Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 34068

34068

Published by mnbvc-98, 2020-04-15 00:19:47

Description: 34068

Search

Read the Text Version

คู่มืออาสาสมัคร ในสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ิ \"อาสาสมัครส้ไู หว เม่ือภัยพบิ ตั ิมา\"

ค�ำ น�ำ ภายใตส้ ถานการณ์ภยั พบิ ตั ิ อาสาสมัคร ดูเหมือนจะเปน็ สิ่งท่ียนื ยันใหเ้ ห็นคุณคา่ ทางมนุษยธรรมระหวา่ ง เพอ่ื นมนษุ ย์ดว้ ยกันอย่างชดั แจ้ง จติ อาสาไดเ้ บ่งบานอยา่ งประจกั ษช์ ัดในหว้ งเวลาทีอ่ าจร้าย แรงทส่ี ดุ อย่างไรกต็ ามแมว้ า่ ในสถานการณ์ภัยพิบัตกิ ารท�ำ งานตา่ งๆต้องปรับเปล่ยี นให้มคี วาม รวดเรว็ เพอื่ ให้ตอบสนองต่อความฉกุ เฉนิ แตห่ ากอาสาสมคั รไม่ได้เตรียมความพรอ้ มอย่าง เหมาะสม หรอื การทำ�งานของอาสาสมคั รไมม่ ีการจดั การทดี่ ี อาจทำ�ใหอ้ าสาสมคั รประสบภัย อนั ตรายเสยี กับตัวเองก็เปน็ ได้ คมู่ อื อาสาสมคั รในสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ิ จงึ เปน็ ผลลพั ธส์ บื เนอ่ื งจากประสบการณท์ �ำ งานชว่ งหลายปที ผ่ี า่ นมาในฐานะองคก์ ร บรหิ ารจดั การอาสาสมคั รของเครอื ขา่ ยจติ อาสา รวมทง้ั ไดร้ บั การ สนบั สนนุ ในการจดั ท�ำ คมู่ อื น้โี ดย ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ(สสส.) ด้วยหวงั ว่าอาสาสมคั รซึ่งมจี ติ อาสาทม่ี ี ความใส่ใจและความพยายามที่จะช่วยเหลือ สงั คมในยามเกดิ ภยั พบิ ัติ จะไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากคูม่ ือ เล่มน้ี ส�ำ หรบั การเตรียมความพรอ้ มด้วยตนเองใน เบือ้ งตน้ รวมทงั้ ได้เรียนรู้บทบาทของการเป็นอาสา- สมคั รในสถานการณ์ภัยพบิ ัติอยา่ งหลากหลาย และรอบด้านย่งิ ขึ้น เ​ครอื ข่ายจิตอาสา ​ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

สารบญั Why Volunteer?.............................................. 4 ท�ำ ความรูจ้ กั ภัยภบิ ัติ.................................. 6 การเตรยี มตวั เป็นอาสาสมคั ร................................. 16 บทบาทของอาสาสมคั ร.............................. 22 การจดั การกับภาวะอารมณ.์ .................................. 26 รายการสงิ่ ของจ�ำ เป็นในสถานการณภ์ ัยพิบัต.ิ ... 30 Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

Why Volunteer อาสาสมัครนั้นสำ�คัญไฉน ? ความสำ�คัญของอาสาสมัครในสถานการณ์ภัยพิบัติ สถานการณพ์ บิ ัติ เป็นเหตุการณร์ นุ แรงที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ ท�ำ ให้การท�ำ งานของชมุ ชนหรอื สังคมได้รับผลกระทบ สรา้ งความสูญเสยี ทัง้ ชีวติ ทรพั ยส์ ิน เศรษฐกจิ และส่ิงแวดลอ้ ม ครอบคลุมอาณาบริเวณเปน็ วงกวา้ งหรืออาจ เกดิ ข้ึนพรอ้ มๆกันในหลายๆพืน้ ที่ ทำ�ใหต้ ้องทำ�งานแขง่ กบั เวลาในการให้ความชว่ ย เหลอื ผลกระทบจากความสูญเสยี ทำ�ใหเ้ กิดความขาดแคลนในทรัพยากรต่างๆ รวม ถงึ ส่งกระทบตอ่ ชวี ติ ผ้คู นท้ังทางร่ายกายและจิตใจ นบั วา่ เป็นสถานการณค์ วามไม่ ปกติในสังคมที่เกิดข้ึนและเป็นสภาวะสำ�คัญที่ทำ�ให้เห็นปรากฏการณ์พลังของอาสา สมคั รทีเ่ ป็นกำ�ลังส�ำ คญั ในการทำ�งานชว่ ยเหลือจากภยั พบิ ัตคิ รง้ั ท่ีผา่ นๆมา อาสา สมัครสามารถสร้างผลกระทบในเชิงบวกต่อสังคมมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน สถานการณภ์ ัยพบิ ัติ แรงใจและแรงกายของอาสาสมคั รสามารถสรา้ งคณุ ประโยชน์ ตอ่ สังคมไดด้ งั ต่อไปนี้ •• อาสาสมคั ร มบี ทบาทเป็นผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลือฟน้ื ฟูสงั คมทางกายภาพใน ทกุ มิตขิ องการรับมอื กบั ภยั พิบตั ิ ดว้ ยทักษะความสามารถท่ีหลากหลาย และน�ำ ้ใจที่อยากจะช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย •• อาสาสมัคร มีบทบาทเป็นผฟู้ ืน้ ฟทู างดา้ นจิตใจ เป็นตัวประสานความ สมั พันธ์ในชุมชน และสรา้ งความหวังให้กบั ผ้คู นในสังคม •• อาสาสมัคร มีส่วนช่วยอยา่ งมากในการชว่ ยเตมิ เตม็ ความตอ้ งการและถม ช่องว่างดา้ นการชว่ ยเหลือของส่วนกลางทีอ่ าจจะชว่ ยเหลอื ไดไ้ ม่ท่ัวถงึ •• อาสาสมคั ร มบี ทบาทเปน็ กลไกสำ�คญั ท่เี ชื่อมรอ้ ยผคู้ นเข้าไว้ดว้ ยกัน สรา้ งความเชื่อมน่ั รว่ มกนั และกอ่ ใหเ้ กดิ ความสมานสามัคคีในสังคม •• อาสาสมัคร เป็นส่วนส�ำ คัญทจ่ี ะร่วมกนั สรา้ งพลเมอื งที่มีคุณภาพและ ส�ำ นกึ แห่งความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม •• อาสาสมัคร เป็นสว่ นส�ำ คัญของการสรา้ งความเปลี่ยนแปลงและชว่ ยแก้ ปัญหาสงั คม 4

ประโยชน์ของการเป็นอาสาสมัคร •• ได้สมั ผัสประสบการณ์ใหม่ พบเจอเพ่อื นใหมๆ่ ไดท้ ำ�ความเข้าใจสงั คม ในมิติทีต่ ่างออกไป •• ไดเ้ รยี นรแู้ ละเติบโต ได้รบั แรงบนั ดาลใจจากการไดล้ งมอื ทำ� •• ได้พัฒนาศกั ยภาพของตนเอง และไดเ้ รียนรู้ทกั ษะการทำ�งานใหมๆ่ •• ได้รับความสุขทางใจ ความภาคภูมิใจจากการไดแ้ บ่งปนั และชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน •• ได้เหน็ คณุ ค่าของตนเองทีเ่ ช่อื มโยงต่อสงั คม •• ไดร้ บั ความสนุกสนานทา้ ทายจากประสบการณ์แปลกใหม่ในการท�ำ งาน “งานอาสาสมัคร” ตามความหมายซึ่ง หน่วยงานอาสาสมัครแห่งสหประชาชาติหรือ The United Nations Volunteers (UNV) ได้นิยาม หลักการสำ�คัญพื้นฐานไว้ดังนี้ 1. กิจกรรมนนั้ กระทำ�โดยอิสระ ไม่มีการข่เู ข็ญหรอื บงั คบั ใหท้ �ำ 2. กิจกรรมน้นั เปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนอ์ ่ืน ท่ีไม่ใชค่ า่ ตอบแทนเปน็ เงินตรา 3. กิจกรรมนน้ั นอกจากจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อผกู้ ระท�ำ ยังกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ผู้อน่ื ด้วย ดังนั้นอาจสรุปไดว้ ่า งานอาสาสมคั รคอื งานทเ่ี กดิ ขึ้นโดยสมัครใจของผ้กู ระทำ� และเป็นไปเพื่อประโยชนต์ อ่ ผ้อู ื่นเปน็ สำ�คญั อีกทง้ั ยังเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้กระทำ�โดยไม่ เกย่ี วข้องกับความตอ้ งการคา่ ตอบแทน 5

