 ส. วงกรการบรหิ ารงานคณุ ภาพ (PDCA) หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คุณธรรม จริยธรรม นโยบาย 3ดี (3D) - บทที่ 3 วธิ กี ารดําเนินโครงการ โดยมีเนอ้ื หาเกี่ยวกบั ข้ันตอนการดาํ เนนิ การ - บทที่ 4 ผลการวิเคราะห*ขอ' มูล โดยมเี น้อื หาเกี่ยวกับผลการวเิ คราะห*ข'อมลู - บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายและข'อเสนอแนะ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกบั การสรปุ การประเมินผล วัตถปุ ระสงค* เครอ่ื งมอื ที่ใช'ในการเกบ็ รวมข'อมูล การวเิ คราะห*ข'อมลู อภปิ รายผลและข'อเสนอแนะ 5.5 การเกบ็ รวบรวมข'อมลู ผูป' ระเมนิ ผลได'ดําเนนิ การแจกแบบประเมนิ และชี้แจงการกรอกแบบประเมนิ แกกลุมคณะอาจารย* และศึกษา เพ่ือใช'ในการประเมนิ จาํ นวน 50 ฉบบั ได'รบั คืนมาจาํ นวน 50 ฉบับ ซงึ่ เปนแบบประเมนิ ท่ีสมบูรณ*

36 5.6 การวเิ คราะหข'อมลู ผต'ู ดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนินการวเิ คราะห*ข'อมลู ดงั น้ี หาคาร'อยละ และคาสวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเกณฑก* ารตัดสนิ ใจคาเฉลี่ยคณิต ทใ่ี ช'ในการวเิ คราะหข* 'อมูลกาํ หนดเปน 5 ระดับ พจิ ารณาจากระดบั คะแนนเฉลย่ี ตามเกณฑ* ดังนี้ ระดบั ความพึงพอใจมากทสี่ ุด หมายถึง 5 ระดับความพึงพอใจมาก หมายถงึ 4 ระดับความพงึ พอใจปานกลาง หมายถึง 3 ระดับความพงึ พอใจน'อย หมายถึง 2 ระดับความพึงพอใจนอ' ยท่สี ดุ หมายถงึ 1 5.7 สรุปผลการวเิ คราะห ประชากรตัวอยางของนักศกึ ษาประเมนิ ผลความพึงพอใจ จาํ นวน 50 คน

37 บรรณานกุ รม 1. https://th.wikipedia.org/wiki/5%E0%B8%AA 2. http://library.rsu.ac.th/library5s/lib5s_mean.html 3. http://www1.science.cmu.ac.th/5s/5s1.html 4. http://www.softbankthai.com/Article/Detail/826 5. https://reg7.pwa.co.th/kmr7/?p=421

ประวตั ิผจู ัดทาํ 1.นางสาว ธยาณี มากทวี เกดิ เม่ือ 14 ม.ี ค. 2543 ท่อี ยู 54 ม.11ต.บางบุตร อ.บา! นคาย ระยอง 21120 G-MAIL [email protected] 2.นางสาว วรณัน มีโพธิ์ เกดิ เมื่อ 15 เมษายน 2544 ท่ีอยู 153/13 ม.1 ต.เพ อ.เมือง จ.ระยอง 21160 G – MAIL [email protected] 3.นางสาว ผลทพิ ยF สุขล้ํา เกิดเมื่อ 7 ก.ค. 2543 ท่ีอยู 161/2 ม.2 ต.แกลง อ.เมือง จ.ระยอง 21160 G-MAIL [email protected] 4. นางสาวสฑุ าทพิ ยF หิรญั มาศ เกิดเมื่อ 10 พ.ย. 2543 ท่อี ยู 37/13 ม.5 ต.แกลง อ.เมือง จ.ระยอง 21160 G-MAIL [email protected] 5.นางสาว วรรณนภิ า ธรรมวงษF เกดิ เมื่อ 27 มีค.2543 ทอ่ี ยู 175/3 ม.8 ต.มาบขา อ.นคิ มพฒั นา จ.ระยอง 21180 G-MAIL [email protected]