ทำ�ความรูจ้ กั ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ในการเตรียมความพร้อมอาสาสมัครเพื่อการเข้าไปให้ความ ช่วยเหลือในสถานการณภ์ ัยพิบัติ มีความจ�ำ เปน็ ที่จะตอ้ งเรยี นรู้ท�ำ ความ เขา้ ใจในภยั พบิ ัตลิ ักษณะต่างๆทม่ี กั เกิดขนึ้ หรอื มีความเป็นไปได้ท่ีจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เพอ่ื อาสาสมัครจะไดส้ ามารถดูแลตัวเองและดแู ลคนรอบ ข้างใหผ้ ่านพน้ วิกฤตภิ ัยพบิ ตั ิไปไดอ้ ยา่ งปลอดภัยและมปี ระสทิ ธิภาพ ประเภทของภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ทม่ี กั เกดิ ขน้ึ ในประเทศไทย 1. พายหุ มนุ เขตรอ้ น (Tropical Cyclone) 2. แผน่ ดินไหว (Earthquake) 3. อทุ กภัย น�้ำ ท่วม (Flood) 4. พายุฤดูร้อนหรอื พายฟุ า้ คะนอง (Thunderstorm) 5. ดินโคลนถล่ม (Landslide / Mudslide) 6. คลื่นพายุซดั เขา้ ฝง่ั (Storm Surge) 7. ไฟป่า (Fire) 8. ฝนแล้ง (Drought) 9. สนึ ามิ (Tsunami) 6

พายหุ มุนเขตรอ้ น (Tropical Cyclone) พายุหมุนเขตร้อนหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พายุไซโคลน (Cyclone) เกิดในช่วง ฤดูร้อนและปลายฤดูร้อน ก่อตัวขึ้นเหนือทะเลที่มีอุณหภูมิปกคลุมสูงกว่า 27 C เล็กน้อย แนวละติจูดประมาณ 5 ถึง 20 องศาเหนือและใต้ และมีช่วงเวลาเกิดค่อนข้างแน่นอนของ แต่ละปี ด้านการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนจะเริ่มจากหย่อมความกดอากาศต่ำ�เหนือทะเล หรือมหาสมุทร มีการพัฒนาจนกลายเป็นพายุไต้ฝุ่นและจะอ่อนกำ�ลังจนสลายตัวในที่สุด ขนาดของพายุหมุนเขตร้อน แบ่งขนาดความรุนแรงของพายุตามความเร็วลมสูงสุดรอบ ศูนย์กลาง ดังนี้ 1. พายุดีเปรสช่นั (Depression) เปน็ พายุหมนุ เขตร้อนกำ�ลังออ่ น ความเร็วสงู สุด ไมเ่ กนิ 61 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง 2. พายุโซนรอ้ น (Tropical Storm) เปน็ พายทุ ี่มีความรนุ แรงปานกลาง ความเรว็ สงู สุดต้ังแต่ 62 ถงึ 117 กโิ ลเมตรต่อชว่ั โมง 3. พายุไต้ฝุน่ (Typhoon) เปน็ ระดบั ของพายหุ มนุ เขตร้อนทีม่ ีความรนุ แรงมาก ท่ีสดุ ความเร็วลมเกิน 118 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมงขน้ึ ไป พายุหมนุ เขตรอ้ นเกิดขนึ้ พรอ้ มกบั ลมทีพ่ ดั รนุ แรงมาก มีลกั ษณะอากาศที่เลวรา้ ย ติดตามมาด้วย เชน่ ฝนตกหนกั มากกวา่ ฝนปกตธิ รรมดาจนอาจท�ำ ใหเ้ กดิ น�ำ้ ทว่ มได้ เกดิ คลน่ื พายซุ ดั ฝ่งั เกดิ คลนื่ สูงใหญ่ในทะเล เกิดการพงั ทลายของพ้ืนทล่ี าดเอยี งซึ่งอาจเกิดจากการ กัดเซาะของพน้ื ท่ีชายฝ่งั ทะเล ดังนั้นหากเกิดพายุหมุนเขตรอ้ นควรตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟัง คำ�เตือนจากกรมอตุ ุนิยมวทิ ยา ไม่ใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ ทุกชนิดขณะมีฝนฟา้ คะนอง ไม่ใส่เคร่ือง ประดับโลหะ และอยูก่ ลางแจ้งขณะมีฝนฟา้ คะนอง และควรเตรียมเครอ่ื งอปุ โภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วทิ ยุกระเป๋าห้วิ ต่างๆเพื่อติดตามขา่ วสาร รวมทงั้ มีการฝึกซ้อมการป้องกัน ภัยพิบัติ เตรยี มความพร้อม และวางแผนการอพยพหากจ�ำ เปน็ 7

แผน่ ดนิ ไหว (Earthquake) แผน่ ดินไหวเกดิ จากการเคล่ือนตัวโดยฉับพลันของเปลอื กโลก มลี ักษณะสำ�คัญคือ แผน่ ดนิ เกดิ การส่ันสะเทอื นอยา่ งรุนแรงโดยท่ีไม่มีสิ่งบอกเหตุลว่ งหนา้ เมือ่ เกดิ แผ่นดนิ ไหว อย่างรุนแรงมักจะมีแผ่นดนิ ไหวตามมาอกี หลายคร้งั อาจทำ�ให้เกดิ แผน่ ดินแยก แผน่ ดนิ ถล่ม อาจสรา้ งความเสยี หายกบั อาคารบ้านเรือน อาคารอาจไม่พงั ทลายในทนั ที แต่อาจจะพงั ถลม่ ในภายหลัง ขอ้ ควรปฏิบตั ิเมอ่ื เกิดแผ่นดนิ ไหว •••• ออกจากอาคารไปสู่ท่ีโลง่ แจ้งทันที หากมีคนอยจู่ �ำ นวนมากอย่าแยง่ กนั ออกท่ีประตู เพราะจะเกิดอันตรายจากการ เหยยี บกัน •••••••••• หากอยู่ในตกึ สงู ใหอ้ ยู่ทีช่ ้ันเดิม อย่าใชล้ ิฟต์ หากออกจากอาคารไมไ่ ด้ ใหห้ มอบอยู่ใตโ้ ตะ๊ หรือยนื ชิดตดิ กบั เสาท่แี ข็งแรง คลุมศีรษะไวจ้ นกระท่งั แผน่ ดินไหวหยุดเอง เตรยี มพร้อมการใชร้ ะบบเตอื นภัยและระบบดับเพลงิ หากขบั ข่ยี านพาหนะให้รบี จอดยานพาหนะในที่โล่งแจ้ง ห้ามหยดุ ใตส้ ะพาน ใต้ทางด่วน ใตส้ ายไฟฟ้าแรงสูง และใหอ้ ยู่ในรถยนต์ •• รีบดบั แก๊สเมอื่ รู้สกึ วา่ มแี ผน่ ดนิ ไหว เพ่อื หลีกเลี่ยงอัคคภี ยั สำ�หรบั ประเทศไทยน้นั เราค่อนข้างโชคดีด้วยลักษณะภมู ปิ ระเทศ และทีต่ ั้งของ ประเทศที่ไมไ่ ดต้ งั้ อย่แู นวแผน่ ดนิ ไหวของโลก ดังนน้ั ประเทศไทยจึงถกู จดั อยู่ในบริเวณท่มี ี ภัยแผน่ ดนิ ไหวระดับต�่ำ จนถึงปานกลาง อย่างไรก็ตามแมว้ า่ ไมเ่ คยเกดิ แผน่ ดินไหวขนาด ใหญ่ในประเทศไทย แตแ่ ผน่ ดนิ ไหวขนาดระดบั ปานกลาง ระดับ 6.0 รกิ เตอร์ กอ็ าจก่อให้ เกิดความเสียหายกับสิ่งก่อสร้างท่ีไม่แข็งแรงและไม่ได้ออกแบบสร้างให้ต้านทานต่อแผ่นดิน ไหวในพืน้ ท่เี ส่ียงซ่ึงสว่ นใหญอ่ ยู่ใกลร้ อยเล่อื นทีม่ พี ลัง 8

อุทกภยั น�ำ ้ท่วม (Flood) สาเหตุสำ�คัญทีท่ �ำ ให้เกดิ นำ้�ทว่ ม ขน้ึ อยู่กับสภาพทอ้ งที่ ความผนั แปรของธรรมชาติ พายุหมุนเขตรอ้ นลมมรสุมกำ�ลงั แรง ร่องความกดอากาศต่�ำ กำ�ลงั แรง ทำ�ให้เกดิ ฝนตกหนกั อย่างต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน รวมไปถึงการที่น้ำ�เหนือไหลหลาก เกิดการพังทลายของ อา่ งเกบ็ น�ำ้ หรือเขอื่ นกส็ ามารถท�ำ ใหเ้ กดิ น�ำ้ ท่วมไดเ้ ช่นกัน น้ำ�ท่วมมีหลากหลายประเภท ไดแ้ ก่ •• น�ำ้ ทว่ มฉบั พลนั และน�ำ้ ปา่ เกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากฝนตกหนกั ในพน้ื ทซ่ี ง่ึ มคี วามชนั มากและ มคี ณุ สมบตั ิในการกกั เกบ็ น�ำ้ และตา้ นน�ำ้ นอ้ ย มกั เกดิ หลงั ฝนตกหนกั ไมเ่ กนิ 6 ชว่ั โมง มคี วามรนุ แรงและเคลอ่ื นทด่ี ว้ ยความเรว็ โอกาสทจ่ี ะปอ้ งกนั และหลบหนจี งึ มนี อ้ ย ท�ำ ใหส้ รา้ งความเสยี หายไดม้ าก •• น�ำ้ ลน้ ตลง่ิ เกดิ ขน้ึ จากปรมิ าณน�ำ้ จ�ำ นวนมากท่ีเกดิ จากฝนตกหนกั อยา่ งต่อ เนือ่ ง น�ำ้ ไหลลงสแู่ ม่น�้ำ มากจนระบายลงสู่ลุ่มนำ้�ด้านล่างหรอื ออกสู่ปากน้ำ�ไมท่ ัน ท�ำ ใหเ้ กดิ สภาวะน�ำ้ ลน้ ตลง่ิ เขา้ ทว่ มบา้ นเรอื น •• น�ำ้ ทว่ มขงั เกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากระบบระบายน�ำ้ ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ มกั เกดิ ขน้ึ ในบรเิ วณ ทร่ี าบลมุ่ แมน่ �ำ้ และบรเิ วณชมุ ชนเมอื งใหญ่ •• คลน่ื ซดั ฝง่ั เกดิ จากพายลุ มแรงซดั ฝง่ั ท�ำ ใหม้ คี ลน่ื สงู และน�ำ้ ทว่ มบรเิ วณชายฝง่ั ทะเล ในชว่ งเวลาท่ีเกิดอุทกภยั ควรติดตามข่าวสารอยา่ งมสี ติและมีวิจารณญาณ หากมี แนวโนม้ ว่าน้ำ�จะท่วมสงู ให้เตรียมการยา้ ยข้าวของขึน้ ท่ีสูง หาอุปกรณ์ป้องกัน หรือวางแผน การอพยพ เตรยี มอาหารแหง้ ยารักษาโรค ไฟฉาย และอุปกรณท์ ่จี ำ�เป็นอืน่ ๆเช่น โทรศพั ท์ มอื ถือ วิทยุสอื่ สาร ปิดวงจรไฟฟา้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไฟฟ้าลัดวงจร และไม่สัมผัสสวิทช์ไฟเมอื่ ตัวเปยี ก บันทึกหมายเลขโทรศัพท์ฉกุ เฉนิ ตา่ งๆไวใ้ นกรณตี ้องรอ้ งขอความชว่ ยเหลือ ดแู ล สขุ ภาพ รักษาสขุ อนามยั เพอื่ ปอ้ งกันโรคตา่ งๆ รวมถงึ ระวังสตั ว์อนั ตรายท่ีมากับน�้ำ 9

พายุฤดูรอ้ นหรอื พายุฟ้าคะนอง (Thunderstorm) พายุฤดรู อ้ นหรือพายฟุ า้ คะนอง (Thunderstorm) เปน็ พายทุ ่เี กดิ ข้นึ ในชว่ งฤดูรอ้ น มกั เกดิ ในราวเดือนมีนาคมถงึ เดอื นเมษายน พายฤุ ดรู อ้ นนนั้ จะ ทำ�ใหก้ ารหมุนเวียนของอากาศแปรปรวนอย่างรวดเร็ว จึงเป็นสาเหตุใหเ้ กิด พายฝุ นฟ้าคะนองอย่างหนกั ลมพายุพดั อย่างรุนแรง โดยมีฟา้ แลบ ฟ้ารอ้ ง และฟา้ ผ่าเกดิ ขึน้ หรอื ในบางครงั้ อาจมีลกู เห็บตกลงมาดว้ ย แต่ฝนท่ีตกน้ันจะ ตกไมน่ าน เพียงแค่ประมาณ 2 ชว่ั โมงก็จะหยุดไป และกินพ้นื ท่แี คบๆประมาณ 10-20 ตารางกโิ ลเมตร เมือ่ ฝนหยุดตกแลว้ อากาศจะเย็นลง และทอ้ งฟ้าจะ เปิดอีกครัง้ สัญญาณทจี่ ะบ่งบอกวา่ พายุฤดรู ้อนก�ำ ลังจะเกิดขนึ้ แล้ว ก็คอื สภาพ อากาศในชว่ งน้นั จะรอ้ นอบอา้ วตดิ ตอ่ กนั หลายๆ วนั มคี วามชน้ื ในอากาศสงู จน รสู้ ึกเหนียวตัว ลมคอ่ นขา้ งสงบ ท้องฟ้าขมุกขมวั และมเี มฆมาก เมฆจะสงู และมีสเี ทาเขม้ ตอ่ มาลมจะพดั แรงขนึ้ ไปในทศิ ทางใดทิศทางหนง่ึ ก่อนทีเ่ มฆ จะก่อตัวหนาแน่นอย่างรวดเรว็ จนเกิดฟ้าแลบ และฝนฟา้ คะนองในระยะไกล สุดท้ายแล้วจะกลายเปน็ พายฝุ นฟา้ คะนองตามมา ในขณะปรากฏพายุฝนฟ้าคะนองควรออกห่างจากวัตถุที่เป็นส่ือไฟฟ้า ทกุ ชนิด เชน่ ลวด โลหะ ทอ่ นำ้� แนวร้ัวบา้ น จักรยานยนต์ รางรถไฟ ตน้ ไม้ สงู รวมทั้งหลกี เลีย่ งการใส่เครือ่ งประดับโลหะหรอื ถือวัตถโุ ลหะในท่ีแจ้ง และ ระมดั ระวงั สิ่งของทีอ่ าจจะหักโค่นได้ เช่น หลังคาบา้ น ตน้ ไม้ ป้ายโฆษณา เสาไฟฟา้ เปน็ ต้น หรือหากอยู่ในอาคารขณะทีม่ ีพายฟุ า้ คะนอง ควรงดการใช้ อปุ กรณ์ไฟฟ้า และหลกี เล่ยี งการใช้โทรศพั ทช์ ัว่ คราว นอกจากกรณีฉุกเฉิน 10

ดินโคลนถลม่ (Landslide / Mudslide) มีลกั ษณะส�ำ คญั คอื การท่ี หิน ดิน ทราย โคลน ซ่งึ อยบู่ นท่ีลาดชนั สงู เลือ่ นไถลลงมายงั ท่ีต�ำ่ มักเกิดขนึ้ ตามมาเมื่อเกิดฝนตกหนัก หรอื เกดิ แผน่ ดนิ ไหว ให้สังเกตสขี องน�้ำ ที่ไหลผ่าน หากมสี ีขุน่ ข้นอาจเกิดภยั ดินโคลนถล่ม เมอื่ เกิดดนิ โคลนถลม่ จะเปน็ อนั ตรายตอ่ อาคารส่ิงปลกู สรา้ ง เส้นทางการคมนาคม ถกู ตัดขาด เสาไฟฟา้ และตน้ ไมอ้ าจล้มได้ บริเวณทเ่ี กดิ ดนิ โคลนถล่มจะท�ำ ให้ โครงสร้างของชั้นดินบริเวณน้ันเสียสมดุลเป็นเหตุให้เกิดดินโคลนถล่มซำ้�ได้ ขอ้ สงั เกตพน้ื ทเ่ี สยี งภัยดินโคลนถล่ม มีดังนี้ •••••••••• อยู่ใกลไ้ หล่เขาท่มี ีความลาดชันสงู หรือมีรอยดนิ แยกบนไหลเ่ ขา อยู่ในหบุ เขาแคบๆ ที่มที างนำ�้ ไหลผา่ น เคยประสบเหตกุ ารณน์ �้ำ ปา่ ไหลหลาก อยู่ใกล้ทางน�้ำ ท่ีไหลออกมาจากหบุ เขา และเคยถูกน�ำ้ ท่วม พบตะกอนที่เกิดจากดนิ โคลนถลม่ ในอดีต ดนิ ถลน่ สามารถเกดิ ขึน้ ไดจ้ ากสาเหตุตามธรรมชาติ เชน่ ฝนตกหนัก เปน็ เวลานานในพืน้ ทล่ี าดเอยี ง หรือบริเวณทพ่ี ้ืนดนิ ไมแ่ ขง็ แรง หรืออาจเปน็ ผลกระทบจากการเกดิ แผน่ ดินไหว คลนื่ สึนามิ หรือภเู ขาไฟระเบดิ และยัง สามารถเกดิ ไดจ้ ากการกระท�ำ ของน�้ำ มอื มนษุ ย์ที่ไปเปลยี่ นแปลงธรรมชาติ เชน่ การสูบนำ้�จากใตด้ นิ การดดู ทรายจากแม่นำ�้ การขดุ ดนิ บรเิ วณไหลเ่ ขาหรอื เชิงเขา การตัดไมท้ ำ�ลายปา่ เปน็ ตน้ 11

คลนื่ พายุซัดเขา้ ฝ่งั (Storm Surge) คล่ืนพายุซดั ฝง่ั คอื คล่ืนซัดชายฝงั่ ขนาดใหญ่อนั เนือ่ งมาจากความ แรงของลมที่เกิดขึน้ จากพายุหมุนเขตรอ้ นที่เคล่อื นตวั เขา้ หาฝั่ง โดยปกตมิ ี ความรนุ แรงมากในรศั มีประมาณ 100 กโิ ลเมตร แต่บางครง้ั อาจเกดิ ได้เมื่อ ศนู ยก์ ลางพายอุ ย่หู า่ งมากกวา่ 100 กิโลเมตร ข้นึ อยู่กบั ความรนุ แรงของพายุ และสภาพภูมศิ าสตรข์ องพนื้ ที่ชายฝ่งั ทะเล ตลอดจนบางครง้ั ยงั ได้รับอทิ ธิพล เสริมความรุนแรงจากลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ท�ำ ให้เกิดอันตรายมาก ขึน้ ส่วนใหญม่ สี าเหตจุ ากพายุหมนุ เขตรอ้ นทม่ี ีความแรงในระดบั พายุโซน ร้อนขนึ้ ไป ทำ�ให้เกดิ คลื่นขนาดใหญ่ซัดเข้าหาฝงั่ บริเวณทมี่ ีความเสีย่ งและ มีโอกาสเกิดคล่นื พายุซัดฝง่ั ไดม้ ากได้แก่ บรเิ วณชายฝงั่ ภาคใต้ฝัง่ ตะวันออก ตั้งแต่จงั หวัดเพชรบรุ ีจนถึงจังหวัดสงขลา รวมทงั้ ภาคตะวันออก ตงั้ แตจ่ ังหวัด ชลบรุ ีจนถึงจังหวดั ตราด ผลกระทบและความเสียหายเน่ืองจากคลื่นพายุซดั ฝง่ั ท�ำ ใหส้ ภาพพืน้ ที่บริเวณชายฝ่งั ทะเลถกู ท�ำ ลายอย่างรนุ แรง ป่าชายเลน และหาดทรายถกู ท�ำ ลายเปน็ บริเวณกว้าง ตน้ ไมข้ นาดใหญโ่ คน่ ล้ม ถนนชำ�รุด สิ่งปลกู สรา้ งบริเวณชายฝง่ั เสียหาย 12

ไฟป่า (Fire) ไฟป่า เปน็ เพลิงในบรเิ วณปา่ ท่เี กดิ จากธรรมชาติ หรือเกดิ จากมนษุ ย์ โดยมีวสั ดุกง่ิ ไม้ ตน้ ไม้ หญา้ แห้ง เป็นเช้ือเพลิง เพลงิ จะลกุ ลามกวา้ งขวาง อยา่ งรวดเรว็ เมอ่ื มคี วามแหง้ แลง้ และลมแรง ไฟปา่ จะลกุ ลามตามทศิ ทางลม สามารถลกุ ลามขา้ มแนวกนั ไฟหรอื ขา้ มถนนเมอ่ื มเี ชอ้ื เพลงิ จ�ำ นวนมาก การดบั ไฟปา่ จะมปี ระสิทธิภาพด้วยการตัดเช้ือเพลิงและอยเู่ หนือลม ในประเทศไทยความเสย่ี งต่อการเกดิ ไฟปา่ มากท่ีสุด คอื ชว่ งเดอื น พฤศจกิ ายนถึงเดือนกรกฎาคมของทกุ ปี เน่ืองจากในฤดูหนาว ความชื้นใน อากาศจะอยู่ในระดบั ต่ำ� ท�ำ ให้สภาพอากาศแห้ง จงึ เส่ยี งต่อการเกิดไฟป่าสงู กวา่ ช่วงอ่นื ๆ โดยเฉพาะในช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ์ของทกุ ปี ซงึ่ พ้นื ทเ่ี สี่ยงไฟปา่ ส่วนใหญอ่ ยู่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ และ สาเหตุหลักของการเกิดไฟป่าส่วนใหญ่เกิดจากมนุษย์จุดไฟเพื่อหาของป่าและ ลา่ สตั วร์ วมถงึ การเผาไรเ่ พือ่ การเพาะปลกู การสูบบุหร่แี ละการก่อกองไฟของ นักทอ่ งเทยี่ ว ดงั น้นั วธิ กี ารป้องกันคือหากไม่จ�ำ เปน็ ไม่ควรจุดไฟในป่า หรอื หากจ�ำ เปน็ ควรตรวจตราวา่ ดบั ไฟสนิทแล้วทุกครงั้ และสำ�หรบั อาสาสมคั รทีจ่ ะ เขา้ ไปช่วยเหลือในการดับไฟป่าควรผา่ นการฝึกซ้อมอย่างถูกวธิ ี 13

ภยั แล้ง (Drought) ภัยแล้งเป็นสภาวะความแห้งแล้งผิดปกติของอากาศเป็นเหตุให้ ความช้นื ในอากาศและในดนิ น้อยลง มผี ลตอ่ ปริมาณน�ำ้ เพอื่ อปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตร และมโี อกาสทำ�ให้เกิดไฟปา่ ภัยแล้งของประเทศไทยเกดิ ข้นึ ทุกปี ส่วนใหญ่เกิดจากฝนแลง้ และฝนทง้ิ ช่วง ประเดน็ ที่จะตอ้ งระวังคือปัญหา การขาดแคลนนำ�อปุ โภคบริโภคในบางพน้ื ท่ี ผลกระทบทางด้านเศรษฐกจิ เชน่ จ�ำ นวนและคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตรตกต�ำ่ ท�ำ ใหร้ าคาผลผลติ ลดลง ราคาสินค้าแพงเนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นเพราะต้องไปซื้อนำ้�หรือสูบนำ้� จากทอ่ี น่ื สง่ ผลกระทบทางดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ ท�ำ ใหแ้ หลง่ น�ำ้ ตามธรรมชาตติ น้ื เขนิ ระดบั น�ำ้ ใตด้ นิ เปลย่ี นแปลง เกดิ การกดั เซาะของหนา้ ดนิ และการทงิ้ รา้ งทดี่ นิ สง่ ผลกระทบทางด้านสังคม อาทเิ ช่น เกดิ การละทิ้งถิ่นฐาน เขา้ มาท�ำ งานในเมอื งใหญ่ คณุ ภาพชวี ติ ลดลง และเกดิ ความขดั แยง้ ในการใชน้ �ำ้ เมื่อเผชญิ ภาวะภัยแล้งควรวางแผนการใชน้ ำ้�อย่างประหยดั ก�ำ จัดวัสดุ ทจ่ี ะเป็นเช้อื เพลงิ เพื่อปอ้ งกนั ไฟปา่ และเตรียมหมายเลขฉกุ เฉนิ เพ่ือขอความ ช่วยเหลือเรอ่ื งน้�ำ หรอื การดบั ไฟ 14

สนึ ามิ (Tsunami) แผ่นดนิ ไหวทีเ่ กิดขน้ึ ในทอ้ งทะเล บางครงั้ ไดก้ อ่ ใหเ้ กิดการยกตัว ของพื้นทะเลข้ึนหลายเมตรและทำ�ให้นำ้�ไม่ว่าจะเป็นนำ้�ทะเลหรือนำ�ในแม่นำ้� ลำ�คลองปริมาณมากเคลื่อนตัวอย่างทันทีทันใดด้วยความสูงที่มากกว่าระดับ น้ำ�ปกติ ท�ำ ใหเ้ กดิ กลุ่มคลน่ื ขนาดใหญเ่ รียกว่า “สนึ าม”ิ ทสี่ ร้างความเสยี หาย รนุ แรงตอ่ พื้นที่บริเวณชายฝง่ั และเมือ่ สนึ ามิซัดเข้าชายฝงั่ ทำ�ใหเ้ กดิ ความเสีย หายแก่โครงสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภคที่อยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเล เปน็ อยา่ งมาก คล่ืนสนึ ามิจะไมเ่ กดิ เพียงระลอกเดียว และคลืน่ ลกู หลงั อาจจะมี ขนาดใหญ่กวา่ ลกู แรก สนึ ามทิ ่ีเกดิ ขึ้นสามารถส่งผลกระทบไดใ้ นระยะใกล้ ซ่งึ มี เวลาในการเตือนภยั ลว่ งหน้าค่อนข้างนอ้ ย เหตกุ ารณ์นี้มักเกิดขึน้ หลงั จากเกิด แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่ในทะเล สัญญาณเตอื นภัยทส่ี ำ�คัญคือเมอ่ื นำ�้ ทะเลลดลง หรอื เพ่มิ ข้ึนอย่างรวดเร็วผิดปกติ •• ข้อควรปฏิบัติ ควรศกึ ษาถึงเส้นทางการหนี หรอื สญั ลกั ษณ์ หากอยู่ในพืน้ ทช่ี ายฝัง่ เตอื นภยั ตา่ งๆ และไม่ควรละเลยการซอ้ มหนีภยั •••• ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสาร หากมกี ารเตอื นภยั ให้รบี อพยพ การอพยพ ควรหนีออกจากบริเวณชายฝงั่ ในทนั ที ไปยังพนื้ ท่ีสูง หากอย่บู นเรอื ให้ออกจากฝัง่ ไปยงั ทะเลลึก อ้างองิ ขอ้ มลู จาก •• ศนู ย์เตือนภัยพิบัตแิ หง่ ชาติ •• กรมอตุ นุ ิยมวิทยา •• โครงการพฒั นาการจดั การภยั พบิ ัติภาคประชาชน มลู นธิ ิกระจกเงา •• คู่มอื การจัดการภยั พิบัตทิ อ้ งถิ่น วทิ ยาลยั พฒั นาการปกครองท้องถิน่ สถาบันพระปกเกลา้ 15

การเตรียมความพร้อม เพอื่ การทำ�งานอาสาสมคั ร ในสถานการณ์ภัยพบิ ตั ิ สำ�รวจตนเอง สำ�รวจจิตใจตนเองว่าทำ�ไมเราถึงอยากมาเปน็ อาสาสมัคร และน�ำ ค�ำ ตอบท่ีไดม้ าเปน็ พลงั ใจ ใหเ้ รามุ่งมน่ั ท�ำ งานอย่างตง้ั ใจ สำ�รวจวา่ เราอยากทำ�งานอาสาสมคั รในรูป แบบไหน หรอื สำ�รวจวา่ เรามีความถนัดในงาน ลักษณะใดที่พอจะชว่ ยไดใ้ นภาวะภัยพบิ ตั ิ สำ�รวจตัวเราและคนใกล้ตัววา่ อยู่ในภาวะ ปลอดภยั ไม่ได้ตกเปน็ ผปู้ ระสบภยั เสยี เอง ไม่เป็นภาระให้ผู้อื่นและมคี วามพรอ้ มท่จี ะ ออกไปชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน 16

เตรยี มความพร้อม กอ่ น ไปท�ำ งานอาสาสมัคร ติดตามสถานการณภ์ ัยพบิ ตั ิ ใชว้ จิ ารณญาณในการ คดั กรองและรบั ข้อมลู ขา่ วสาร โดยเลือกแหลง่ ขอ้ มลู ท่เี ชือ่ ถอื ได้ สำ�รวจว่าในชว่ งน้สี ถานการณ์ เป็นอย่างไร คน้ หาขอ้ มลู ว่า องค์กรใดบ้างที่ต้องการความช่วย เหลอื ในสิ่งทเ่ี ราท�ำ ได้ ติดต่อไปยงั องคก์ รทีร่ ับอาสาสมัครกอ่ นไป เพอ่ื แจ้ง ความจ�ำ นงในการช่วยเหลือและเพอ่ื ทราบถงึ ความ ต้องการ และรายละเอียดเฉพาะทต่ี อ้ งเตรียมตวั เช่น การเดินทาง เวลานัดหมาย การแตง่ กาย สิง่ ทตี่ ้องน�ำ ติดตัวไป ประเมินขอ้ จ�ำ กดั และเงือ่ นไขของตนเอง ต่อสถานการณ์ คณุ สมบัตทิ ี่จ�ำ เป็นในการทำ�งาน สภาพรา่ งกายของเรา รวมถึงเง่ือนไขในการทำ�งาน ว่าเหมาะสมกบั เราหรือไม่ เพ่ือชว่ ยลดภาระของผู้ ประสานงานและจะไดท้ �ำ งานไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ เตรยี มรา่ งกายใหส้ มบรู ณพ์ รอ้ ม พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ และแต่งกายใหเ้ หมาะสมกับงานท่ีทำ� แจง้ คนทีบ่ ้านไวว้ า่ จะไปที่ไหน ไปทำ�อะไร รวมถงึ นดั แนะการตดิ ต่อสือ่ สารกนั ไว้ 17

ข้อควรปฏิบตั ิ ระหวา่ งการทำ�งานอาสาสมัคร เม่อื ไปถึงหนา้ งาน ใหต้ ดิ ตอ่ ผูป้ ระสานงาน แจง้ ความถนดั และพูดคุยท�ำ ความเขา้ ใจถงึ สถานการณ์และงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานชว่ ยเหลือภยั พิบตั ิบางประเภท ตอ้ งการ การท�ำ งานทต่ี ่อเนอ่ื ง ดงั นัน้ เราควรพจิ ารณา และแจง้ เงื่อนไขระยะเวลาที่เราทำ�งานได้ตอ่ ผปู้ ระสานงาน งานบางประเภท อาจต้องอาศยั ความชำ�นาญ เฉพาะทาง องคก์ รอาจมกี ารจัดให้อาสาสมคั ร ตอ้ งเขา้ ฝึกอบรม ควรเขา้ ฝกึ อบรมให้ครบ ตามเง่อื นไข เม่ือไดร้ ับมอบหมายงานเปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยแล้ว ควรท�ำ ความเขา้ ใจในขั้นตอนวิธกี ารท�ำ งาน ตา่ งๆของตน หากมีปญั หาสงสัยควรปรึกษา หรือสอบถามผูป้ ระสานงาน หากส่งิ ใดเกิน ก�ำ ลังของเรา ตอ้ งแจ้งกบั ผูป้ ระสานงาน เคารพ และปฏิบัตติ ามกฎกตกิ าตา่ งๆ ของ สว่ นรวมท่ีต้ังไว้ 18

เตรยี มความพร้อม สภาพจิตใจของตนเอง เตรยี มจติ ใจใหพ้ รอ้ มทจี่ ะเรยี นร้สู ่ิงใหม่ มที ศั นคตทิ ีด่ ีในการ ท�ำ งาน ไม่ดูถกู งานทท่ี �ำ ปรับทศั นคติ และจดั การความคาดหวงั ของตนว่า “เราจะสามารถช่วยอะไรไดบ้ า้ ง ทา่ มกลางความไม่พรอ้ ม” ลดอัตตาของตัวเอง ไมย่ ึดถือตนเองเป็นศนู ย์กลาง เพราะใน การท�ำ งานอาจตอ้ งพบเจอทง้ั สิง่ ท่ีเรารู้สกึ ชอบหรอื ไมช่ อบ มองสถานการณ์ตามความเปน็ จริง รกั ษาจติ ใจให้มน่ั คง ไม่ตื่น ตระหนกจนเกินไป มีความอดทนและอดกลั้นต่อสถานการณ์ที่อาจจะมีความ ยากลำ�บาก เปดิ ใจในความแตกต่างหลากหลาย เคารพในศกั ดิศ์ รีของความ เปน็ มนษุ ย์ของกนั และกนั ปฏิบัตกิ ับผู้อ่ืนด้วยความเทา่ เทยี ม ไม่ยกตน ว่าเป็นผู้เข้าไปช่วยเหลือแล้วจะอยู่ในสถานะที่สูง กว่าผู้อื่น อย่าลืมดแู ลจติ ใจของตนใหเ้ ขม้ แขง็ ทา่ มกลางความเศรา้ ความหดหู่ ในสถานการณ์ภัยพิบตั ิ 19

คณุ ลกั ษณะส�ำ คญั ของการเป็นอาสาสมัคร มีความรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ีได้รับมอบหมาย และทำ�อยา่ งเต็มความสามารถ การทำ�งานอาสาสมัครมักเปน็ การทำ�งานร่วม กันกบั ผูอ้ น่ื ดงั นน้ั จงึ ควรไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั รวมถงึ ปฏบิ ัตติ อ่ เพอื่ รว่ มงานและผทู้ ่ีเราเขา้ ไปช่วยเหลือดว้ ยความเคารพ มที กั ษะในการสอื่ สาร คอื สามารถส่อื สาร ความตอ้ งการของตนเอง และรูจ้ กั รับฟงั ผอู้ ื่น อยา่ งตง้ั ใจ เขา้ ใจตนเองและมคี วามเขา้ ใจผอู้ น่ื ทำ�ความเขา้ ใจและมีความละเอยี ดอ่อนตอ่ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ใน สถานการณ์ภัยพบิ ัตอิ าจนำ�พาให้เราตอ้ ง ทำ�งานกับคนในพ้นื ทีอ่ ื่นซงึ่ มคี วามแตกต่าง กับเรามากๆ ดงั น้ันจึงควรตอ้ งศกึ ษาท�ำ ความ เข้าใจวิถชี ีวติ และวฒั นธรรมของเขา เพอ่ื ให้การทำ�งานเป็นไปได้ดว้ ยดี และไมก่ อ่ ให้ เกดิ ความบาดหมางจากความไมร่ ู้ มคี วามยืดหยนุ่ ต่อสถานการณ์ท่อี าจมีการ เปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา เปน็ ผ้ทู ต่ี รงตอ่ เวลา มคี วามซื่อสตั ย์สจุ รติ ไมเ่ บียดเบยี นซ�ำ้ เตมิ ผ้ทู ่ีเดือดร้อน 20

เม่อื เสร็จส้นิ ภารกิจการทำ�งานอาสาสมัคร การได้หาเวลาทบทวนตนเอง เปน็ สงิ่ ทีจ่ ะช่วยใน การพัฒนาจิตใจตนเอง และการสะทอ้ นขอ้ สังเกต หรือข้อเสนอแนะตอ่ องคก์ ร จะเป็นประโยชน์ใน การท�ำ งานใหก้ ารชว่ ยเหลือต่อไป และหากมีโอกาส อยา่ ลมื ถา่ ยทอดเรือ่ งราวประสบการณ์ หรอื ความ ประทับใจต่างๆ ให้กับผู้อน่ื ไดร้ ับรู้ เพ่ือเปน็ การส่ง ต่อแรงบนั ดาลใจดีๆ สสู่ งั คมไดอ้ ีกชอ่ งทางหนึง่ 21

บทบาทของอาสาสมคั ร ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ช่วงเตรยี มความพร้อมกอ่ นภยั พบิ ัติ เพ่ือเตรียมรับมือและป้องกันภัยพิบัติที่อาจจะเกิดข้ึนอีกใน อนาคต ส่งิ ทอ่ี าสาสมัครควรเตรียมตวั และมีสว่ นช่วย ได้แก่ เตรียมตวั ดา้ นข้อมลู ความรู้และทักษะตา่ งๆ โดยการติดตาม ขอ้ มูลข่าวสารด้านภยั พบิ ัติ รวมถงึ เข้ารบั การฝกึ อบรมเตรยี ม ความพร้อมอาสาสมคั รในด้านต่างๆ ช่วยในการวางแผนเตรียมการ เก็บขอ้ มลู ชุมชนในด้านต่างๆ อาทิ สภาพภูมอิ ากาศ-ภูมปิ ระเทศ ทรพั ยากร ความตอ้ งการ พ้นื ฐาน ท�ำ ข้อมูลแผนที่ชุมชน วางแผนการเตอื นภยั อพยพ เพ่อื รับมอื ภัยพิบตั ิ ให้กับชุมชน หมู่บ้าน ทม่ี กั ประสบกับภยั พิบตั ซิ ำ้�ๆทุกปหี รอื มแี นวโน้มท่จี ะประสบภัยในอนาคต ผูท้ ีม่ คี วามเชี่ยวชาญมที ักษะเฉพาะในดา้ นตา่ งๆ อาจชว่ ยกัน พฒั นานวัตกรรมใหม่ๆ ท่ีจะชว่ ยป้องกนั รับมือ หรอื บรรเทาทกุ ข์ ในยามทีเ่ กิดภัยพิบัติ ตามสายงานทต่ี นมีความถนัด 22

ชว่ งรับมอื เผชญิ หนา้ กับภัยพิบตั ิ จากชว่ งทเี่ ริม่ เกิดภยั พบิ ัตไิ ปจนถงึ สิน้ สดุ อาจเป็นระยะเวลา ที่ต่อเนอ่ื งยาวนาน ดงั น้ันจึงมีงานหลากหลายรูปแบบทอี่ าสาสมัคร จะสามารถเข้าไปมีบทบาทช่วยเหลือตามแต่ทักษะความชำ�นาญหรือ ความสนใจ งานกชู้ พี กู้ภยั เป็นงานช่วยเหลือในช่วงระยะแรกๆในการเกิดขน้ึ ของภัยพิบัติ เปน็ การเข้าไปชว่ ยเหลอื ชีวิตหรอื ช่วยเหลือในการ ขนยา้ ยอพยพคนออกจากพ้ืนท่ที อ่ี นั ตรายเสี่ยงภยั ซึง่ งานส่วนนี้ อาสาสมคั รควรทำ�ร่วมกบั องคก์ รทม่ี ีทักษะความช�ำ นาญ รจู้ กั พน้ื ท่ีชมุ ชนทเี่ ขา้ ไปชว่ ยเหลอื และผา่ นการอบรมในการชว่ ย เหลอื อย่างถกู วิธเี พ่อื ความปลอดภยั ของผปู้ ระสบภัย และตัว อาสาสมคั รเอง งานประสานงาน คอื เปน็ ตัวกลางประสานความช่วยเหลอื ไปยัง หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องประเภทตา่ งๆ งานสื่อสารสาธารณะ อาสาสมัครสามารถมสี ่วนชว่ ยในการคัด กรองและยอ่ ยข้อมูลที่เกย่ี วกับภาวะภยั พิบตั ิในมิติต่างๆใหเ้ ข้าใจ งา่ ย หรอื สร้างสื่อในรูปแบบต่างๆ เพ่ือสอื่ สารกับคนทว่ั ไป สร้าง ความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง รูเ้ ท่าทันสถานการณ์ และทำ�ให้ผคู้ นไมต่ ื่น ตระหนกจนเกนิ เหตุ งานการช่วยเหลอื ในศนู ยพ์ กั พงิ ต่างๆ ทง้ั การเปน็ อาสาสมัคร เขา้ ไปช่วยประสานงาน บรหิ ารจดั การ ท�ำ กจิ กรรม รวมไปถึง ชว่ ยฟน้ื ฟดู ูแลจติ ใจของผู้ที่ได้รบั ผลกระทบจากภยั พิบัติ 23

การระดมรวบรวมเงนิ หรือสิง่ ของที่จำ�เปน็ ไปบริจาคใหก้ ับ ผูป้ ระสบภยั พบิ ัติ ในท่นี ี้ควรสำ�รวจความต้องการและสำ�รวจพ้ืนที่ ทคี่ วามช่วยเหลือยงั เข้าไปไมถ่ ึง รวมทง้ั ตดิ ต่อหนว่ ยงานที่เช่อื ถอื ไดว้ ่าของจะส่งตรงถงึ ผปู้ ระสบภยั อยา่ งแทจ้ รงิ การช่วยเหลือเปน็ ก�ำ ลงั แรงงาน เช่น การบรรจุของชว่ ยเหลือ ผปู้ ระสบภยั การบรรจกุ ระสอบทราย การช่วยขนยา้ ยข้าวของ ต่างๆ ช่วยทำ�อปุ กรณช์ ว่ ยเหลือปอ้ งกันภยั พิบตั ติ า่ งๆ เป็นต้น ภยั พบิ ัติส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพรา่ งกาย ทง้ั ในแง่การบาดเจบ็ หรอื โรคภัยทม่ี าจากภยั พิบัติ ไปจนถึงเรอื่ งสขุ อนามยั ในภาวะท่ี อยอู่ ยา่ งขาดแคลนทรัพยากร ท�ำ ใหภ้ าวะนต้ี อ้ งการบคุ ลากรอาสา สมคั รทางด้านการแพทยม์ าชว่ ยเหลอื รกั ษา และให้คำ�ปรกึ ษา ทางดา้ นสุขภาพกายและใจ งานช่วยเหลอื ที่ใช้ทักษะเฉพาะดา้ น งานทางดา้ น IT เทคโนโลยี ต่างๆทจ่ี ะมารองรบั ระบบความช่วยเหลือ หรือผทู้ ีร่ ภู้ าษาต่าง ประเทศอื่นๆ อาจสามารถช่วยเป็นล่ามให้ความช่วยเหลือกับ ผปู้ ระสบภัยตา่ งชาติ เป็นตน้ งานสนั ทนาการ สร้างความรน่ื เรงิ ชว่ ยลดความตงึ เครียดของ ผู้ประสบภยั หรอื ช่วยผอ่ นคลายจติ ใจใหก้ ับบรรดาอาสาสมคั รที่ ทำ�งานรว่ มกนั 24

ในช่วงภัยพบิ ัติ เป็นภาวะท่ที ว่ มลน้ ไปดว้ ยขอ้ มลู ข่าวสาร ท้งั สถานการณภ์ ยั พิบตั ิ ไปจนถงึ ขา่ วสารการขอ ความชว่ ยเหลือ หรอื การให้ความช่วยเหลือ ก่อนทอ่ี าสา สมคั รจะไปช่วยเหลอื งานในส่วนไหน ควรตรวจสอบข้อมลู สถานการณ์ความช่วยเหลือต่างๆ เพื่อจะได้ไมเ่ กดิ ความ ซ�้ำ ซอ้ น และสามารถชว่ ยเหลอื กันอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ชว่ งฟืน้ ฟหู ลงั เกดิ ภัยพบิ ตั ิ ช่วยท�ำ ความสะอาดเก็บกวาดเศษซากจากภยั พบิ ัติ ชว่ ยออกแบบ ไปจนถงึ ก่อสร้าง หรือซ่อมแซมสิง่ ปลูก สรา้ งตา่ งๆทีเ่ สียหายจากภาวะภยั พิบัติ ช่วยเยียวยาฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้คน ที่ผ่านการ สูญเสีย ให้กำ�ลังใจและช่วยสร้างความหวังให้เกิดขึ้น อีกครั้งในชุมชน เติมเตม็ โดยการรวบรวมนำ�สิง่ ของไปต่างๆ ชว่ ยเหลือ ในส่วนที่เสยี หายจากภัยพิบตั ิ งานช่วยเหลือฟืน้ ฟชู ุมชนในมติ ทิ เ่ี กย่ี วข้องกับสทิ ธิ การคมุ้ ครองผปู้ ระสบภัย อาทเิ ชน่ ด้านกฎหมาย ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านท่ดี ิน เหล่าน้เี ป็นต้น 25

การจัดการภาวะอารมณ์ เพื่อการทำ�งานภายใต้สถานการณ์ ภัยพิบัติ ภยั พบิ ตั นิ �ำ มาซง่ึ ความสญู เสยี ในดา้ นตา่ งๆ ท�ำ ใหม้ ผี ไู้ ดร้ บั ผลกระทบทง้ั ทาง รา่ ยกายและโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทางดา้ นจติ ใจซง่ึ เปน็ เรอ่ื งละเอยี ดออ่ น ตอ้ งอาศยั ความ เขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ เพอ่ื ทจ่ี ะใหค้ นเหลา่ นน้ั สามารถฟน้ื ตวั ประคบั ประคองตนเอง และคน รอบขา้ งผา่ นพน้ วกิ ฤตแิ ละสามารถด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามปกตไิ ด้ ภาวะความเครียด ความโกรธ ความกลัว ตกใจ สิ้นหวัง เศร้าโศกเสียใจ เปน็ ภาวะทสี่ ามารถเกดิ ข้นึ ได้ทงั้ กับผ้ปู ระสบภัยหรือแมก้ ระท่งั กับอาสาสมัครท่เี ข้าไป ให้ความช่วยเหลือ ภาวะในเชิงลบเหล่าน้สี ามารถส่งผลไปยงั รา่ ยกายและปฏกิ ริ ิยาทาง ความคิด การเรยี นรทู้ ีจ่ ะจัดการกบั อารมณ์ความรสู้ ึกเหลา่ นี้จึงมีความสำ�คัญมาก เพอ่ื อาสาสมัครจะได้มจี ิตใจทีเ่ ข้มแขง็ สมบรู ณพ์ รอ้ มทจ่ี ะประคบั ประคองฟื้นฟูดูแลผู้อื่นได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 26

ส่งิ ท่ีอาสาสมัครจะชว่ ยปฐมพยาบาล ทางด้านจติ ใจกับผูป้ ระสบภัยได้แก่ การรับฟังเรื่องราวต่างๆด้วยความใส่ใจและตั้งใจ หากผู้ประสบภัยไม่พร้อมที่จะพูดคุยก็อย่าฝืนใจ อาจใช้วิธีการนั่งเงียบๆอยู่เป็นเพื่อน ปลอบประโลม ให้กำ�ลังใจ และสร้างความเข้าใจว่า ภาวะอารมณ์เช่นนี้เป็นการตอบสนองต่อภัยพิบัติ เป็นสิ่งปกติที่เกิดขึ้นได้ และช่วยเสริมสร้างความ มั่นใจว่าจะต้องสามารถผ่านพ้นไปได้ ประสานความช่วยเหลือที่ผู้ประสบภัยต้องการ เพื่อคลายความกังวลใจ ให้ความเป็นมิตรที่จริงใจ 27

การดแู ลอารมณ์และจิตใจ ของตัวอาสาสมคั รเอง ส�ำ หรบั อาสาสมัคร อาจเกิดความตึงเครียดจากสภาพแวดลอ้ มท่ีพบเจอ บรรยากาศท่ีหดหู่ การเหน็ ความทกุ ขย์ ากของผอู้ น่ื สถานการณท์ ่ีโกลาหลวนุ่ วาย ความเหน่ือยลา้ จากการต้องท�ำ งานแขง่ กบั เวลา สง่ิ เหล่าน้สี ง่ ผลกระทบตอ่ สภาพ รา่ งกายและประสทิ ธิภาพในการทำ�งานเชน่ กัน อาสาสมคั รควรหาวธิ ดี ูแลจติ ใจตนเอง ดังตอ่ ไปน้ี ชว่ งเวลางาน หยุดพกั สักครู่ หายใจเขา้ -ออกลกึ ๆ กำ�หนดลม หายใจเรยี กสติกลบั มาอยูก่ บั ปจั จบุ นั เม่อื ร้สู กึ แย่ อาจใชว้ ธิ ีการพูดคยุ ปรึกษา กบั ผูร้ ่วม งานที่ไว้วางใจ โทรศพั ทพ์ ูดคยุ กบั ครอบครัวหรอื เพอ่ื นสนิท ท�ำ ใจยอมรบั ภาวะอารมณท์ ีเ่ กิดขน้ึ ว่าเป็นเร่ืองปกติ นกึ ถึงเป้าหมาย จุดหมายในการท�ำ งานอาสาสมคั รที่ เราตง้ั ใจไวแ้ ตแ่ รก มาสรา้ งพลงั ใจในการท�ำ งานตอ่ ไป คน้ หาแงง่ ามในสิ่งรอบข้างมาเสริมสรา้ งความหวัง และก�ำ ลงั ใจของตนเอง 28

ช่วงนอกเวลางาน นอนหลบั พกั ผอ่ นให้เพียงพอ ทำ�งานอดเิ รกที่เพลดิ เพลิน เชน่ ออกก�ำ ลงั กาย เล่นดนตรี ทำ�งานศลิ ปะ ฯลฯ พดู คุยสงั สรรค์กบั เพ่อื นหรือสมาชิกในครอบครัว เขยี นบนั ทกึ เรอ่ื งราวประสบการณต์ า่ งๆทเ่ี ผชญิ มา ฝึกเทคนคิ การคลายเครยี ดต่างๆ เช่นการหายใจ การผ่อนคลายกลา้ มเนื้อ ฯลฯ นอกจากจะสังเกตภาวะอารมณ์ของตัวเอง แล้ว อย่าลืมสังเกต ใส่ใจและช่วยเหลือ เพื่อน ร่วมงานของเราด้วย เพื่อที่เราจะได้มีจิตใจที่ เข้มแข็งฝ่าฟันภัยพิบัติไปด้วยกัน 29

การดูแลตัวเอง ใหป้ ลอดภัย ในการทำ�งานโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในภาวะภยั พบิ ัติ หลายๆครั้งสถานการณ์ได้ นำ�พาไปสสู่ ภาวะการช่วยเหลอื ทีอ่ ันตราย สุ่มเส่ยี ง ดงั นน้ั อาสาสมคั รควรค�ำ นึงถงึ เร่อื งความปลอดภัยเป็นหลัก และดูแลรกั ษาตัวเองให้อย่รู อดปลอดภยั ดงั นี้ • รู้จกั ประเมนิ ขดี จ�ำ กดั ของตวั เอง ทงั้ ในดา้ นพละกำ�ลงั จิตใจ รวมไปถงึ ทักษะความเชี่ยวชาญ หากสิง่ ใดเกนิ ความสามารถ ของเราใหส้ ่ือสารกับผปู้ ระสานงาน • ทำ�ความเข้าใจในงานกบั เจ้าหนา้ ท่กี อ่ นปฏบิ ัตงิ าน และเข้า ฝกึ อบรมให้ครบตามขอ้ กำ�หนด • ควรทำ�ความรู้จกั กบั ภยั พบิ ัติที่เรากำ�ลงั เผชิญอยู่ วา่ มลี กั ษณะ และข้อควรระวังอย่างไรบ้าง • แต่งกายให้เหมาะสมกบั งาน และใชอ้ ปุ กรณ์ท่ีช่วยปอ้ งกนั หรอื รกั ษาความปลอดภัยอยา่ งเคร่งครดั • รับประทานอาหาร ดม่ื น�ำ  และพกั ผ่อนให้เพยี งพอ • อย่านำ�พาตวั เองไปอยู่ในสถานการณท์ ี่ส่มุ เสีย่ งหรืออนั ตราย • มีสติ ไม่ประมาท และทำ�งานทกุ ชนิดดว้ ยความระมัดระวงั รอบคอบ • รับทราบและวางแผนถึงช่องทางการตดิ ตอ่ ขอความชว่ ย เหลอื หากเกดิ กรณฉี กุ เฉิน • ในกรณที ่ตี อ้ งเผชญิ เหตกุ ารณ์อันตราย ควรรบั มืออย่างมสี ติ และรบี ประสานขอความชว่ ยเหลือ 30

Checklist! รายการส่ิงของจ�ำ เปน็ ในสถานการณ์ภัยพบิ ตั ิ อาสาสมคั รนอกจากจะเปน็ ผใู้ ห้ความช่วยเหลือผู้อ่นื แล้ว ยัง ควรจะตอ้ งเป็นผู้ทด่ี แู ลตนเองและคนรอบขา้ งได้ สถานการณ์ภยั พิบตั ิ อาจท�ำ ให้ต้องตดิ อยู่ในพืน้ ท่ีหรืออาจมคี วามรุนแรงจนต้องอพยพออก จากพื้นที่ ดังนัน้ จึงควรมีการเตรียมส่ิงของเพ่อื ยังชพี ใหเ้ หมาะสมกับ สถานการณท์ อี่ าจเปลีย่ นแปลงไดท้ กุ เมอ่ื OO น�้ำ ดมื่ และอาหารสำ�หรับ 3-7 วัน OO ไฟฉาย และถ่านส�ำ รอง ควรเปน็ อาหารท่ีใหพ้ ลังงานและ OO นกหวีด เพอ่ื ใช้ขอความชว่ ยเหลือ พร้อมรับประทาน เช่น ของแหง้ เครือ่ งกระป๋อง ในยามฉุกเฉิน OO เตน๊ ท์ เครือ่ งนอน OO อุปกรณ์เปิดกระปอ๋ ง / มีดพก OO หมอ้ สนาม เตาแกส๊ สนาม OO จานกระดาษ แกว้ นำ�้ ช้อน สอ้ ม OO อปุ กรณ์นำ�ทางเชน่ แผนที่ OO เสอ้ื ผา้ ท่คี ลอ่ งตวั รองเท้าทแ่ี ขง็ แรง OO กระดาษทชิ ช่แู หง้ / เปียก และ เขม็ ทศิ OO เชอื ก, เทปกาว อุปกรณส์ ุขอนามัยตา่ งๆ OO ถุงพลาสตกิ ถุงดำ� OO สบู่ แชมพู ยาสฟี นั แปรงสีฟัน OO ไมข้ ีดไฟ ไฟแช็ค OO ยารักษาโรคประจ�ำ ตัว, ยาสามญั OO เงินส�ำ รอง OO เอกสาร / หลกั ฐานส�ำ คญั ประจำ� ประจำ�บา้ น, ยากันแมลง, อปุ กรณ์ ปฐมพยาบาล ตวั เช่นบัตรประชาชน ใบขับขี่ OO โทรศัพทม์ ือถือ พร้อมทชี่ าร์ต ทะเบยี นบา้ น สูจบิ ตั ร กรมธรรม์ แบตเตอรี่ OO กุญแจสำ�คญั ต่างๆของบา้ นและรถ OO เบอร์โทรศัพทค์ นในครอบครัวและ OO ขา้ วของสำ�หรับเดก็ หน่วยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ต่างๆ OO ข้าวของส�ำ หรับคนชรา OO วิทยขุ นาดเลก็ พร้อมถา่ น OO ข้าวของสำ�หรับสตั วเ์ ล้ียง เพ่ือติดตามข่าวสาร 31

เจคดั ทรำ�ือโดยข่ายจติ อาสา เครอื ขา่ ยจิตอาสา เกดิ ข้ึนจากการรวมตัวขององคก์ ร และกลมุ่ คน ทำ�งานภาคสงั คม ทเี่ ห็นความส�ำ คัญของงานอาสาสมคั รและตอ้ งการสืบสาน กระแสพลังนำ�ใจทมี่ อี าสาสมัครจ�ำ นวนมากเดนิ ทางไปชว่ ยผปู้ ระสบภยั สนึ ามิ นบั แตช่ ่วงตน้ ปี 2548 เครือขา่ ยจิตอาสามงุ่ ประสานความร่วมมอื และเสรมิ พลังการท�ำ งานขององคก์ รที่ทำ�งานด้านอาสาสมคั ร และการให้ในประเทศไทย รวมทั้งพฒั นากลไกการทำ�งานที่จะสนับสนุนให้เกดิ คา่ นยิ ม และวถิ ขี องสงั คมท่ี ให้ความสำ�คัญกบั การอาสาสมัครและมสี ว่ นร่วมรับผดิ ชอบต่อสงั คม ตดิ ต่อ บา้ นจติ อาสา 2044/21 ถ.เพชรบุรีตดั ใหม่ หว้ ยขวาง บางกะป,ิ Bangkok, Thailand 10310 โทรศพั ท์ 02-3195017 , 086-5300012 แฟก็ ซ์ 02-3195019 Email [email protected] Website http://www.volunteerspirit.org Facebook https://www.facebook.com/Jitasa บรรณาธิการ นนั ทินี มาลานนท์ เรยี บเรยี งเนือ้ หา ศวิ พร ครองวรกุล ออกแบบรูปเลม่ พรพรรณ สุทธปิ ระภา เจ้าของลขิ สิทธ์ิ เครือขา่ ยจติ อาสา (Volunteer Spirit Network) www.volunteerspirit.org 32

KEEP CALM AND VOLUNTEER

www.volunteerspirit.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook